ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Microeconomics เศรษฐศาสตร์จุลภาค ดร.นิสิต พันธมิตร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 17/11/61
2
Outline บทนำ ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด ความยืดหยุ่น
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด ความยืดหยุ่น พฤติกรรมของผู้บริโภค ทฤษฎีการผลิต 17/11/61
3
Outline (ต่อ) ต้นทุนและรายรับจากการผลิต
การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดที่มีการแข่งขัน โดยสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ตลาดปัจจัยการผลิต 17/11/61
4
บทที่ 1 “บทนำ” 17/11/61
5
ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์
มาจากรากศัพท์ภาษากรีกว่า “Oikonomikos” นักเศรษฐศาสตร์หลายท่านได้ให้ความหมายไว้ *Paul A.Samuelson *Alfred Marshall *Philip C. Starr *Roger N. Waud 17/11/61
6
ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์โดยสรุป
วิชาเศรษฐศาสตร์เป็นวิชาหนึ่งทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์และสังคมในการตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดและสามารถใช้ประโยชน์ได้หลายทางนำมาใช้ผลิตสินค้าและบริการสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีอยู่มากมายนับไม่ถ้วนโดยวิธีที่ประหยัดที่สุด 17/11/61
7
จากความไม่สมดุลระหว่างทรัพยากรที่มีอยู่กับ
ความต้องการของมนุษย์ทำให้เกิด ปัญหาความขาดแคลน “ Scarcity ” 17/11/61
8
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
จะผลิตสินค้าอะไร (What) จะผลิตสินค้าอย่างไร (How) จะผลิตสินค้านั้นเพื่อใคร (For Whom) 17/11/61
9
สามแนวทางในการแก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
การใช้ระบบปฏิบัติตามประเพณีที่สืบทอดกันมา (Traditional System) การใช้ระบบวางแผนจากส่วนกลาง (Central-planned System) การใช้ระบบราคาตลาด (Market-price System) 17/11/61
10
ปัจจัยการผลิต ที่ดิน : ทรัพยากรธรรมชาติ แร่ธาตุ ป่าไม้
ที่ดิน : ทรัพยากรธรรมชาติ แร่ธาตุ ป่าไม้ แม่น้ำ น้ำมัน ฯลฯ ผลตอบแทน : ค่าเช่า แรงงาน : มีทักษะ ไม่มีทักษะ ผลตอบแทน : ค่าจ้าง 17/11/61
11
ทุน : เครื่องมือ เครื่องจักร โรงงาน สำนักงาน หรือเงินทุน ฯลฯ
ผลตอบแทน : อัตราดอกเบี้ย ผู้ประกอบการ : ผู้รวบรวมปัจจัยการผลิตทั้ง 3 ประเภทมาทำการผลิตสินค้าและบริการ เพื่อออกจำหน่ายให้กับผู้บริโภค ผลตอบแทน : กำไร 17/11/61
12
สินค้าและบริการ สินค้า (Goods) หมายถึง ผลผลิตที่ผู้ผลิตทำให้เกิดขึ้นโดยการใช้ปัจจัยการผลิตต่างๆมาร่วมกันและสามารถสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ทั้งในปัจจุบันและเก็บสต๊อกไว้ใช้ในอนาคตได้ เช่น ตู้เย็น ทีวี รถยนต์ สบู่ ยาสีฟัน ฯลฯ บริการ (Services) หมายถึง ผลผลิตที่ไม่มีตัวตนซึ่งสามารถสนองความต้องการได้ในปัจจุบันแต่ไม่สามารถเก็บสต๊อกไว้ใช้ได้ในอนาคต เช่น ตัดผม ถอนฟัน โอนเงิน ฯลฯ 17/11/61
13
หน่วยเศรษฐกิจ หน่วยธุรกิจ (Firms)
รวบรวมปัจจัยการผลิตมาผลิตสินค้าและบริการ นำสินค้าและบริการออกจำหน่ายให้กับผู้บริโภค หน่วยครัวเรือน (Households) ขายปัจจัยการผลิต ซื้อสินค้าและบริการจากผู้ผลิตมาบริโภค 17/11/61
14
วงจรเศรษฐกิจอย่างง่าย
เงินค่าตอบแทนปัจจัยการผลิต (ตลาดปัจจัย) ปัจจัยการผลิต หน่วยครัวเรือน หน่วยธุรกิจ สินค้าและบริการ (ตลาดผลผลิต) เงินค่าตอบแทนสินค้าและบริการ 17/11/61
15
ระบบเศรษฐกิจ ระบบคอมมิวนิสต์ (Communism) ระบบสังคมนิยม (Socialism)
ระบบผสม (Mixed Economy) ระบบเสรีนิยมหรือทุนนิยม (Free Enterprise Economy) 17/11/61
16
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
ประชาชนทุกคนมีเสรีภาพในการเลือกบริโภคสินค้าและบริการต่างๆ ประชาชนมีกรรมสิทธิ์ในการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน มีเสรีภาพในการเลือกผลิตได้ตามความพอใจ ใช้ระบบราคาเป็นเครื่องมือในการตัดสินใจในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ตัวอย่างประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจทุนนิยมได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ฯลฯ 17/11/61
17
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
รัฐเข้าควบคุมกิจกรรมที่สำคัญที่เกี่ยวกับความมั่นคง และสวัสดิการเช่น ธนาคาร ป่าไม้ เหมืองแร่ อุตสาหกรรมหนัก ฯลฯ ประชาชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเล็ก ๆ น้อย ๆ และสามารถประกอบธุรกิจขนาดย่อมได้ ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบนี้ได้แก่ พม่า ฮังการี ฯลฯ 17/11/61
18
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เอกชนสามารถถือครองทรัพย์สินได้มาก
ดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้โดยสมัครใจ รัฐเข้าดำเนินการเฉพาะกิจกรรมขั้นพื้นฐานที่สำคัญ ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบผสมได้แก่ ไทย ฟิลิปปินส์ ฯลฯ 17/11/61
19
ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์
รัฐเป็นผู้กำหนดว่าจะผลิตอะไร อย่างไร ให้ใคร ประชาชนไม่มีสิทธิ์เป็นเจ้าของทรัพย์สินใด ๆ เป็นระบบการวางแผนจากส่วนกลาง ตัวอย่างประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบนี้ได้แก่ จีน คิวบา ฯลฯ 17/11/61
20
แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์จุลภาค เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในส่วนย่อยๆ เช่น ผู้ผลิต ผู้บริโภค ตลาด อุปสงค์ อุปทาน การกำหนดราคา ฯลฯ เศรษฐศาสตร์มหภาค เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจโดยส่วนรวม เช่น รายได้ประชาชาติ การจ้างงาน การออม การลงทุน การค้าระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ ฯลฯ 17/11/61
21
ข้อสมมติในทางเศรษฐศาสตร์
มนุษย์เป็นสัตว์เศรษฐกิจ (Economics Man) ความพอใจสูงสุด กำไรสูงสุด ผลตอบแทนสูงสุด ปัจจัยอื่นๆที่ไม่เกี่ยวข้องคงที่ (Ceteris Paribus : Everything being equal) 17/11/61
22
วิธีการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์
วิธีอุปมาน (Induction) เป็นการสร้างทฤษฎีโดยการรวบรวมข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับปัญหาที่เราต้องการศึกษาแล้วนำมาวิเคราะห์หาข้อสรุปหรือหาความสัมพันธ์ระหว่างกันโดยกำหนดให้ปัจจัยอื่นๆคงที่ จากนั้นจึงทำการพิสูจน์ข้อมูลโดยใช้เหตุและผล 17/11/61
23
วิธีอนุมาน (Deduction)
เป็นการสร้างทฤษฎีโดยเริ่มต้นจากการตั้งสมมติฐานโดยอาศัยเหตุและผล จากนั้นจึงทำการทดสอบข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ถ้าหากสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้แสดงว่าสมมติฐานถูกต้องจึงสรุปออกมาเป็นทฤษฎีได้ 17/11/61
24
ชนิดของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ (Positive Economics) เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึงปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจในอดีต(What was) ปัจจุบัน(What is)และในอนาคต(What will be) เพื่อให้รู้ว่าปรากฏการณ์ต่างๆเกิดขึ้นอย่างไร โดยไม่มีการประเมินผลว่าสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นดีหรือไม่ดี เพียงแต่ทราบว่ามีเหตุเกิดทำให้มีผลเกิดตามมา เช่นสินค้าขาดแคลน ทำให้ราคาสินค้าแพงขึ้น เป็นต้น 17/11/61
25
ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์นโยบาย (Normative Economics)
เป็นทฤษฎีที่อธิบายผลของปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นว่า ดีหรือไม่ดี จากนั้นควรจะทำอย่างไรต่อไป (What ought to be) เพื่อให้เกิดความพอใจขึ้นในสังคม เช่น เมื่อสินค้าขาดแคลนและมีราคาแพง รัฐบาลควรทำการแก้ไขอย่างไรจึงจะดี เป็นต้น 17/11/61
26
นักเศรษฐศาสตร์คนสำคัญ
Adam Smith ( ) Alfred Marshall ( ) John Maynard Keynes ( ) 17/11/61
27
Adam Smith เชื่อว่าระบบราคาจะทำให้การจัดสรรทรัพยากรมี
ประสิทธิภาพสูงสุดโดยอาศัยการทำงานของมือที่มองไม่ เห็น (Invisible hand) เป็นที่มาของลัทธิเสรีนิยม ซึ่งเขียนในตำราเศรษฐศาสตร์ เล่มแรกของโลกที่ชื่อว่า“An Inquiry into the Nature and Causes of the Wealth of Nations” ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์ 17/11/61
28
ใช้คณิตศาสตร์อธิบายเศรษฐศาสตร์
Alfred Marshall ใช้คณิตศาสตร์อธิบายเศรษฐศาสตร์ เสนอแนวความคิดเรื่อง การเปลี่ยนแปลงหน่วยสุดท้าย (Marginal Unit) และได้เสนอทฤษฎีว่าด้วยการผลิต ( Theory of the firms ) ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นทฤษฎี เศรษฐศาสตร์จุลภาคเล่มแรก ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์ จุลภาค 17/11/61
29
John Maynard Keynes มีความเชี่ยวชาญในระบบเศรษฐกิจสมัยใหม่และให้ความสำคัญกับระบบเศรษฐกิจโดยส่วนรวม เขียนหนังสือที่สำคัญคือ “The General Theory of Employment ,Interest and money” ในปี ค.ศ.1936 ซึ่งเป็นการปฏิวัติแนวคิดของสำนักคลาสสิก ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์มหภาค 17/11/61
30
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์
ฟังก์ชั่น สมการ กราฟ การเปลี่ยนแปลง ความชัน ค่าหน่วยสุดท้าย 17/11/61
31
ฟังก์ชั่น [Function] * การแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป
* การแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป - ตัวแปรตาม (Dependent Variable) - ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) Y = f (X1 , X2 , X3,…, Xn ) เช่น Y = f (X1 , X2 , X3 , X4, X5 ) 17/11/61
32
Y คือ ปริมาณน้ำมันเบนซินอ๊อกเทน 91 ที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ
โดยที่ Y คือ ปริมาณน้ำมันเบนซินอ๊อกเทน 91 ที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ X1 คือ ปริมาณกระบอกสูบเครื่องยนต์ที่ใช้น้ำมัน เบนซินเป็น เชื้อเพลิง (+ ) X2 คือ ระดับราคาน้ำมันเบนซินอ๊อกเทน 91 ( - ) X3 คือระดับราคาน้ำมันเบนซินอ็อกเทน 95 ( + ) X4 คือ ระดับรายได้ของผู้บริโภค (+ ) X5 คือ ระยะทางที่เดินทางด้วยรถยนต์ที่ใช้น้ำมัน เบนซิน ( + ) 17/11/61
33
เครื่องหมายที่กำหนด Y= f ( X1 , X2 , X3 , X4, X5 ) (+) (-) (+) (+) (+)
(+) (-) (+) (+) (+) 17/11/61
34
สมการ (Equation) การแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรตาม (Y) กับตัวแปรอิสระ (X) ตัวเลขที่อยู่ข้างหน้าตัวแปรอิสระจะเรียกว่า“ค่าสัมประสิทธิ์” ค่าสัมประสิทธิ์ในสมการใดๆอาจมีค่าคงที่(Constant)หรือไม่ก็ได้ 17/11/61
35
รูปแบบของสมการ สมการกำลังหนึ่ง สมการกำลังสอง สมการไฮเปอร์โบลา ....
สมการกำลังหนึ่ง สมการกำลังสอง สมการไฮเปอร์โบลา .... ในที่นี้ยกตัวอย่างสมการกำลังหนึ่ง ได้แก่ Y= X1 - 2X2 +3X X X5 17/11/61
36
กราฟ [Graph] การแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวแปร ขึ้นไป
ตัวแปรตาม 1 ตัว (Y) , ตัวแปรอิสระ 1 ตัว (X) การสร้างกราฟ *แกนตั้งเป็นค่าของตัวแปรตาม(Y)* *แกนนอนเป็นค่าตัวแปรอิสระ(X)* 17/11/61
37
ลักษณะของกราฟ ถ้า X มีกำลังเป็น 1 จะได้กราฟเป็นเส้นตรง
17/11/61
38
สมมติสมการคือ Y= 50 - 2X ตัวอย่างสมการ
ถ้าค่า X = 0 จะได้ค่า Y = (0) = plot จุด A ถ้าค่า X = “ Y = (5) = “ B ถ้าค่า X = “ Y = (10) = “ C ถ้าค่า X = “ Y = (15) = “ D ถ้าค่า X = “ Y = (20) = “ E ถ้าค่า X = “ Y = (25) = “ F 17/11/61
39
แสดงกราฟเส้นตรงที่มีความชันเป็นลบ
Y A 50 B 40 C 30 D 20 E 10 F X 5 10 15 20 25 แสดงกราฟเส้นตรงที่มีความชันเป็นลบ 17/11/61
40
Y= 10 + 5X X=0 จะได้ค่า Y=10+5(0) = 10 Plot ที่จุด A
X= “ Y=10+5(1) = “-----” B X= “ Y=10+5(2)= “-----” C X= “ Y=10+5(3)= “-----” D 17/11/61
41
แสดงกราฟเส้นตรงที่มีความชันเป็นบวก
Y D 25 C 20 B 15 A 10 5 X 1 2 3 แสดงกราฟเส้นตรงที่มีความชันเป็นบวก 17/11/61
42
การเปลี่ยนแปลง ( Delta )
เป็นการบอกค่าของตัวแปรที่เปลี่ยนไปจากค่าเดิม ใช้สัญลักษณ์ ( Delta ) นำหน้าตัวแปรนั้น เช่น X= 5 แปลว่า ค่า X เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 5 หน่วย X= - 3 แปลว่า ค่า X เปลี่ยนแปลงลดลง 3 หน่วย 17/11/61
43
ส่วนเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรบนแกนตั้ง ส่วนเปลี่ยนแปลงของตัวแปรบนแกนนอน
ค่าความชัน ( Slope ) ส่วนเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรบนแกนตั้ง ค่าความชัน = ส่วนเปลี่ยนแปลงของตัวแปรบนแกนนอน Slope= Y X 17/11/61
44
การพิจารณาค่าความชันจากสมการ
Y= 50-2X ค่าความชัน = -2 Y= 10+5X ค่าความชัน = +5 17/11/61
45
แสดงการหาค่าความชันของกราฟที่ได้เครื่องหมายลบ
Y A 40 Y B 30 X D X 50 90 17/11/61
46
การหาค่าความชันของกราฟที่ได้เครื่องหมายบวก
Y S B 100 Y A 60 X X 20 30 17/11/61
47
ค่าหน่วยสุดท้าย ( Marginal Value )
เป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรหนึ่งเมื่อค่าของตัวแปรอีกตัวหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปหนึ่งหน่วย Y X X Y 17/11/61
48
ค่าสูงสุดและค่าต่ำสุด
วิธีการ 1. นำสมการที่ได้มาหาค่าอนุพันธ์อันดับที่หนึ่ง 2. นำสมการที่ได้ในข้อที่ 1 มาเท่ากับ 0 แล้วแก้สมการ หาค่าตัวแปรซึ่งเรียกว่า จุดวิกฤต ซึ่งเป็นจุดที่สามารถให้ค่าสูงสุด หรือต่ำสุดก็ได้ 17/11/61
49
ถ้าค่าอนุพันธ์อันดับสองมีค่ามากกว่า 0 แสดงว่าจุดวิกฤตนั้นให้ค่าต่ำสุด
3. ถ้าต้องการทราบค่าสูงสุดหรือค่าต่ำสุดให้ทดสอบด้วยค่าอนุพันธ์อันดับสอง ถ้าค่าอนุพันธ์อันดับสองมีค่ามากกว่า 0 แสดงว่าจุดวิกฤตนั้นให้ค่าต่ำสุด ถ้าค่าอนุพันธ์อันดับสองมีค่าน้อยกว่า 0 แสดงว่าจุดวิกฤตนั้นให้ค่าสูงสุด 17/11/61
50
Y X Y X 17/11/61
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.