ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
2
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายความหมาย พยาธิสรีรวิทยา ลักษณะอาการทางคลินิค การวินิจฉัย การรักษา ภาวะแทรกซ้อน ปัญหาของโรคหัวใจแต่กำเนิด โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลังและภาวะหัวใจวายได้ 2. สืบค้นข้อมูล คิดวิเคราะห์และเชื่อมโยงความรู้ในหัวข้อและสถานการณ์ที่กำหนดได้ 3. วิเคราะห์ปัญหาและวางแผนการพยาบาลในสถานการณ์ ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจและจิตสังคมได้ 4. สามารถนำเสนอความรู้จากการสืบค้นในหัวข้อและสถานการณ์ที่กำหนดได้ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
3
Cardiovascular dysfunction
Congenital heart disease (CHD) Acquired heart disease (AHD) Heart failure ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
4
Normal hemodynamic bl. circulation
Lt side Rt side ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
5
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Review the anatomy and hemodynamic of cardiac ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
6
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
7
Congenital Heart Disease : CHD
Acyanosis (Lt to Rt ) VSD ASD Cyanosis (Rt to Lt) TOF TGV PDA ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
8
Acyanosis (Lt to Rt shunt)
ไม่มีอาการเขียว เลือดแดงไหลไปปนกับเลือดดำ กลับไปฟอกที่ปอด กลับสู่หัวใจซีกซ้าย กลายเป็นเลือดแดงไปเลี้ยงร่างกาย ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
9
Ventricular Septum Defect (VSD)
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
10
Atrial Septum Defect (ASD)
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
11
Patent Ductus Ateriosus (PDA)
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
12
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
13
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Cyanotic heart มีอาการเขียว เลือดดำไหลปนกับเลือดแดง กลับไปเลี้ยงร่างกายผ่านทาง Aorta ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
14
Hemodynamic bl. circulation Rt to Lt shunt (เขียว)
TGV / TGA TOF ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
15
Tetralogy of Fallot (TOF;TF)
Right to left shunt ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
16
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ภาวะ anoxic spells blue spells, hypoxic spells cyanotic spell, syncope attack หายใจ catecholamines กรดแลคติก เลือดดำ O2 Infundibulum ตีบมากขึ้น Rt. to Lt. ปอด ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
17
ภาวะนิ้วปุ้ม (clubbing fingers & toes)
ขยายตัวของหลอดเลือด เพิ่ม O2 เลี้ยงส่วนปลาย ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
18
Squatting, Knee chest position
ดีขึ้น Squatting Rt. to Lt. ชั่วขณะ พับงอของหลอดเลือดใหญ่ บริเวณขาหนีบ เลือดไปปอด มากขึ้น เพิ่มความต้านทานของ หลอดเลือดในร่างกาย ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
19
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
20
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ภาวะแทรกซ้อน cerebral palsy (เป็นลม/หมดสติบ่อย) infective endocarditis (เลือดดำไม่ผ่านการกรองของเสียที่ปอด) cerebrovascular accidents (หลอดเลือดในสมองอุดตันเกิดอัมพาต) cerebral abscess (พบในอายุ > 2 ปี) thrombotic pulmonary vascular disease (ความผิดปกติของเส้นเลือดในปอด) ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
21
การผ่าตัดโรคหัวใจแต่กำเนิด
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
22
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
23
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
24
กลไกการไหลเวียนเลือด
ลักษณะของโรค ชนิดไม่มีอาการเขียว PDA ASD VSD พยาธิสภาพ มีช่องเปิดระหว่าง aorta กับ pulmonary artery มีช่องเปิดระหว่างผนังกั้นของหัวใจห้องบน มีช่องเปิดระหว่างผนังกั้นของหัวใจห้องล่าง กลไกการไหลเวียนเลือด เลือดจากซีกซ้ายไปสู่ซีกขวา เลือดไปสู่ปอดมาก เหมือนกัน การประเมินปัญหา ๑ ซักประวัติ ๒ ลักษณะอาการทางคลินิค ๓ การตรวจร่างกาย ช่องเปิดขนาดเล็กไม่มีอาการ ช่องเปิดขนาดปานกลาง/ใหญ่ - การเจริญเติบโตช้า เลี้ยงไม่โต ตัวเล็ก - ดูดนมช้า กินยาก หายใจเร็ว เหนื่อยง่ายขณะมีกิจกรรม -ติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อย เหงื่อออก - หัวใจวาย -อาจเขียวถ้ามีภาวะ Rt to Lt (Eisenmenger’s complex / reversed shunt) ลักษณะเฉพาะ PDA pulse pressure กว้าง, bounding pulse (ชีพจรเต้นแรง: รูรั่วขนาดปานกลาง) -ระยะท้ายของโรคพบ - machinery murmur เสียง S๑ ดังกลบ S๒ คล้ายกัน ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
25
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ลักษณะของโรค ชนิดไม่มีอาการเขียว PDA ASD VSD การรักษา การรักษาด้วยยา ยา Indomethacin (Prostaglandin inhibitor) การพยาบาล ติดตามการทำงานของไตและสังเกตอาการเลือดออกภายในร่างกาย เช่น ระบบทางเดินอาหาร การผ่าตัด - การใช้คลิปหนีบหลอดเลือด (elective surgery ligation / division) การรักษาตามชนิด ๑. หัวใจวาย -Digitalis (Digoxin/Lanoxin) -จำกัดน้ำดื่มและยาขับปัสสาวะ ๒ สวนหัวใจ ได้ผลดี ๓. ขนาดกลาง/ใหญ่ ทำผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินของเลือดระหว่างหัวใจและปอด - ปิด ASD ด้วยวิธี Dacron - การผ่าตัดนิยมทำเมื่อเด็กอยู่ในวัยก่อนเรียน - ขนาดเล็กปิดเองได้เมื่อ ๔ -๖ ปี - ขนาดปานกลาง/ใหญ่ ถ้ามีหัวใจวายรักษาด้วยยา - ขนาดปานกลาง/ใหญ่ - Palliative ผ่าตัดรัดหลอดเลือดแดงปอด - Complete Repair ขนาดเล็กใช้วิธีทำเป็นถุงหูรูด (Purse-string) ถ้า VSD ขนาดใหญ่จะปิดด้วย Dacron patch ภาวะแทรกซ้อน - Infective endocarditis, heart failure หลอดเลือดปอดอุดตันและมีลิ่มเลือดเกิดขึ้น Infective endocarditis, Pulmonic stenosis -ปริมาณการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงร่างกายลดลง (ปริมาณเลือดไปสู่ปอดมาก) -การหายใจไม่มีประสิทธิภาพ -การเปลี่ยนแปลงทางโภชนาการ -การติดเชื้อปอด / เยื่อหุ้มหัวใจ (เน้นสุขภาพอนามัยปากและฟันผุ) -ลดการคั่งของน้ำจำกัดปริมาณน้ำกรณีมีอาการหัวใจล้มเหลว -จัดกิจกรรมการเล่นให้เหมาะสม -เด็กโตเรื่องภาพลักษณ์ -ครอบครัววิตกกังวล / ขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและการรักษา ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
26
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
การรักษา PDA ด้วยยา Indomethacin ออกฤทธิ์: Prostaglandin inhibitor ระวัง: ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยไตทำหน้าที่ไม่ดี Cr. > 1.6 mg/dl ตัวเหลือง เลือดออก การพยาบาล: - ติดตามปริมาณปัสสาวะ - E’ lyte, BUN, Cr, Plt - เลือดออกทางเดินอาหาร - ฟังเสียง murmur ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
27
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ลักษณะของโรค ชนิดมีอาการเขียว TOF TGV พยาธิสภาพ VSD, pulmonary stenosis, overriding aorta บน VSD, ventricular hypertrophy การสลับที่ระหว่างหลอดเลือดแดงใหญ่กับหลอดเลือดแดงพัลโมนารี กลไกการไหลเวียนเลือด เลือดจากซีกขวาไปสู่ซีกซ้าย ปริมาณเลือดไปปอดน้อย เลือดดำถูกสูบฉีดผ่านหลอดเลือดแดงใหญ่ไปเลี้ยงร่างกาย และเลือดแดงสูบฉีดผ่านหลอดเลือดแดงไปฟอกที่ปอด เลือดที่ออกไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายจึงเป็นเลือด ที่มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ การประเมินปัญหา ๑ ซักประวัติ ๒ ลักษณะอาการ ทางคลินิค อาการน้อย : สีผิวคล้ำ อาการรุนแรง - สีผิวคล้ำและเล็บเขียวเป็นปุ้ม - การเจริญเติบโตช้า เลี้ยงไม่โต ตัวเล็ก ดูดนมช้า กินยาก หายใจเร็ว หอบลึก หัวใจเต้นช้าลง เป็นลม หมดสติเมื่อทำกิจกรรม ร้องไห้ - ติดเชื้อ / ไข้ ติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อย / หัวใจวาย อาการแสดงที่มีในทุกราย - หายใจเร็ว ตื้อ หายใจลำบาก หัวใจเต้นเร็ว - ผิวหนังมีสีเขียว นิ้วปุ้ม รับประทานอาหารได้น้อย - blue-baby syndrome อาจถึงแก่กรรมตั้งแต่แรกเกิด ถ้าไม่มี PDA / VSD / ASD ๓ การตรวจร่างกาย ๔ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ - แกนของหัวใจเอียงไปทางขวา (หัวใจห้องล่างขวาโต) - บางรายหัวใจห้องบนขวาโต แรงดันเลือดในปอดต่ำ - รูปร่างหัวใจเหมือนรองเท้าบูท (Boot shape) - ฮีโมโกลบินและฮีมาโตคริตสูงมาก ๖๐-๗๐ % ภาพรังสีทรวงอก: Egg on side (รูปร่างของหัวใจคล้ายไข่ท่าตะแคงเกิดจากหลอดเลือดใหญ่ทั้งสองอยู่ซ้อนกันและขั้วหัวใจแคบ-ยาว) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
28
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ลักษณะของโรค ชนิดมีอาการเขียว TOF TGV การรักษา การรักษาด้วยยา - Diazepam (Chloral Hydrate) เพื่อแก้ไข Hypoxic spell และจัดเด็กให้อยู่ในท่านั่งยอง ๆ (knee chest position) - Propranolal เพื่อลดการอุดกั้นของลิ้นพัลโมนารี่ ยาต้องห้าม ได้แก่ epinephrine, isoproterenol และ cardiac glycoside การผ่าตัด ๑. palliative surgery วิธี modified Blalock-Taussing Shunt คือ ทำทางเชื่อมให้เลือดไปปอดได้ ๒. Corrective surgery โดย infundibulectomyและปิด VSD การักษาด้วยยา - prostaglandin E เพื่อป้องกันไม่ให้ ductus ateriosus ปิด - Arterial Switch Procedure คือ การสับเปลี่ยนทางเดิน หลอดเลือดแดง และหลอดเลือดพัลโมนารีให้อยู่ในภาวะปกติ - Intra-aterial Baffle Repairs คือ การผ่าตัดซ่อมแซมภายใน หลอดเลือดแดง - Rastelli Procedure คือ การทำผ่าตัดปิดรูทะลุ ระหว่างหัวใจห้องล่างซ้าย-ขวา ภาวะแทรกซ้อน - cerebral palsy, infective endocarditis, polycythemia, cerebral abscess ระบบการทำหน้าที่ของหัวใจห้องล่างขวาผิดปกติ หรือมีอาการแสดงของหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ (arrhythmia) การพยาบาล -ร่างกายและสมองขาดออกซิเจนจากภาวะ polycythemia (ระวังภาวะขาดน้ำจะทำให้เลือดข้นมากขึ้น) -การติดเชื้อที่สมอง ควรสังเกตอาการทางสมอง -การติดเชื้อในร่างกาย -ภาพลักษณ์ -ครอบครัวขาดความรู้ / วิตกกังวล ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
29
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจแต่กำเนิด (Left to Right Shunt / ชนิดไม่มีอาการเขียว) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
30
1. ปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง / การกำซาบเลือดของเนื้อเยื่อลดลง
1. ปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง / การกำซาบเลือดของเนื้อเยื่อลดลง วัดสัญญาณชีพ ให้พักผ่อน /ไม่ปล่อยให้ร้องไห้/ออกกำลังกายมาก ลดจำนวนเกลือในอาหาร/ จำกัดน้ำ (50 – 80%) รักษาอุณหภูมิกายให้คงที่ ให้ยา digitalis (ออกฤทธิ์ เพิ่มแรงบีบ ลด HR) งด ถ้า HR < 100/ min (อายุต่ำกว่า 1 ปี) HR < 80 / min (อายุมากกว่า 1 ปี) ปัสสาวะไม่น้อยกว่า 1 มล./กก./ชม. ติดตามค่า Electrolytes ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
31
2. รูปแบบการหายใจขาดประสิทธิภาพ
สังเกตและประเมินการทำงานของปอด จัดท่านอน semi fowler’s position เพื่อให้ปอดขยาย ดูแลให้พักผ่อน ให้ออกซิเจนอย่างเหมาะสม ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ให้นมจำนวนน้อยแต่บ่อยครั้ง พักระหว่างมื้อ เลือกจุกนมนุ่ม ขนาดรูพอเหมาะ เพื่อไม่ต้องใช้แรงดูดมากเกินไป ถ้าเหนื่อยใส่สายยางให้อาหาร ติดตามค่าCBC, H/C, O2, CO2, CXR ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
32
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
อัตราการหายใจ การหายใจปกติ อัตรา-จังหวะสม่ำเสมอ -ทารก ๐ – ๒ เดือน ไม่เกิน ๖๐ ครั้ง/นาที -อายุ ๒ เดือน – ๑ ปี ไม่เกิน ๕๐ ครั้ง/นาที -อายุ ๑ – ๕ ปี ไม่เกิน ๔๐ ครั้ง/นาที -อายุ ๕ – ๘ ปี ไม่เกิน ๓๐ ครั้ง/นาที ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
33
3. มีโอกาสติดเชื้อที่หัวใจ infective endocarditis
สังเกตและประเมินภาวะติดเชื้อ (ไข้) ความสะอาดช่องปาก ฟัน แยกผู้ป่วยจากกับผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินหายใจ ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Wbc, N, L) สอนการป้องกันการติดเชื้อ (ล้างมือ, ผูกมาสค์, ชุมชน) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
34
4. ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ ต่อความต้องการของร่างกาย
4. ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ ต่อความต้องการของร่างกาย ขณะดูดนมให้พักเป็นระยะๆ แบ่งให้นมบ่อยครั้งเช่น 2-3 ชั่วโมง เลือกจุกนมมีขนาดเหมาะสม อุ้มเด็กให้ศีรษะสูง แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีคุณค่า ติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง แนะนำ/ให้กำลังใจแก่บิดามารดาเรื่อง การให้อาหาร ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
35
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ความต้องการพลังงานของเด็กแต่ละวัย (แคลอรี/กก./วัน) - preterm baby ๑๑๐ – ๑๔๐ - newborn – ๑ ปี ๑๐๐ – ๑๒๐ - child ๑ – ๑๘ ปี ไม่เกิน ๘๔ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
36
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
5. มีน้ำคั่งในร่างกาย Record I/O (เด็กเล็กชั่งผ้าอ้อม 1 gm = 1 ml) จำกัดปริมาณน้ำ 50-80% ของที่ร่างกายต้องการ จำกัดเกลือในอาหาร งดรับประทานอาหารเค็ม ชั่งน้ำหนักทุกวัน สังเกตอาการบวม นอนราบไม่ได้ ให้ยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา ติดตามค่าโซเดียมและโปแตสเซียม สอนบิดามารดาบันทึกปริมาณน้ำ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
37
6. ความสามารถในการทำกิจกรรมลดลง
สังเกตและประเมินพัฒนาการ ความสามารถด้านร่างกาย ควรให้รับประทานอาหารช้าๆ พักระหว่างดูดนม กระตุ้นให้ทำกิจกรรมตามความสามารถและเหมาะสมกับวัย กระตุ้นให้เข้าร่วมกลุ่มกับเพื่อนไม่แยกตนเอง ตรวจวัดและบันทึกสัญญาณชีพก่อนและหลังทำกิจกรรม แนะนำ/ให้กำลังใจบิดามารดาในการอบรมเลี้ยงดู ที่เหมาะสม โดยวางแผนในการจัดกิจกรรมและกระตุ้นพัฒนาการเด็ก ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
38
7. มีโอกาสเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ได้บ่อย
7. มีโอกาสเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ได้บ่อย วัดสัญญาณชีพ นอนแยกจากโรคติดเชื้ออื่นๆ การล้างมือก่อน/หลังการสัมผัสผู้ป่วย ไม่พาเด็กไปในที่แออัด การติดตามผลเลือด- เสมหะ, ฟังปอด , ผล CXR ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
39
8. มีโอกาสเกิดภาวะพิษจากดิจิตาลิส ฯ
นับชีพจรหรืออัตราการเต้นของหัวใจให้เต็ม 1 นาทีก่อนให้ยา ดูแลให้ยาอย่างถูกต้องตามหลักการให้ยา ไม่ควรผสมยากับนม ถ้าเป็นยาน้ำอาจผสมกับน้ำผลไม้หรือน้ำองุ่นเพื่อลดรสขมของยาและป้องกันอาการระคายเคืองของทางเดินอาหาร หากผู้ป่วยอาเจียนหลังให้ยาประมาณ 5-10 นาที ควรเตรียมให้ยาใหม่ในมื้อนั้น หากอาเจียนนานกว่านี้ ไม่ต้องให้ยาใหม่ สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะพิษจากดิจิตาลิส เช่น คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร วิงเวียนศีรษะ หัวใจเต้นช้า หรือเต้นไม่สม่ำเสมอ สังเกตอาการของโพแทสเซียมต่ำ เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง ความดันเลือดต่ำ หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ หัวใจเต้นเร็ว/เต้นช้า กระสับกระส่าย ง่วงซึม ติดตามผล serum electrolyte เนื่องจากถ้าระดับโพแทสเซียมต่ำจะทำให้เกิดภาวะพิษจากดิจิตาลิสได้ง่ายขึ้น ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
40
9. มีการเปลี่ยนแปลงทางอัตมโนทัศน์ (วัยเรียน-วัยรุ่น)
9. มีการเปลี่ยนแปลงทางอัตมโนทัศน์ (วัยเรียน-วัยรุ่น) กระตุ้นให้เด็กบอกความรู้สึกเกี่ยวกับสภาวะที่เจ็บป่วย รับฟังความรู้สึกที่เด็กพูดและตอบคำถามด้วยความจริงใจ พยาบาลวางแผนกับบิดามารดาในการทำกิจกรรม จัด group support หากิจกรรมเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่งเสริม/ให้กำลังใจเพื่อให้เด็กภูมิใจและกล้าทำกิจกรรมต่อไป ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
41
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
10. บิดามารดามีความวิตกกังวล เนื่องจาก บุตรเจ็บป่วยเรื้อรัง/ไม่มีประสบการณ์ในการดูแลบุตร เปิดโอกาสให้บิดามารดาและเด็กได้ระบายความรู้สึก อธิบายสิ่งที่ไม่เข้าใจและให้กำลังใจในการดูแลบุตร วางแผนร่วมกับบิดามารดา ในการเตรียมสภาพจิตใจก่อนตรวจ/ผ่าตัด ประเมินผลการให้การพยาบาลเป็นระยะ จัดกลุ่มบิดามารดาที่มีปัญหาคล้ายคลึงกันได้พูดคุยกัน (group support) ให้ความมั่นใจแก่บิดามารดาในการดูแลเด็ก จัดหาเอกสารประกอบคำอธิบายในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
42
การพยาบาลเด็กป่วยโรคหัวใจแต่กำเนิด
(Right to Left Shunt / ชนิดมีอาการเขียว) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
43
1. มีโอกาสเกิดอันตรายจากภาวะหมดสติ
สังเกตอาการนำของภาวะหมดสติคือ หายใจเหนื่อยหอบมากขึ้น เขียว หัวใจเต้นเร็ว ตัวเย็น แขนขาเย็น ชีพจรส่วนปลายเบาลง ปัสสาวะออกน้อย (<1 ml/kg/hr) ติดตามการหายใจผิดปกติ เช่น หายใจเร็ว แรง อกบุ๋ม ปีกจมูกบาน เขียวส่วนปลาย ริมฝีปาก จำกัดกิจกรรมที่ต้องออกแรงมาก วางแผนให้การพยาบาลโดยรบกวนน้อยที่สุด ป้องกันท้องผูก รับประทานอาหารที่มีกากใย เช่น ผักกาดขาว ผักบุ้ง กล้วย มะละกอ สับปะรด เป็นต้น ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
44
1. มีโอกาสเกิดอันตรายจากภาวะหมดสติ (ต่อ)
ถ้า Hct < 50% ให้ยา ferrous sulfate / อาหารธาตุเหล็กสูงเช่นไข่แดง นม ตับ ผักใบเขียว อาหารโปรตีนสูงเช่น ไข่ นม เนื้อสัตว์ ถั่ว หยุดกิจกรรมที่ทำให้เกิดภาวะหมดสติ ช่วยให้เด็กสงบเร็วที่สุดเช่น ปลอบโยนให้หยุดร้องไห้ ถ้าไม่สงบ รายงานแพทย์ให้ยา chloral hydrate หรือ diazepam ถ้าพบหมดสติจัดท่า knee chest position จะช่วยให้อาการรุนแรงน้อยลง ติดตาม ABG และ O2 sat ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
45
1. มีโอกาสเกิดอันตรายจากภาวะหมดสติ (ต่อ)
1. มีโอกาสเกิดอันตรายจากภาวะหมดสติ (ต่อ) ดูแลให้ O2 เพื่อช่วยเพิ่มปริมาณ O2 ในพลาสมา อาการไม่ดีขึ้น รายงานแพทย์ให้ยา propanolol เพื่อลดการหดเกร็งของ อินฟันดิบูลั่ม หรือยาเพิ่มความดันเลือด และหลังให้ยาวัด v/s เป็นระยะๆ เตรียมร่างกายจิตใจเพื่อผ่าตัด modified blalock-taussing etc. อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจกลไกภาวะหมดสติ การสังเกตอาการ และ การช่วยเหลือบุตรโดยจัดท่าที่เหมาะสม ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
46
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
47
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
48
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
2. มีโอกาสเกิดภาวะอุดตันของหลอดเลือดฝอย ในสมอง เนื่องจาก ภาวะเลือดข้น (polycythemia) กระตุ้นให้ออกกำลังกายเบาๆ ไม่ควรนอนท่าเดียวนานๆ ป้องกันไม่ให้มีภาวะขาดน้ำ เพราะจะทำให้เลือดข้นยิ่งขึ้น คำนวณปริมาณน้ำที่ควรได้รับอย่างเพียงพอ ถ้ากินไม่ได้ ให้ IV สังเกต/บันทึก Neuro sign (NS) อาการอุดตันของหลอดเลือดฝอยในสมองเช่น ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรง ยกแขนไม่ได้ ประเมินอาการทางระบบประสาท การตอบสนองต่อสิ่งเร้า ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
49
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
2. มีโอกาสเกิดภาวะอุดตันของหลอดเลือดฝอย ในสมอง เนื่องจาก ภาวะเลือดข้น (polycythemia) (ต่อ) สังเกตอาการความดันในกะโหลกศีรษะสูง คือ กระวนกระวาย ปวดศีรษะ อาเจียน ซึม เบื่ออาหาร เส้นรอบศีรษะโต กระหม่อมโป่งตึง(ทารก) V/S เปลี่ยนแปลง BP สูง หัวใจเต้นช้า ชีพจรช้า Pulse pressure กว้าง ติดตาม Hct ถ้า > 65% หรือ 70% ร่วมกับมีอาการเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ เช่น ปวด มึนศีรษะ ต้องรายงานแพทย์ แนะนำญาติเกี่ยวกับการสังเกตอาการผิดปกติทางระบบประสาทเช่น ไข้ ปวดศีรษะ อาเจียน ซึมลง เบื่ออาหาร กระหม่อมโป่งตึง ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
50
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
3. มีโอกาสเกิดการติดเชื้อในสมอง (brain abscess) และการอักเสบของเยื่อบุหัวใจชั้นใน (endocarditis) เนื่องจากการ by pass ของเลือดไม่ผ่านการฟอกที่ปอด สังเกตและประเมินการติดเชื้อระบบ หายใจ / ปัสสาวะ /สมอง วัด v/s q 4 hr ให้สารน้ำ สารอาหารอย่างเพียงพอ ลดภาวะเลือดข้น ดูแลสภาพแวดล้อมให้สะอาด แยกเด็กจากเด็กโรคติดเชื้อ แยกอุปกรณ์ ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
51
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
3. มีโอกาสเกิดการติดเชื้อในสมอง (brain abscess) และการอักเสบของเยื่อบุหัวใจชั้นใน (endocarditis) (ต่อ) ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผล CXR สอนสุขศึกษาแก่บิดามารดาเรื่องการป้องกันการติดเชื้อ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
52
4. มีความเครียดต่อการถูกจำกัดกิจกรรม / อยู่รพ.
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วย เปิดโอกาสให้ซักถามข้อมูลที่ได้รับ อธิบายให้เห็นถึงความจำเป็นการถูกจำกัดกิจกรรม ให้บิดามารดาได้เข้าเยี่ยมผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ จัดกิจกรรมการเล่นที่เหมาะสมกับวัย เช่นอ่านการ์ตูน ระบายสี วาดภาพ ต่อภาพ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
53
5. บิดามารดามีความวิตกกังวลต่อการเจ็บป่วยและการดูแลบุตรเมื่อกลับบ้าน
5. บิดามารดามีความวิตกกังวลต่อการเจ็บป่วยและการดูแลบุตรเมื่อกลับบ้าน พักผ่อนอย่างเพียงพอ ออกกำลังกายแขนขาเบาๆ อาหารรสจืดหรือเค็มน้อย เป็นอาหารที่มีแคลอรีและโปรตีนสูง การป้องกันการเป็นไข้รูห์มาติคซ้ำ การได้รับยาตามแผนการรักษา เช่น ASA หรือการฉีด benzathine penicillin G. sodium เข้ากล้ามทุกเดือน การพาบุตรมาตรวจตามนัดทุกครั้ง และสังเกตอาการผิดปกติที่ควรรีบมาพบแพทย์ เช่น มีไข้ เจ็บคอ หัวใจเต้นแรงเร็ว หายใจเร็ว หอบ เขียว ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
54
6. ปริมาณเลือดไปเลี้ยงร่างกายต่อนาทีลดลง
Absolute bed rest เพื่อลดความต้องการใช้ออกซิเจน จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงประมาณ องศา ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา ให้ออกซิเจตามแผนการรักษาในรายที่เหนื่อยหอบ ให้อาหารรสจืดเพื่อลดการสะสมของน้ำและโซเดียมภายในร่างกาย บันทึกปริมาณน้ำและปัสสาวะ ชั่งน้ำหนักทุกวัน ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
55
7. มีภาวะน้ำเกิน เนื่องจากมีการคั่งหรือสะสมของน้ำในร่างกายเพิ่มขึ้น
ดูแลให้ยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา ดูแลอาหารที่มีแคลอรีเพียงพอและรสจืด Record I/O และชั่งน้ำหนัก ประเมินอาการบวม ดูแลรักษาความสะอาดผิวหนัง พลิกตะแคงตัวเปลี่ยนท่าบ่อยๆ เพื่อป้องกันการฉีกขาดของผิวหนัง เนื่องจากอาการบวม ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
56
8. มีโอกาสเกิดพัฒนาการล่าช้า
ประเมินพัฒนาการของเด็ก จัดกิจกรรมการเล่นที่เหมาะกับวัย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการตามวัยของเด็ก จัดให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์/พูดคุยกับเด็กอื่นๆ ที่มีสุขภาพดี เด็กจะเรียนรู้ทักษะทางสังคมจากการติดต่อสื่อสารกับเด็กคนอื่น ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
57
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
9. มีการเปลี่ยนแปลงทางอัตมโนทัศน์ (วัยเรียน-วัยรุ่น) เหมือนกลุ่มไม่เขียวแต่อาการรุนแรงกว่า กระตุ้นให้เด็กบอกความรู้สึกเกี่ยวกับสภาวะที่เจ็บป่วย รับฟังความรู้สึกที่เด็กพูดและตอบคำถามด้วยความจริงใจ พยาบาลวางแผนกับบิดามารดาในการทำกิจกรรม จัด group support หากิจกรรมเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่งเสริม/ให้กำลังใจเพื่อให้เด็กภูมิใจและกล้าทำกิจกรรมต่อไป ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
58
10. มีโอกาสเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจได้บ่อย
รายละเอียดเหมือนเรื่องการพยาบาลผู้ป่วยเด็กชนิดไม่เขียว ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
59
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
11. บิดามารดาและ/ผู้ป่วยเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย / สิ่งแวดล้อมในรพ. ดูรายละเอียดได้จากข้อวินิจฉัยการพยาบาล 8 ในเรื่องการพยาบาลผู้ป่วยเด็กชนิดเลือดไหลลัดจากหัวใจซีกซ้ายไปซีกขวา และข้อวินิจฉัยการพยาบาล 4 ในเรื่องการพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจรูห์มาติค ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
60
12. บิดามารดาขาดความรู้ในการให้ยาแก่ ผู้ป่วยที่บ้าน
12. บิดามารดาขาดความรู้ในการให้ยาแก่ ผู้ป่วยที่บ้าน สอนสาธิตการเตรียมยาและวิธีการให้ยา digitalis, lasix, propranolol etc. ศึกษาและอธิบายผลข้างเคียงของยาในแผ่นพับ/คู่มือ และเบอร์โทรศัพท์ อธิบายอาการนำของภาวะหัวใจวายและอาการอื่นๆ เช่น อ่อนเพลียกระสับกระส่าย ดูดนมลำบาก / เหนื่อย ไอ หายใจลำบาก บวม ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
61
13. เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
การให้นมในเด็กเล็ก ดูดนมทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง เลือกจุกนมที่มีขนาดเหมาะสม เหนื่อยหอบมาก ให้นม NG/OG/medicine dropper/syringe ทางปาก บางรายให้นมแคลอรีสูง cal/OZ medium chain triglyceride: MCT oil (1 ml = 8.4 แคลอรี) เพิ่มปริมาณแคลอรีทีละน้อยเช่น 2 แคลอรี/ออนซ์/วัน เพื่อป้องกันอาการท้องเสียและปริมาณนมที่มากเกินไป ชั่งน้ำหนักทุกวัน ประเมินการเจริญเติบโต ต้องแยกจากอาการบวม ประเมินอาการที่อาจสูญเสียพลังงานเช่น ตัวร้อน มีไข้ มีการติดเชื้อ /ท้องเสีย ต้องรีบให้การช่วยเหลือทันที ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
62
สรุป แนวคิดหลัก Congenital heart diseases
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
63
Acyanotic heart diseases.
HF VSD ASD PDA ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
64
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
65
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Cyanotic heart diseases TOF TGV BRAIN ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
66
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
67
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
บรรณานุกรม กาญจนา ศิริเจริญวงศ์.(2544). เอกสารประกอบการสอนเรื่อง การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการไหลเวียนเลือด. ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์. วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์.สำนักการแพทย์.กรุงเทพมหานคร. วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์. อ้างใน บุญเพียร จันทวัฒนา และคณะ บรรณาธิการ. (2552) ตำราการพยาบาลเด็ก เล่ม 2. กรุงเทพฯ: พรี-วัน. วัชระ จามจุรีรักษ์ ธาริณี เบญจวัฒนานันท์ สุนันทา สวรรค์ปัญญาเลิศและพรรณทิพา โพธิแสงตา (บรรณาธิการ). (2004).5th BGH Critical Care for Nurse. กรุงเทพมหานคร: ส.รุ่งทิพย์ออฟเซท. สุนทรี รัตนชูเอก.(2555). คู่มือการดูแลผู้ป่วยเด็กทางโภชนาการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพ: ชัยเจริญ Betz,CL.,& Sowden, LA. (2004). MOSBY’S PEDIATRIC NURSING REFERENCE. 5thed. St Louis, Missouri: Elsevier. Brenna, LB. (2005). Pediatric Nursing: Incredibly Easy. Philadelphia: Lippincott :Williams & Wilkins. Goldbloom, RB. (2011). Pediatric clinical skills. 4th ed. Philadelphia: Elsevier. Kliegman,RM., Stanton,BF.,St Geme,JW.,& Schor,NF. (2016). Nelson TEXTBOOK of PEDIATRICS. 20th ed. Philadelphia: Elsevier. Marcdante, KJ., Kliegman, RM.,Jenson, HB. & Behrman, RE. (2011). Nelson essentials of pediatrics. 6th ed. Philadelphia: Elsevier. South, M. & Isaacs, D. (2012). Practical paediatrics. 7th ed. China: Clearance center. Usatine, RP.,Sabella,C.,Smith,MA.,Mayeaux, EJ.,Chumley, HS. & Appachi, EA. (Eds.) (2015). THE COLOR ATLAS OF PEDIATRICS. New York: McGraw Hill. ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.