งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะ เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

2 ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อห้องสมุดเฉพาะฯ
1. ช่วยในการบันทึกข้อมูลข่าวสาร และสารสนเทศต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว 2. บันทึกข้อมูลและสารสนเทศได้เป็นจำนวนมาก 3. สามารถสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว 4. สามารถสื่อสารไปใช้ในระยะไกลได้

3 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.1 โปรแกรมสำนักงาน โปรแกรมจัดการงานเอกสาร โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล โปรแกรมสเปรดชีท

4 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.2 โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ ลักษณะ เป็นระบบเบ็ดเสร็จ เป็นโปรแกรมที่ทำงานในระบบเครือข่าย เป็นโปรแกรมที่ออกแบบมาสำหรับงานห้องสมุดโดยเฉพาะ เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นสำหรับงานห้องสมุดทุกงาน

5 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.2 โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ ตัวอย่างโปรแกรม ELIB L Spider Library 2000 นวสาร Alice for Window

6 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
การพิจารณานำระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาใช้ เลือกขนาดโปรแกรมให้เหมาะสมกับขนาดห้องสมุด ให้เลือกซื้อระบบงานที่จำเป็นก่อน ผู้ผลิตมีความมั่นคง หากไม่พร้อมด้านการเงินอาจใช้โปรแกรมฟรี หรือคิดขึ้นเอง

7 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
2. เทคโนโลยีที่ใช้ร่วมกับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ 2.1 บาร์โค้ด 2.2 เครื่องอ่านบาร์โค้ด 2.3 RFID 2.4 Self Checkout 2.6 ประตูกันขโมย 2.7 แถบสัญญาณแม่เหล็ก 2.8 เครื่องลบ / เพิ่ม สัญญาณแม่เหล็ก

8 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
2.1 บาร์โค้ด ส่วนประกอบของบาร์โค้ด 1. ส่วนลายเส้นซึ่งเป็นลายเส้นสีขาว (โปร่งใส) และสีดำ 2. ส่วนข้อมูลตัวอักษร 3. แถบว่าง

9

10 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
ประเภทของบาร์โค้ด Smart Barcode Dumb Barcode บาร์โค้ดกับงานห้องสมุด บัตรประจำตัวสมาชิก (Patron/ User Card) เลขประจำหนังสือ (Item Barcode)

11 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ

12

13 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
2.2 เครื่องอ่านบาร์โค้ด

14 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
2.3 RFID : Radio Frequency Identification 1. ป้ายระบุข้อมูลของวัตถุ (Tag)

15 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
2.3 RFID : Radio Frequency Identification 2. เครื่องอ่านสัญญาณความถี่วิทยุ

16 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
RFID กับงานห้องสมุด บริการรับคืนวัสดุสารสนเทศ

17 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
RFID กับงานห้องสมุด เรียงวัสดุสารสนเทศ

18 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
RFID กับงานห้องสมุด ระบบรักษาความปลอดภัยของวัสดุสารสนเทศ

19 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
RFID กับงานห้องสมุด เครื่องตรวจสอบชั้นวางวัสดุสารสนเทศ

20 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
RFID กับงานห้องสมุด เครื่องบริการยืม-คืน วัสดุสารสนเทศอัตโนมัติ

21 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
RFID กับงานห้องสมุด การสำรวจวัสดุสารสนเทศและการจัดชั้น

22 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
ขั้นตอนการทำงานของ RFID 1. Folio Tag 2. Tagging 3. Check out 4. Security Gates 5. Book Return 6. Shelf Management Reader

23 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
2.4 Self Checkout

24 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
2.6 ประตูกันขโมย

25 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
2.7 แถบสัญญาณแม่เหล็ก

26 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
2.8 เครื่องลบ / เพิ่ม สัญญาณแม่เหล็ก

27 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
3. เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล 3.1 โทรสารหรือแฟกซ์ 3.2 อีเมล์ 3.3 เครือข่าย ได้แก่ LAN, WAN 3.4 Z39.50 3.5 อินเทอร์เน็ต 3.6 อินทราเน็ต 3.7 web2.0 / Library 2.0

28 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
3. เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล 3.1 โทรสารหรือแฟกซ์ ใช้ในการสื่อสารข้อมูลของห้องสมุดและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

29 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
3.2 อีเมล์ ใช้ในการติดต่อระหว่างหน่วยงาน และใช้ในการให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการ

30 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
3.3 เครือข่าย ได้แก่ LAN, WAN สำหรับเชื่อมโยงเครือข่ายของห้องสมุดเข้ากับเครือข่ายทั้งจากภายในและภายนอกหน่วยงาน

31 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
3.4 Z39.50 เป็นมาตรฐานกำหนดรูปแบบวิธีการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถสืบค้นไปยังระบบอื่นๆ ได้มากกว่า 1 ระบบ ได้โดยไม่ต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับรูปแบบและข้อกำหนดของระบบที่ต้องการติดต่อด้วย

32 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
Z39.50 กำหนดการทำงานด้วย Protocol Z39.50ทำงานดังนี้ 1. Initialization 2. Search 3. Retrieval 4. Result Set Delete 5. Access Control 6. Accounting /Resource Control 7. Sort 8. Browse 9.Extended Services 10. Explain 11. Termination

33 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
3.5 อินเทอร์เน็ต มีประโยชน์คือ ใช้ในการสืบค้นสารสนเทศสาขาต่างๆ ใช้ในการติดตามข่าวสารที่ทันสมัยต่างๆ ผู้ใช้สามารถสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ของห้องสมุดผ่านเว็บได้ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของห้องสมุดผ่านเว็บได้ เป็นประโยชน์ในการทำงานของบรรณารักษ์

34 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
3.6 อินทราเน็ต ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในองค์กร

35 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
3.7 web2.0 / Library 2.0 Web 2.0 การสร้างเว็บให้ผู้ใช้มีส่วนร่วม Library 2.0 พัฒนามาจากแนวคิดของ Web 2.0

36 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
3.7 web2.0

37 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
3.7 Library 2.0 ผู้ใช้มีส่วนร่วม บริการแบบ “User Center Services”

38 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
3.7 Library 2.0 เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ Blog % Wikis % RSS % IM % Social Bookmarking 33.3%

39

40 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
4. เทคโนโลยีภาพลักษณ์ 4.1 สื่อที่ใช้ในการจัดเก็บ 4.2 ระบบจัดเก็บเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์ CANON Canofile KEYFILE Kodak ImageLink SPOOLVIEW INFOMA

41 CANON Canofile

42 Kodak ImageLink

43 ปัญหาการนำเทคโนโยลีสารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดเฉพาะ
1. ห้องสมุดขาดแคลนงบประมาณ 2. ห้องสมุดขาดแคลนบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เทคโนโลยีมักล้าสมัยเร็ว 4. ห้องสมุดเฉพาะส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก


ดาวน์โหลด ppt เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google