ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
(อนุสัญญากรุงนิวยอร์ค 1958)
Convention on the Recognition and Enforcement of Foreign Arbitral Awards1958(New York Convention) อนุสัญญาว่าด้วยการยอมรับนับถือและการใช้บังคับคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ (อนุสัญญากรุงนิวยอร์ค 1958) มีสมาชิก 143 ประเทศประกอบด้วยประเทศสมาชิกสหประชาชาติ 142ประเทศจาก 192 ประเทศ และ Holy See ( Rome Pope)
2
Afghanistan, Albania, Algeria, Antigua and Barbuda, Argentina, Armenia, Australia, Austria, Azerbaijan, Bahamas, Bahrain, Bangladesh, Barbados, Belarus, Belgium, Benin, Bolivia, Bosnia and Herzegovina, Botswana, Brazil, Brunei Darussalam, Bulgaria, Burkina Faso, Cambodia, Cameroon, Canada, Central African Republic, Chile, China, Colombia, Costa Rica, Cote d’Ivore, Croatia, Cuba, Cyprus, Czech Republic, Denmark, Djibouti, Dominica, Dominican Republic, Ecuador, Egypt, El Salvador, Estonia, Finland, France, Gabon, Georgia, Germany, Ghana, Greece, Guatemala, Guinea, Haiti, Holy See, Honduras, Hungary, Iceland, India, Indonesia, Iran, Ireland, Israel, Italy, Jamaica, Japan, Jordan, Kazakhstan, Kenya, Kuwait, Kyrgyzstan,
3
Lao People's Democratic Republic, Latvia, Lebanon, Lesotho, Liberia, Lithuania, Luxembourg, Madagascar, Malaysia, Mali, Malta, Marshall Islands, Mauritania, Mauritius, Mexico, Moldova, Monaco, Mongolia, Montenegro, Morocco, Mozambique, Nepal, Netherlands, New Zealand, Nicaragua, Niger, Nigeria, Norway, Oman, Pakistan, Panama, Paraguay, Peru, Philippines, Poland, Portugal, Qatar, Republic of Korea, Romania, Russian Federation, Saint Vincent and the Grenadines, San Marino, Saudi Arabia, Senegal, Serbia, Singapore, Slovakia, Slovenia, South Africa, Spain, Sri Lanka, Sweden, Switzerland, Syrian Arab Republic, Thailand, The former Yugoslav Republic of Macedonia, Trinidad and Tobago, Tunisia, Turkey, Uganda, Ukraine, United Arab Emirates, United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland, United Republic of Tanzania, United States of America, Uruguay, Uzbekistan, Venezuela, Vietnam, Zambia, Zimbabwe.
4
States which are Not Party to the New York Convention
Andorra Angola Belize Bhutan Burundi Cape Verde Chad Comoros Congo, Republic of the Democratic Republic of the Congo Equatorial Guinea Eritrea Ethiopia Fiji Gambia Grenada Guinea-Bissau Guyana Iraq Kiribati North Korea Libyan Arab Jamahiriya Liechtenstein Malawi Maldives Micronesia, Fed. States of Myanmar Namibia Nauru Palau Papua New Guinea Saint Kitts and Nevis Saint Lucia Samoa Sao Tome and Principe Seychelles Sierra Leone Solomon Islands Somalia Sudan Suriname Swaziland Taiwan Tajikistan Timor-Leste Togo Tonga Turkmenistan Tuvalu Vanuatu Yemen
5
(อนุสัญญากรุงนิวยอร์ค 1958)
Convention on the Recognition and Enforcement of Foreign Arbitral Awards1958(New York Convention) อนุสัญญาว่าด้วยการยอมรับนับถือและการใช้บังคับคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ (อนุสัญญากรุงนิวยอร์ค 1958) ใช้กับการยอมรับบังคับตามคำชี้ขาดอนุญาโตตุลาการต่างประเทศที่กระทำในรัฐอื่น หมายรวมถึงคำชี้ขาดที่ทำขึ้นเฉพาะกรณีหรือองค์กรอนุญาโตตุลาการถาวร ใช้หลักถ้อยทีถ้อยปฏิบัติอาจสงวนว่าใช้บังคับเฉพาะรัฐภาคีหรือนิติสัมพันธ์ทางพาณิชย์
6
ข้อ 2 รัฐภาคีตกลงจะยอมรับนับถือข้อสัญญาอนุญาโตตุลาการที่เป็นลายลักษณ์อักษร ความตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร รวมถึงข้อสัญญาอนุญาโตตุลาการหรือสัญญาอนุญาโตตุลาการ หรือในหนังสือแลกเปลี่ยนหรือโทรเลข เมื่อคู่สัญญาอนุญาโตตุลาการฝ่ายใดร้องขอศาลจะจัดให้มีการอนุญาโตตุลาการ เว้นแต่ศาลเห็นว่าความตกลงเป็นโมฆะไม่สมบรูณ์หรือใช้บังคับไม่ได้
7
ข้อ3 รัฐผู้ทำสัญญาจะบังคับภายใต้เงื่อนไขของอนุสัญญา โดยไม่ตั้งเงื่อนไข ค่าธรรมเนียม ค่าภาระในการยอมรับสูงกว่าการบังคับตามคำชี้ขาดภายในรัฐนั้น ข้อ 4 ผู้ขอให้บังคับต้องยื่นเอกสารดังต่อไปนี้ * ต้นฉบับคำชี้ขาดหรือสำเนาซึ่งรับรองแล้ว * ต้นฉบับสัญญาหรือสำเนาซึ่งรับรองแล้ว * คำชี้ขาดและสัญญาที่ไม่ได้ทำเป็นภาษาราชการของรัฐที่จะบังคับให้ต้องทำเป็นคำแปล
8
ข้อ 5การปฏิเสธไม่บังคับตามคำชี้ขาด
การอนุญาโตตุลาการไม่เป็นไปตามข้อตกลงหรือกฎหมาย ไม่มีความสามารถ ความตกลงไม่สมบรูณ์ ไม่ได้รับการบอกกล่าว ไม่สามารถแก้คดีของตน คำวินิจฉัยนอกขอบเขต ถ้านอกขอบเขตบังคับให้ในส่วนที่อยู่ในขอบเขต องค์ประกอบคณะอนุญาโตตุลาการ วิธีพิจารณาไม่เป็นไปตามข้อตกลงหรือกฎหมาย คำชี้ขาดไม่มีผลผูกพัน ถูกเพิกถอน หรือระงับในประเทศที่ทำคำชี้ขาด ไม่สามารถระงับได้ด้วยการอนุญาโตตุลาการตามกฎหมายหรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
9
ถ้ามีการยกเลิกเพิกถอน ระงับการใช้คำชี้ขาดตามข้อ5
ข้อ 6 ถ้ามีการยกเลิกเพิกถอน ระงับการใช้คำชี้ขาดตามข้อ5 ศาลอาจเลื่อนการบังคับตามคำชี้ขาด หรืออาจให้ผู้ถูกบังคับหาประกันก็ได้
10
ข้อ 7 ไม่กระทบความสมบรูณ์ของการตกลงพหุภาคีหรือทวิภาคีเกี่ยวกับการยอมรับบังคับตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ โปรโตคลเจนีวา 1923และอนุสัญญาเจนีวา 1927 ยุติผลการใช้บังคับเมื่อรัฐผู้ทำสัญญาเข้าเป็นภาคีในอนุสัญญานี้
11
(อนุสัญญากรุงวอชิงตัน 1965) ICSID
Convention on the Settlement of Investment Disputes Between States and Nationals of other States (ICSID) อนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาททางการลงทุนระหว่างรัฐและคนชาติของรัฐอื่น (อนุสัญญากรุงวอชิงตัน 1965) ICSID ประเทศสมาชิก ประเทศ
12
(อนุสัญญากรุงวอชิงตัน 1965) ICSID
Convention on the Settlement of Investment Disputes Between States and Nationals of other States (ICSID) อนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาททางการลงทุนระหว่างรัฐและคนชาติของรัฐอื่น (อนุสัญญากรุงวอชิงตัน 1965) ICSID วัตถุประสงค์ ส่งเสริมการระงับข้อพิพาททางการลงทุน
13
ICSID ร่างเสร็จ 18 มีนาคม 1965 ลงนามที่กรุงวอชิงตัน
มีผลบังคับ 14 ตุลาคม 1966 มี 20 ประเทศเป็นภาคี ปัจจุบันมีสมาชิก 100 ประเทศ
14
ICSID ศูนย์ ประกอบด้วย
1 สภาบริหาร(The Administrative Council)ตัวแทนภาคีประเทศละ 1 คน ( one man one vote ) 2 กองเลขาธิการ( The Secretariat) 3 คณะกรรมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและอนุญาโตตุลาการ (The Conciliation Commission and the Panel of Arbitrators) ประเทศสมาชิกเสนอประเทศละ 4 รายชื่อ ประธานสภาบริหาร 10 รายชื่อ
15
เขตอำนาจ 1. การระงับข้อพิพาทมีเงื่อนไข
1. การระงับข้อพิพาทมีเงื่อนไข ความยินยอม เป็นหนังสือ เพิกถอนไม่ได้ 2.เขตอำนาจเหนือบุคคล - รัฐภาคีผู้รับการลงทุนกับบุคคลรัฐอื่น 3. เขตอำนาจเหนือข้อพิพาทตามกฎหมายจากการลงทุนไม่ใช่การพาณิชย์ปกติ
16
2. การดำเนินการรับคดีเข้าสู่การพิจารณา
ยื่นคำร้องเป็นหนังสือ > เลขา ฯ > จดทะเบียน 3. อำนาจอนุญาโตตุลาการมาจากอนุสัญญาไม่ใช่ข้อตกลง 4. การสละความคุ้มครองทางการทูตเว้นแต่รัฐคู่สัญญาไม่ปฏิบัติตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ
17
5. กฎหมาย I วิธีสบัญญัติ - กฎหมายประเทศที่ทำคดี (Lex fori), ตกลงกันได้
5. กฎหมาย I วิธีสบัญญัติ - กฎหมายประเทศที่ทำคดี (Lex fori), ตกลงกันได้ - กฎหมายระหว่างประเทศ II กฎหมายสารบัญญัติ - กฎหมายภายใน - กฎหมายระหว่างประเทศ ถ้ากฎหมายภายในขัดกัน - ตกลงกัน
18
6. คำชี้ขาด I ผูกพันคู่กรณี อุทธรณ์หรือใช้มาตรการอื่นไม่ได้
6. คำชี้ขาด I ผูกพันคู่กรณี อุทธรณ์หรือใช้มาตรการอื่นไม่ได้ II การยอมรับบังคับตามคำชี้ขาด - ผูกพันเหมือนคำพิพากษาของศาลภายในที่ถึงที่สุดแล้ว
19
Principle of Competence de La Competence
ตัดสินตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ พิจารณาขาดนัด คำชี้ขาดใช้เสียงข้างมาก ทำเป็นหนังสือ มีทะเบียนผู้ประนอมข้อพิพาท อนุญาโตตุลาการ หลังชี้ขาด - แก้ไข ตีความ ทบทวน คำชี้ขาด ยกเลิก
20
สถาบันประกันการลงทุนแบบพหุภาคี
(The Multilateral Investment Guarantee Agency MIGA ) 1. ตั้ง 21 เมษายน หลังจากลงนามปี 2528 สมาชิกธนาคารโลก 42 ประเทศ 2. โครงสร้างองค์กร I คณะมนตรีผู้ว่าการ (Council of Governors) II คณะกรรมการบริหาร (Board of Directors) III ประธานองค์การ (MIGA President)
21
วัตถุประสงค์ ประกันความเสี่ยงในการเคลื่อนย้ายเงินลงทุน
ให้คำแนะนำ 4. สมาชิกประกอบด้วย 152 ประเทศ 128 ประเทศ ดำเนินการแล้ว การเป็นสมาชิก 1. ลงนาม และให้สัตยาบัน 2. การซื้อหุ้น 3. ชำระเงิน เงินสด, ตั๋วสัญญาใช้เงิน
22
การดำเนินงาน - ร่วมกับรัฐบาลประเทศท้องถิ่น (Host Government) - ประเทศถิ่นกำเนิดการลงทุน (Home Government) - ประเทศพัฒนา > กำลังพัฒนา - รับประกันการลงทุนทุกประเภท - การลงทุน ขยายกิจการ
23
- รับประกันความเสี่ยง 4 ประเภท
1. การเคลื่อนย้ายเงินทุน 2. ความเสี่ยงในการถูกเวนคืน (Expropriation) 3. ความเสี่ยงเกี่ยวกับสงคราม (War) 4. ความเสี่ยงเกี่ยวกับการไม่ทำตามสัญญา (Breach of Contract)
24
7. การรับประกันการลงทุน
- สัญชาติสมาชิก MIGA ไม่ใช่สัญชาติที่ได้รับการลงทุน - บริษัทหรือกิจการในประเทศสมาชิก MIGA - ศาลรัฐภาคีไม่รื้อถอนคำชี้ขาด - จำกัดอำนาจในการชำระคดี (Immunity from Jurisdiction) - ไม่เกี่ยวกับความคุ้มกันในการบังคับคดี (Immunity from Execution)
25
ประเทศไทยตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันพหุภาคีพ.ศ.2544
26
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิบัติตามคำชี้ขาด
1 ให้หน่วยงานของรัฐปฏิบัติตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ เว้นคำชี้ขาดไม่ชอบ เกิดจากการกระทำมิชอบ มิได้อยู่ในขอบเขต (ข้อ 5) 2 ถ้ามีเหตุให้ปฏิเสธไม่ปฏิบัติตามใน15วันนับแต่รับสำเนา(ข้อ6) 3 ถ้ามีข้อสงสัยส่งให้กระทรวงการคลังภายใน 15 วันส่งให้คณะกรรมการพิจารณาคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการวินิจฉัยให้แล้วเสร็จใน 30 วัน(สำนักงานอัยการ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กระทรวงการคลัง)(ข้อ7-8)
27
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิบัติตามคำชี้ขาด
4 คณะกรรมการวินิจฉัยอย่างใดอยู่ในดุลพินิจของหน่วยงานพิจารณามีคำสั่งใน 30 วัน( ข้อ 8 ) 5 ถ้าเป็นคำชี้ขาดของสถาบันประกันการลงทุนพหุภาคีให้ปฏิบัติตามและเบิกจ่ายเงินโดยเร็วไม่นำข้อ 5-8มาใช้ (ข้อ11)
29
มติคณะรัฐมนตรี มติคณะรัฐมนตรี 2533 สนับสนุนให้ใช้การอนุญาโตตุลาการและมีการบรรจุข้อสัญญาในสัญญามาตรฐาน มติคณะรัฐมนตรี 2547การทำสัญญาอนุญาโตตุลาการให้ขออนุมัติคณะรัฐมนตรี มติคณะรัฐมนตรี เดือนพฤษภาคม 2547 เฉพาะสัญญาสัมปทานที่จะทำสัญญาอนุญาโตตุลาการให้ขออนุมัติคณะรัฐมนตรีก่อน
30
Model law on Arbitration
Revise
31
Article 17 การออกคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว
32
ข้อบังคับว่าด้วยการอนุญาโตตุลาการ
33
ข้อบังคับว่าด้วยการไกล่เกลี่ย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.