งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง
มวล แรง และ กฎการเคลื่อนที่ ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง

2

3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน การใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เมนูหลัก เลือกคลิก กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน การใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

4 ชุดที่ 5 กลับ เมนูหลัก ไป เมนูรอง 5

5 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน
5 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน การทดลอง : F กับ a การทดลอง : m กับ a กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 3 ของนิวตัน สรุปกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ถาม – ตอบ ตรวจสอบความเข้าใจ (4) กลับ เมนูหลัก ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

6 การเคลื่อนที่ของแผ่นโลหะฉากบนรางของ air track
N กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน N N F = 0 mg กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

7 ตราบเท่าที่แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุยังคงมีค่าเป็นศูนย์
กฎข้อที่ 1 : ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์ วัตถุจะรักษาสภาพเดิมของการเคลื่อนที่ไว้ได้ ตราบเท่าที่แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุยังคงมีค่าเป็นศูนย์  วัตถุที่อยู่นิ่งจะอยู่นิ่งตลอดไป  วัตถุที่มีความเร็วคงตัว จะมีความเร็วคงตัวตลอดไป กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

8 เมื่อใช้แรงดีดแผ่นกระดาษเหรียญจะเคลื่อนที่อย่างไร
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน แก้วน้ำ กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

9 แรงดีด mg N ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง กลับ กลับ
เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

10 ถ้าปล่อยดินน้ำมันตกจากที่สูงลงสู่พื้น
ถ้าปล่อยดินน้ำมันตกจากที่สูงลงสู่พื้น ตั้งแต่ปล่อยจนตกถึงพื้น ดินน้ำมันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

11  การเปลี่ยนแปลงของดินน้ำมัน
แรงลัพธ์ ทำให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่างหรือ สภาพการเคลื่อนที่ สภาพการเคลื่อนที่ : นิ่ง  เคลื่อนที่มีความเร่ง  นิ่ง F = mg  0 F = 0 F = 0 mg รูปร่าง : กลมๆ  ส่วนล่างแบน ส่วนบนรีๆ ถูกแรงปฏิกิริยาตั้งฉากจากพื้น (N) กระทำ N กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

12 การทดลอง : ความสัมพันธ์ระหว่าง แรง กับ ความเร่ง
จุดประสงค์ : ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง แรง(F) กับ ความเร่ง(a) เมื่อ มวล (m) คงตัว กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

13 หนุนเพื่อชดเชยแรงเสียดทาน
วิธีทดลอง : ตอนที่ 1 การชดเชยแรงเสียดทาน รถหยุดเพราะ ? เคาะ หนุนเพื่อชดเชยแรงเสียดทาน กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

14 เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
แถบกระดาษ วิธีทดลอง : เชือก ตอนที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่าง F กับ a เครื่องเคาะสัญญาณเวลา หม้อแปลงไฟโวลต์ต่ำ นอต กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

15    ทดลอง : ความสัมพันธ์ระหว่าง F กับ a นอต 1 ตัว
กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

16    ทดลอง : ความสัมพันธ์ระหว่าง F กับ a นอต 2 ตัว นอต 1 ตัว
กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

17    ทดลอง : ความสัมพันธ์ระหว่าง F กับ a นอต 3 ตัว นอต 2 ตัว
นอต 1 ตัว กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

18    ทดลอง : ความสัมพันธ์ระหว่าง F กับ a นอต 4 ตัว นอต 3 ตัว
นอต 2 ตัว นอต 1 ตัว กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

19 ช่วงจุด OA OB OC OD OE OF OG 0.230.470.720.971.241.511.80
น้อต 4 ตัว O A B C D E F G # 4 น้อต 3 ตัว O A B C D E F G # 3 น้อต 2 ตัว O A B C D E F G H # 2 น้อต 1 ตัว A B C D E F G H O # 1 ข้อมูลการทดลอง : ช่วงจุด ระยะทาง (cm) # 1 # 2 # 3 # 4 OA OB OC OD OE OF OG กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

20 หาอัตราเร็วขณะหนึ่งที่จุดต่างๆ บนแต่ละแถบ 5 50
วิเคราะห์ข้อมูล : # 4 หาอัตราเร็วขณะหนึ่งที่จุดต่างๆ บนแต่ละแถบ น้อต 4 ตัว 5 50 ตัวอย่างการคำนวณ ที่จุด E (ที่เวลา s) O vE = vDF A B sDF tDF C = D sOF – sOD tDF – tOD E E F 1.51 – 0.97 = cm/s 2/50 กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ G

21 เวลาที่จุดกึ่งกลางช่วง อัตราเร็วที่จุดกึ่งกลางช่วง (cm/s)
# 4 ช่วงจุด เวลาที่จุดกึ่งกลางช่วง ( x S ) อัตราเร็วที่จุดกึ่งกลางช่วง (cm/s) # 1 น้อต 1 ตัว # 2 น้อต 2 ตัว # 3 น้อต 3 ตัว # 4 น้อต 4 ตัว OB AC BD CE DF EG 1 2 3 4 5 6 O A B C D E F G 1 50 น้อต 4 ตัว กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

22 กราฟความเร็ว-เวลา ของแถบกระดาษ
v (cm/s) ความชัน คือ ความเร่ง v 10 # 4 a4 = = v t 5/50 # 3 a4=1.00 m/s2 # 2 # 1 a3=0.71 m/s2 t a2=0.48 m/s2 a1=0.22 m/s2 t X (1/50) s กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

23 แรง ความเร่ง (m/s2) 1 F 2 F 3 F 4 F 0.22 0.48 0.71 1.00
a แรง ความเร่ง (m/s2) 1 F 2 F 3 F 4 F 0.22 0.48 0.71 1.00 (m/s2) 1F 2F 3F 4F แรง สรุปผลการทดลอง ความเร่งแปรผันตรงกับแรง กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

24 การทดลอง : ความสัมพันธ์ระหว่าง มวล กับ ความเร่ง
จุดประสงค์ : ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง มวล(m) กับ ความเร่ง(a)เมื่อ แรง(F) คงตัว กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

25 รถมวล m เหล็กมวล m รวมมวล = 2 m
ทดลอง : รถมวล m เหล็กมวล m รวมมวล = 2 m ความสัมพันธ์ระหว่าง m กับ a แถบกระดาษเดิม รถมวล m ใช้นอต 4 ตัว ดึง มวล 2 m มวล m กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

26    ทดลอง : มวล 3 m ความสัมพันธ์ระหว่าง m กับ a มวล 3 m มวล 2 m
กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

27    ทดลอง : มวล 4 m ความสัมพันธ์ระหว่าง m กับ a มวล 4 m มวล 3 m
กลับ เมนูหลัก มวล m กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

28 เขียนชื่อจุด วัดระยะทางบันทึกข้อมูล
มวล 3 m มวล m มวล 2 m มวล 4 m A B C D E F G H O # 4 # 5 # 6 # 7 เขียนชื่อจุด วัดระยะทางบันทึกข้อมูล คำนวณอัตราเร็วขณะหนึ่งที่จุดต่างๆ เขียนกราฟความเร็ว-เวลา หาความเร่งจากความชัน สรุปความสัมพันธ์มวลกับความเร่ง กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

29 ผลการคำนวณ : มวล ( x m ) ความเร่ง (m/s2) ส่วนกลับของมวล ( x m-1) 1 2 3
4 1 0.5 0.33 0.25 กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

30 กราฟความเร่ง-ส่วนกลับของมวล a 1 m a (m/s2)
1 0.5 0.33 0.25 1 m 0.25 0.33 0.50 1.00 สรุปการทดลอง : ความเร่งแปรผกผันกับมวล กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

31 ขนาดความเร่ง แปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์
กฎข้อที่ 2 : ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะเคลื่อนที่อย่างมีความเร่ง โดย ความเร่งมีทิศเดียวกับแรงลัพธ์ และ  เมื่อ m คงตัว a  F ขนาดความเร่ง แปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์  เมื่อ F คงตัว a  1 m ขนาดความเร่ง แปรผกผันกับมวลของวัตถุ กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

32 สปริงและยางรัดของ ยืดออกทั้งคู่
ถ้าดึงยางรัดของที่คล้องไว้กับสปริง ไปทางขวา รูปร่างของยางรัด และสปริงจะเปลี่ยนไปอย่างไร กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

33 ฟองน้ำยุบตัว แท่งกาวโค้งงอ
ถ้าเคลื่อนแท่งกาว ไปกดที่ฟองน้ำ รูปร่างของฟองน้ำ และแท่งกาว จะมีลักษณะอย่างไร ฟองน้ำยุบตัว แท่งกาวโค้งงอ กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

34 สปริงและยางรัดของ ยืดออกทั้งคู่
ฟองน้ำยุบตัว แท่งกาวโค้งงอ กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

35 แต่ละวัตถุต่างส่งแรงกระทำต่อกัน
แรงกิริยา - แรงปฏิกิริยา “แรงคู่กิริยา” ฟองน้ำยุบตัว แท่งกาวโค้งงอ แต่ละวัตถุต่างส่งแรงกระทำต่อกัน สปริงและยางรัดของ ยืดออกทั้งคู่ “กระทำคนละวัตถุ” กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

36 อ่านค่าแรงดึงตาชั่งได้เท่ากัน
ถ้ายึดตาชั่งด้านซ้ายไว้แล้วออกแรงดึงตาชั่งด้านขวาไปทางขวา จะอ่านค่าตาชั่งได้ต่างกันอย่างไร อ่านค่าแรงดึงตาชั่งได้เท่ากัน กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

37 อ่านค่าแรงดึงตาชั่งได้เท่ากัน
สปริงและยางรัดของ ยืดออกทั้งคู่ ฟองน้ำยุบตัว แท่งกาวโค้งงอ อ่านค่าแรงดึงตาชั่งได้เท่ากัน “แรงคู่กิริยา” สองแรงคู่กิริยานี้ เกิดพร้อมกัน สองแรงคู่กิริยานี้ มีทิศตรงกันข้าม สองแรงคู่กิริยานี้ มีขนาดเท่ากัน กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

38 มีขนาดแรงเท่ากัน แต่ทิศตรงกันข้าม
กฎข้อที่ 3 : ทุกแรงกิริยาย่อมมีแรงปฏิกิริยา สองแรงคู่กิริยานี้ เกิดพร้อมกัน กระทำต่อวัตถุคนละก้อน มีขนาดแรงเท่ากัน แต่ทิศตรงกันข้าม กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

39 สรุปกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5

40 ตราบเท่าที่แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุยังคงมีค่าเป็นศูนย์
กฎข้อที่ 1 : ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์ วัตถุจะรักษาสภาพเดิมของการเคลื่อนที่ไว้ได้ ตราบเท่าที่แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุยังคงมีค่าเป็นศูนย์  วัตถุที่อยู่นิ่งจะอยู่นิ่งตลอดไป  วัตถุที่มีความเร็วคงตัว จะมีความเร็วคงตัวตลอดไป กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

41 ตราบเท่าที่แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุยังคงมีค่าเป็นศูนย์
กฎข้อที่ 1 : ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์ วัตถุจะรักษาสภาพเดิมของการเคลื่อนที่ไว้ได้ ตราบเท่าที่แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุยังคงมีค่าเป็นศูนย์  วัตถุที่อยู่นิ่งจะอยู่นิ่งตลอดไป V = 0 F = 0  วัตถุที่มีความเร็วคงตัว จะมีความเร็วคงตัวตลอดไป V = constant กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

42 ขนาดความเร่ง แปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์
กฎข้อที่ 2 : ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะเคลื่อนที่อย่างมีความเร่ง โดย ความเร่งมีทิศเดียวกับแรงลัพธ์ และ  เมื่อ m คงตัว a  F ขนาดความเร่ง แปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์  เมื่อ F คงตัว a  1 m ขนาดความเร่ง แปรผกผันกับมวลของวัตถุ กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

43 ขนาดความเร่ง แปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์
กฎข้อที่ 2 : ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะเคลื่อนที่อย่างมีความเร่ง โดย ความเร่งมีทิศเดียวกับแรงลัพธ์ และ a  F m  เมื่อ m คงตัว a  F ขนาดความเร่ง แปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์ F  m a  เมื่อ F คงตัว a  1 m ขนาดความเร่ง แปรผกผันกับมวลของวัตถุ F = k m a k : ค่าคงตัวการแปรผัน กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

44 ในระบบ SI : แรงมีหน่วยเป็น นิวตัน (N) โดย หน่วย N = kg m/s2
กฎข้อที่ 2 : ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะเคลื่อนที่อย่างมีความเร่ง โดย ความเร่งมีทิศเดียวกับแรงลัพธ์ และ และ แรง 1 N คือ แรงที่ทำให้มวล 1 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 1 m/s2 ขนาดความเร่ง แปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์ F = m a จาก a ทิศเดียวกับ F ในที่นี้ 1 N = k (1 kg )(1 m /s2) F = k m a ขนาดความเร่ง แปรผกผันกับมวลของวัตถุ F = m a ดังนั้น k = 1 กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

45 มีขนาดแรงเท่ากัน แต่ทิศตรงกันข้าม
กฎข้อที่ 3 : ทุกแรงกิริยาย่อมมีแรงปฏิกิริยา สองแรงคู่กิริยานี้ เกิดพร้อมกัน กระทำต่อวัตถุคนละก้อน มีขนาดแรงเท่ากัน แต่ทิศตรงกันข้าม กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

46 กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน
m1 m2 F12 F21 กฎข้อที่ 3 : ทุกแรงกิริยาย่อมมีแรงปฏิกิริยา สองแรงคู่กิริยานี้ เกิดพร้อมกัน กระทำต่อวัตถุคนละก้อน ขนาด F12 = F21 มีขนาดแรงเท่ากัน แต่ทิศตรงกันข้าม ขนาดและทิศ F12 = - F21 กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

47 กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน มีขนาดแรงเท่ากัน แต่ทิศตรงกันข้าม
m1 m2 F12 F21 ขนาด F12 = F21 สองแรงคู่กิริยา ขนาดและทิศ F12 = - F21 มีขนาดแรงเท่ากัน แต่ทิศตรงกันข้าม กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

48 ต้องใช้เครื่องหมายลบ มีขนาดแรงเท่ากัน แต่ทิศตรงกันข้าม
A K J B A = B - K ทำไม ต้องใช้เครื่องหมายลบ J = - K F12 F21 สองแรงคู่กิริยา F12 = - F21 มีขนาดแรงเท่ากัน แต่ทิศตรงกันข้าม กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

49 มีขนาดแรงเท่ากัน แต่ทิศตรงกันข้าม
A K J B กฎข้อที่ 3 : ทุกแรงกิริยาย่อมมีแรงปฏิกิริยา สองแรงคู่กิริยานี้ เกิดพร้อมกัน กระทำต่อวัตถุคนละก้อน A = B - K J = - K F12 F21 สองแรงคู่กิริยา F12 = - F21 มีขนาดแรงเท่ากัน แต่ทิศตรงกันข้าม กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

50 ถาม – ตอบ ตรวจสอบความเข้าใจ (4)
คำถาม : เข็มขัดนิรภัย ที่ติดตั้งไว้ในรถยนต์ มีประโยชน์อย่างไร คำตอบ : ถาม – ตอบ ตรวจสอบความเข้าใจ (4) เข็มขัดนิรภัย ติดไว้เพื่อยึดตัวผู้โดยสารหรือ ผู้ขับ ไม่ให้เลื่อนไปกระแทกสิ่งที่อยู่ข้างหน้า ในกรณีที่รถหยุดทันทีทันใด กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

51 คำถาม เบาะพิงหลังสำหรับผู้ขับรถยนต์ ถ้าเอาออก ผู้ขับรถยนต์จะยังคงขับรถได้ตามปกติหรือไม่อย่างไร กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

52 คำตอบ : ในการขับรถยนต์ ทุกครั้งที่เหยียบคันเร่ง หรือเบรก จะเกิดแรงปฏิกิริยาดันกลับกระทำต่อเท้า ดันตัวผู้ขับให้เลื่อนถอยหลัง ซึ่งปกติตัวผู้ขับพิงเบาะจึงอาศัยแรงปฏิกิริยาจากเบาะทรงตัวไว้ได้ ดังนั้น ถ้าเอาเบาะพิงหลังออก ผู้ขับรถยนต์จะขับรถได้ไม่ถนัด เพราะต้องอาศัยการยึดดึงพวงมาลัยในการทรงตัวแทน กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

53 เมื่อใช้แรงดีดแผ่นกระดาษเหรียญจะเคลื่อนที่อย่างไร
แก้วน้ำ กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 5 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

54 ชุดที่ 6 กลับ เมนูหลัก ไป เมนูรอง 6

55 หลักในการใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
6 หลักในการใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ตัวอย่างการใช้กฎอย่างง่าย : น้ำหนัก ตัวอย่างการใช้ กฎข้อที่ 1, 2 , 3 ตัวอย่างที่ 1 ตัวอย่างที่ 2 ตัวอย่างที่ 3 ตัวอย่าง โจทย์ประยุกต์ ตัวอย่างที่ 4 ตัวอย่างที่ 5 กลับ เมนูหลัก ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

56 หลักในการใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กำหนด body (สิ่งที่ถูกแรงกระทำ) แล้วเขียนเฉพาะแรงภายนอกที่กระทำต่อ body (ใช้กฎข้อที่ 3 ช่วยในการเขียน แรงภายนอกที่กระทำต่อ body) กฎข้อที่ 3 : แรงกิริยา-ปฏิกิริยา กระทำต่อวัตถุคนละก้อน มีขนาดแรงเท่ากันแต่ทิศตรงกันข้าม กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

57 2. พิจารณาดูสภาพการเคลื่อนที่ของ body แล้วเลือกใช้สมการตามกฎข้อที่ 1 หรือข้อที่ 2
กฎข้อที่ 1 : V = 0  F = 0 V = constant กฎข้อที่ 2 : F  0 F = m a v  0 a  0 กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

58 ตัวอย่างการใช้กฎอย่างง่าย : น้ำหนัก
น้ำหนัก ( Weight , W ) หรือ แรงโน้มถ่วง m W คือ แรงที่โลกดึงดูดวัตถุ เป็น แรงดึงดูดระหว่างมวล ที่โลกกระทำต่อวัตถุ ตาม กฎแรงดึงดูดระหว่างมวล ตัวอย่างการใช้กฎอย่างง่าย : น้ำหนัก g กฎข้อที่ 2 : F = m a ในที่นี้ W = m g กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

59 2.1 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 1 มีหลักดังนี้
กฎข้อที่ 1 : V = 0, V = constant  F = 0 ใช้แกน x, แกนy การหา  F  Fx = 0  F = 0  Fy = 0  F = 0 กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

60 2.1 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 1 (ตัวอย่างที่ 1)  กฎข้อที่ 1 : และ
 F = 0  Fx = 0 และ  Fy = 0  ปลายล่างเชือกผูกทรงกลมมวล m ปลายบนตรึงติดกำแพงลื่น เมื่ออยู่นิ่ง จงหาแรงตึงเชือกและแรงปฏิกิริยาจากกำแพง ( เชือกยาว l ทรงกลมรัศมี r ) T T cos  T sin   Fx = 0 ; T sin  = R R  Fy = 0 ; T cos  = mg mg กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

61 2.1 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 1 (ตัวอย่างที่ 2)  และ กฎข้อที่ 1 :
 F = 0 และ กฎข้อที่ 1 :  มวล m วางอยู่นิ่ง บนพื้นเอียงที่เอียง  กับแนวราบ จงหาแรงเสียดทานและแรงปฏิกิริยาในแนว ตั้งฉากจากพื้นเอียง mg N mg sin  f ; f = mg sin  R mg cos  ; N = mg cos  กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

62 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 มีหลักดังนี้ กฎข้อที่ 2 : a  0 , 
v  0 , a  0 , F  0 F = m a 1.เลือกใช้แกนที่ขนานและตั้งฉากกับความเร่ง  Fx = m ax a และ F ตามแกน x a และ F ตามแกน y  Fx = 0  Fy = 0  Fy = m ay a และ  F ตามแกน‖ a และ  F ตามแกน⊥ กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

63 F แทนค่าแรงเป็น + หรือ - เทียบกับทิศของ a
2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 มีหลักดังนี้ v  0 , a  0 , F  0 กฎข้อที่ 2 : F = m a 2.แทนค่าm ด้วยมวลของ body (สิ่งที่ถูกแรงกระทำ) 3.เลือกใช้ทิศของความเร่งเป็นบวก แรงใดมีทิศ : เดียวกับ a แทน + ตรงข้าม a แทน - a แทนด้วยค่า + เสมอ F แทนค่าแรงเป็น + หรือ - เทียบกับทิศของ a กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

64 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 (ตัวอย่างที่ 3) a  0 ,  กฎข้อที่ 2 :
v  0 , a  0 , F  0 กฎข้อที่ 2 : F = m a  มวล m ถูกปล่อย บนพื้นเอียงลื่นที่เอียง  กับแนวราบ จงหาความเร่งของมวลนี้และความเร็วเมื่อเคลื่อนที่ลงมาเป็นเวลานาน t a mg mg sin  ; mg cos  = N mg cos  N ; mg sin  = m a‖ v = 0 + (g sin ) t กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

65 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 (ตัวอย่างที่ 4)
วางในกระเช้ามวล 0.2 kg จากรูป มีก้อนโลหะมวล 0.8 kg P 30 N ถ้ามีเชือกเบาที่เหมือนกัน 3 เส้น ผูกเป็นสาแหรกกับกระเช้า เมื่อออกแรง P ดึงขึ้นที่ปมเชือก ด้วยขนาดแรง 30 N 37o โดยเชือกทำมุม 37o กับแนวดิ่งทุกเส้น จงหา ก. ความเร่งของก้อนโลหะ ข. แรงที่ก้อนโลหะกดกระเช้า ค. แรงดึงในเชือกแต่ละเส้น กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

66 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 (ตัวอย่างที่ 4) a  0 ,  กฎข้อที่ 2 :
v  0 , a  0 , F  0 กฎข้อที่ 2 : F = m a ก. ก. ความเร่งของก้อนโลหะ  F = m a P 30 N a P – m1g – m2g = (m1+m2) a P – m1g – m2g a = body (m1+m2) 8 N m1g 30 – 8 – 2 Q a = ( ) R 2 N m2g = 20 m/s2 กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

67 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 (ตัวอย่างที่ 4) a  0 ,  กฎข้อที่ 2 :
v  0 , a  0 , F  0 กฎข้อที่ 2 : F = m a ข.  F = m a P 30 N ข. แรงที่ก้อนโลหะกดกระเช้า R – m1g = (m1) a ข. แรงที่ก้อนโลหะกดกระเช้า R = (m1) a + m1g m1g body body = (0.8) m1g = 24 N a Q Q R = Q R m2g กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

68 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 (ตัวอย่างที่ 4)
37o ค. T cos 37o ค. แรงดึงในเชือกแต่ละเส้น T cos 37o T cos 37o T sin 37o P 30 N m1g T sin 37o T sin 37o body m1g m2g a Q  Fx = 0 R กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

69 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 (ตัวอย่างที่ 4) a  0 ,  กฎข้อที่ 2 :
v  0 , a  0 , F  0 กฎข้อที่ 2 : F = m a ค.  F = m a; 3Tcos37o – m1g – m2g = (m1+m2) a 3Tcos37o = (m1+m2) a T cos 37o T cos 37o T cos 37o +(m1+m2)g m1g = (m1+m2) [a+g] a 3T(4/5) =(1) [20 +10] body T = 12.5 N กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 m2g ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

70 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 (ตัวอย่างที่ 5)
0.5 m 0.5 m 2.5 kg m2 3.5 kg m3 1 kg m1  จากรูป มีมวล 4 ก้อน ผูกต่อกันด้วยเชือก 4 เส้น โดยเส้นแรกตรึงไว้กับพื้น 4 kg m4 0.5 m เมื่อกำหนดขนาดมวลและระยะดังรูป ถ้าไม่คิดความเสียดทานใดๆ จงหาความเร็วสูงสุดของมวลแต่ละก้อน เมื่อตัดเชือกเส้นแรกเหนือมวล m1 0.25 m กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

71 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 (ตัวอย่างที่ 5)
เมื่อตัดเชือกเหนือมวล m1  F = m a T m1g = m1 a 1 kg body m1 a = g ตกเสรี m1g v2 = u2+2 g s 0.5 m v2 = 0 +2 (10)(0.5) v = 3.16 m/s กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

72 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 (ตัวอย่างที่ 5) a a
2.5 kg a 3.5 kg a m2 m3 T3 T4 T4 body 4 kg a a m4  F = m a m4g m4g – T4 = m4 a …………(1) กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

73 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 (ตัวอย่างที่ 5) a a a
m2 m2 a a a m3 T3 T4 T3 body m4g – T4 = m4 a ……(1) T4 m2g  Fy = 0 a  F = m a m4 N2 m4g T3 = m2 a ……(2) กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

74 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 (ตัวอย่างที่ 5) a a a
m3 m3 a m2 T3 T4 T4 body body m4g – T4 = m4 a ……(1) T4 m3g T3 = m2 a ……(2) a T3  Fy = 0 m4 N3  F = m a m4g T4-T3 = m3 a ……(3) กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

75 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 (ตัวอย่างที่ 5)
2.5 kg m2 3.5 kg m3 m4g – T4 = m4 a …………(1) T3 = m2 a …………(2) 4 kg T4 – T3 = m3 a …………(3) m4 eq (1)+(2)+(3) ; m4g = (m4 +m2+m3) a 40 = ( ) a a = 4 m/s2 กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

76 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 (ตัวอย่างที่ 5)
a a m2 m3 มวลทุกก้อน a = 4 m/s2 ใช้ v2 = u2+2 a s a มวล m4 ; v2 = 0 +2 (4)(0.25) m4 v = 1.41 m/s 0.25 m กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

77 2.2 การใช้สมการตามกฎข้อที่ 2 (ตัวอย่างที่ 5)
0.5 m a a m2 m3 0.5 m มวล m2 และ m3 หลังจากเคลื่อนไปด้วย a = 4 m/s2 ได้ระยะ 0.25 m เชือกจะหย่อน a ทำให้  F = 0 และเคลื่อนไปด้วย v คงที่ m4 ดังนั้นความเร็วสูงสุด เกิดเมื่อ s = 0.25 m 0.25 m ใช้ v2 = u2+2 a s แทนค่า v2 = 0 +2 (4)(0.25) v = 1.41 m/s กลับ เมนูหลัก กลับ เมนูรอง 6 ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์


ดาวน์โหลด ppt ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google