ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAnne Nichols ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของ Thailand National Single Window (NSW) เพื่อเข้าสู่ ASEAN Single Window (ASW) ดร. สมนึก คีรีโต ผู้อำนวยการ สถาบันไอโนวา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1
2
เพื่อเป็นการระลึกถึง นายสินมหัต เกียรติจานนท์ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ กรมศุลกากร
3
หัวข้อนำเสนอ ความสำคัญของปัญหา – การอำนวยความสะดวกด้านการค้า (Trade Facilitation) และ โลจิสติกส์ อดีต & ปัจจุบัน – Thailand NSW & ASW เส้นทาง (Roadmap) การพัฒนา NSW ในอนาคต บทสรุป และ ข้อเสนอแนะ I have the task to discuss with you 3 main topics: Firstly - an evolutionary nature and challenges in planning and implementing NSW Secondly - because of these multifacted challenges, A systematic approach is proposed aiming to guide policy managers in planning and implementing the NSW development projects Thirdly, I provide some recommendations for ways forward, and also few questions for further discussion. A background paper of this presentation is available on our forum website. With the time limitation, I will brief describe the evolutionary nature and challenge in plannning and implementing NSW. Because of those complex challenges, a systematic approach is proposed aiming to guide policy managers in plan and implementing SW development projects.
4
ต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศ ต่อ GDP1 (ตัวเลขเชิงมหภาค)
“โลจิสติกส์” ถูกกำหนดให้เป็นยุทธศาสตร์สำคัญในการพัฒนา “ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย” ตั้งแต่ปี 2003 ต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศ ต่อ GDP1 (ตัวเลขเชิงมหภาค) ไทย ~19% ญี่ปุ่น ~ 11% สหรัฐฯ ~ 9% สหภาพยุโรป ~ 7% นี่คือ “ภัยคุกคาม” (ความเสียเปรียบทางการค้า - เพราะต้นทุนการขนส่งสินค้าของไทยสูงกว่า) แต่นี่คือ “โอกาสของการพัฒนา” เช่นเดียวกัน 1 Ref: The Brooker Group (ข้อมูลของปี 2004) 2 Thailand GDP, 2004: ~6 million-million bath
5
ข้อมูลเบื้องหลัง ข้อมูลความจริง ในช่วงปี 1998-2007
ต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ในปี อยู่ที่ประมาณ 17 – 20% (สูงกว่า 2 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว) โลจิสติกส์ และ การอำนวยความสะดวกด้านการค้า (trade facilitation) เป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาสำคัญของประเทศชั้นนำทั่วโลก ธุรกิจบริการด้านโลจิสติสก์ของประเทศยังอยู่ในขั้นเริ่มต้นเป็นส่วนใหญ่ มีโอกาสในการพัฒนาธุรกิจบริการด้านโลจิสติกส์ได้อีกหลายด้าน เพื่อสร้างคุณค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ พัฒนาการด้านโลจิสติกส์ในประเทศไทย มีการระดมสมองด้านโลจิสติกส์ทั้งรัฐและเอกชน ในเวทีระดับประเทศตั้งแต่ ปี 2003 มีการจัดทำ (ร่าง) แผนการพัฒนา Thailand Single Window/e-Logistics Plan การจัดทำ (ร่าง) แผนแม่บทการพัฒนาโลจิสติกส์ประเทศไทย ปี
6
โลจิสติกส์สินค้า – คือการเคลื่อนย้ายใน 3 ด้านหลัก
ผู้ขาย (ผู้ส่งออก) ผู้ซื้อ (ผู้นำเข้า) 1. สินค้า (ทางกายภาพ) Trade Facilitation ประสิทธิภาพของ การดำเนินการด้าน “ธุรกรรม ข้อมูลและเอกสาร” ที่เกี่ยวข้องนี้เป็นดัชนีชี้วัด ขีดความสามารถของประเทศ 2. การเงิน 3. เอกสาร และ ข้อมูล 3. เอกสาร และ ข้อมูล บริษัทประกันภัยสินค้า ผู้ส่งออก ธนาคาร ตัวแทนรับจัดการขนส่ง Freight Forwarders ผู้นำเข้า Customs Brokers เจ้าหน้าที่ศุลกากร ตัวแทนสายเรือ หรือสายการบิน ธุรกิจคลังสินค้า เจ้าหน้าที่จาก หลายส่วนราชการ ผู้ให้บริการท่าเทียบเรือหรือ ท่าอากาศยาน ผู้รับบรรทุก-ขนสินค้า
7
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ประเทศไทย คณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2007 19% ปี 2007 16% ปี 2011 มีเป้าหมายเพื่อลดต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศต่อ GDP ลงจาก 19% ในปี 2007 ให้เหลือ 16% ในปี 2011
8
ดัชนีชี้วัด ประสิทธิภาพด้าน “ขั้นตอนการค้าระหว่างประเทศ” (การสำรวจของธนาคารโลก ที่เรียกว่า “Trading Across Borders”) ธนาคารโลกทำการสำรวจและเปรียบเทียบ 183 ประเทศทั่วโลก โดยวิเคราะห์ขั้นตอน นับจำนวนเอกสารราชการ เวลา(วัน) และต้นทุนการทำธุรกรรม ตั้งแต่ขั้นตอนสัญญาซื้อขาย และการจัดธุรกรรมเอกสารราชการ เอกสารขนส่ง เอกสารการเงิน จนกระทั้งตู้สินค้าลงเรือและเรือเริ่มออกจากท่าเรือของประเทศนั้น
9
ดัชนีชี้วัด ประสิทธิภาพด้าน “ขั้นตอนการค้าระหว่างประเทศ” (การสำรวจของธนาคารโลก ที่เรียกว่า “Trading Across Borders”) ธนาคารโลกทำการสำรวจและเปรียบเทียบ 183 ประเทศทั่วโลก โดยวิเคราะห์ขั้นตอน นับจำนวนเอกสารราชการ เวลา(วัน) และต้นทุนการทำธุรกรรม ตั้งแต่ขั้นตอนสัญญาซื้อขาย และการจัดธุรกรรมเอกสารราชการ เอกสารขนส่ง เอกสารการเงิน จนกระทั้งตู้สินค้าลงเรือและเรือเริ่มออกจากท่าเรือของประเทศนั้น ดัชนี้ชี้วัดการส่งออก (อับดับ) เวียตนาม(74) ไทย(20) มาเลเซีย(11) สวีเดน(8) สิงคโปร์(1) จำนวนเอกสารราชการ จำนวนวัน ต้นทุน ต่อตู้คอนเทอร์เนอร์ (US$) Reference - World Bank’s Doing Business – Trading Across Border (July 2013) Comparing among 183 countries, the costs and procedures involved in exporting (and importing) a standardized shipment of goods are studied. Every official procedure involved is recorded – starting from the final contractual agreement between the two parties, and ending with the delivery of the goods.
10
(18 July 2012) www.doingbusiness.org
เวลา ต้นทุน และเอกสารราชการที่ใช้ในการส่งออก เปรียบเทียบระหว่าง มาเลเซีย vs ไทย* 5 documents needed 5 documents needed * ศึกษาจากกรณีตุ้ขนาด 20 ฟุตที่ขนส่งทางเรือ และสำหรับสินค้าปกติ ๖ที่ไม่ใช้สินค้าเกษตร หรือสินค้าอันตรายที่ต้องมีขั้นตอนพิเศษเพิ่มขึ้น อ้างอิงการสำรวจข้อมูลโดย - World Bank’s Doing Business – Trading Across Border (18 July 2012)
11
เอกสาร ที่ใช้ในการส่งออกข้าวจากประเทศไทย (from purchase order until the cargo container leaving the sea port) เอกสาร 36 ฉบับ ผ่านผู้กี่ยวข้อง 15 กลุ่ม – มีรายการข้อมูลที่ต้องกรอกทั้งหมด 1,140 รายการข้อมูล Proforma Invoice (35) Purchase Order (39) Commercial Invoice (51) Application for Letter of Credit (24) Letter of Credit (32) Packing List (25) Cargo Insurance Application Form (20) Cover Note (23) Insurance Policy (24) Booking Request Form – Border Crossing (25) Booking Confirmation – Border Crossing (30) Booking Request Form – Inland Transport (16) Booking Confirmation – Inland Transport (18) Bill of Lading (42) Empty Container Movement Request (TKT 305) (20) Request for Port Entry (TKT 308.2) (27) Equipment Interchange Report (EIR) (24) Container Loading List (28) Container List Message (32) Outward Container List (34) Master Sea Cargo Manifest(17) House Sea Cargo Manifest (37) Export Declaration (114) Good Transition Control List (27) Application for Permission to Export Rice (KP. 2) (24) Sales Report (KP 3) (21) Application for the Collection of the Permit for the Export of Rice (A. 3) (35) Permit for the Export of Rice (A. 4) (35) Application for Certificate of Standards of Product (MS. 13/1) (44) Certificate of Analysis (17) Certificate of Product Standards (MS. 24/1) (45) Certificate of Fumigation (21) Application for Phytosanitary Certificate (PQ. 9) (29) Phytosanitary Certificate (33) Application for Certificate of Origin (42) Certificate of Origin (38) เอกสารการค้า เอกสารราชการ เอกสารขนส่ง Number in parenthesis is the no. of data elements อ้างอิงการสำรวจข้อมูล โดย สถาบันไอโนวา ม.เกษตรฯ (ปี 2010)
12
ใช้เวลาในการเดินเอกสาร 16 วัน ใน 14 ขั้นตอนหลัก
ขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับการส่งออกข้าว - เมื่อวิเคราะห์ Business Process ทั้งหมด - ใช้เวลาในการเดินเอกสาร 16 วัน ใน 14 ขั้นตอนหลัก Day Process 20 10 5 15 3 days 2 days 4 days 1 day 1 3 6 7 8 9 12 14 2 4 13 16 11 Time-Procedure Chart 1. Buy - Conclude sales contract and trade terms 2. Obtain export permit 3. Arrange transport 4. Arrange the inspection and fumigation 5. Obtain cargo insurance 6. Provide customs declaration 7. Collect empty container(s) from yard 8. Stuff container(s) 9. Transfer to port of departure 10. Clear goods through customs 11. Handle container at terminal and stow on vessel 12. Prepare documents required by importer 13. Verify the accuracy/authenticity of exported cargo 14. Pay - Claim payment of goods อ้างอิงการสำรวจข้อมูล โดย สถาบันไอโนวา ม.เกษตรฯ (ปี 2010)
13
ขั้นตอนการส่งออกข้าว (from purchasing time till the vessel leaving the port)
36 required documents (only 4-6 e-documents) 15 Stakeholders involved 14 big steps (123 small steps) 16 days needed (all together) 6 days for regulatory procedures 7 days for transport-related procedures 12 days for traders, banks and insurance procedures อ้างอิงการสำรวจข้อมูล โดย สถาบันไอโนวา ม.เกษตรฯ (ปี 2010)
14
สถานการณ์ในปี 2007 About 80% of required documents
- Declaration - Invoice - Packing List New Generation of EDI (ebXML MS/XML Messages/Digital Singnatures) About 80% of required documents are physical papers not electronic papers yet. Separate ICT islands Paperless Customs Declaration and Clearance Customs Dept Server Exporter Browser (Request for C/O) Web-Based Application (Certificate of Origin) Dept of Foreign Trade Browser (Request for Health Cert.) except Shrimp (Request from Dept of Fisheries) Web-Based Application (Health Certificate) Dept of Livestock Development ha Many Paper Documents Web-Based Application (Health Certificate) Dept of Fisheries Paper Handling and/or Web-Based Application (Bill of Lading) Carriers or other logistics service providers
15
แนวคิด ของ National Single Window ที่ต้องการในอนาคต
Now, technical interoperability standard (e.g. based on ebXML MS) is needed, and common definitions of data elements, and semantic data structures (common data models) among different documents required by different organizations are required also. Paperless Customs Declaration and Clearance Customs Dept 36 Regulatory Agencies Exporter National Single Window Web-Services (ebXML) Application (Certificate of Origin) Dept of Foreign Trade Goal - Single Window/e-Documents One time submission for each data element but multiple usage for different purposes on different ICT platforms Web-Services (ebXML) Application (Health Certificate) Dept of Livestock Development Web-Services (ebXML) Application (Health Certificate) Dept of Fisheries Web-Services Applications (e.g. Bill of Lading, and other documents) Carriers or other logistics service providers
16
National Single Window ~350 data items and no travel needed
วิสัยทัศน์ของ National Single Window ประเทศไทย ที่กำหนดตามแผนยุทธศาสตร์ในปี 2007 [from multiple windows to Single Window] To reduce time used on document procedures ~ 24 days *(World Bank 2006) Less than 10 Days National Single Window Carriers & LSP Exporter And Importer Government Agencies ~350 data items and no travel needed Single entry process Data Harmonization One day delay costs 1% reduction in export value (World Bank, 2006) Direct and indirect costs incurred in documentary process account for 1-15 % of finished goods (OECD, 2003) Impact to economy
17
สถาปัตยกรรม Thailand NSW ที่ออกแบบไว้ในปี 2007
Governance Mechanism – policy decision, service charge regulation, service level agreement etc. 2 Importer/ Exporter Carrier Ship Agent, Airlines Agent Custom Broker/ Freight Forwarder Bank and Insurance Other Logistics Service Providers Private Sector &Transport Agencies Other Business Parties VAS Value-Added Service Providers Services for Single Window Entry and Business Process Management 5 6 National Single Window (NSW) By Customs Department e-Document Exchange Hub for Cross-boarder Trade and Transport 1 3 Customs Dept Dept. of Foreign Trade Disease Control Fisheries Port Authority Of Thailand Port/Airport 36 Government and facilitating Agencies Other agencies ebMS VAS Gateway Process Re-design & Data Harmonization VAS Gateway Process Re-design & Data Harmonization VAS Gateway 7 7 ICT National Infrastructure and related IT Laws responsible by Ministry of ICT 4 ebMS = ebXML messaging services @ Dr. Somnuk Keretho 17
18
Roles & Participants Electronic document Exchange Service
Document exchange between government agencies (G2G) via Government Information Network (GIN) supported by MICT Data exchange between government and business sectors (G2B) via VAN/VAS providers Data exchange between business sectors (B2B) via VAN/VAS providers National and International Gateways Integrate / link VAN/VAS (import, export and logistics) National gateway for data exchange between Thailand and ASEAN Members National gateway for data exchange between Thailand and other countries Participants / Clients 42 government agencies 125,000 traders (importer, exporter, customs broker, freight forwarder, shipping lines, air lines, sea port, air port, logistics service providers, bank,…) Others (ASEAN Member and other countries….)
19
National Commitment National Logistics Committee chaired by the Prime Minister Minister of Finance, Minister of Industry, Ministry of Commerce, Ministry of Transport, NESDB (National Economic and Social Development Board), …. Executives from business sectors Thailand National Single Window is one of the National Agendas ASEAN Agreement to establish the ASEAN Single Window ASEAN – 6 (2008) ASEAN – 4 (2012) Leading Agency MICT (during ) The Customs Department, Ministry of Finance (after 2008) Business/Financial Model of National Single Window Initial funding by the government (100%) supervised by the Customs No transaction fee for data exchange among government and trade
20
Interagency Collaborative Platform
National Committees and Working Groups National Logistics Committee of Thailand National Sub-committee on Data Integration for Import, Export and Logistics Steering Committee on National Single Window Development Committee on Regulatory Framework and Quality Assurance of Thailand NSW Inter-Agency Technical Working Group for National Single Window Inter-Agency Legal Working Group Committees and Working Groups (within each agency) Business process analysis and reforms A Lot of Workshops, Group discussion and consultations to simplify and streamline business process among government and business sectors ASEAN Meetings and Working Bodies AEC Council, AEM, AFM, ASEAN Customs Director-General, …. ASEAN Single Window Steering Committee (ASW) Technical Working Group for ASW Legal & Regulatory Working Group for ASW, etc
21
Legal and Agreement Framework
Electronic documents legally recognized under the National Electronic Transactions Act (April 2001) Enhance Departmental regulation for e-document exchange among government and business sectors Inter-Agency Legal Working Group enables relevant legal frameworks for paperless service among 35 government agencies MOU among 36 organizations were signed for electronic document adoption (including representatives from business sectors)
22
Evolution of Thailand National Single Window
23
A Single Submission for Electronic Customs Declaration
Submission with Digital Signature All transactions are electronically exchanged, e.g. Customs e-payment, risk analysis, reporting, … Referring to – ‘Thailand NSW” presentation by Mr. SINMAHAT Kiatjanon, Thai Customs Department - February 2010., Nepal.
24
Thailand National Single Window ในปัจจุบัน
มีการเชื่อมโยงข้อมูลใบอนุญาตและ ใบรับรองระหว่างหน่วยงาน
25
ความร่วมมือระหว่างประเทศ
ASEAN Single Window (ASW) ASEAN Agreement for ASW signed by ASEAN Economic Ministers (9 December 2005) and ASEAN Protocol for ASW signed by ASEAN Finance Ministers (5 April 2006) ASW Pilot project Exchange of ECO for ASEAN and ASEAN Customs Declaration Document ASEAN engaged consulting firm to study the solution for the ASW pilot project Malaysia-Thailand B2B Cross Border Initiative Facilitation of Trade Route through the use of RFID Pilot project start (TNT & DHL, …) Live and Enhancement (2011) Thailand – Lao B2B Pilot Project Initiative (2010) Lao importers can reuse electronic export customs declaration receiving from exporter in Thailand Thailand – Taiwan G2G pilot project Initiative ECO (electronic certificate of origin) pilot project for trade facilitation 1st Joint Meeting in Taipei (December 2010)
26
ASEAN Single Window
27
A Regional Connectivity: ASEAN Single Window
ได้จัดทำโครงการนำร่อง ในการแลกเปลี่ยน เอกสารใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (e-ATIGA form D) และ ASEAN Customs Declaration Document (ACCD) แบบอิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างประเทศแล้ว
28
Current Status of ASEAN Single Window
The ASW architecture design for the pilot project adopts a distributed gateway model, whereby a regionally developed gateway application is hosted by each Asean Member State. The architecture has helped address the main concern on confidentiality of trade data through a central server and single point of failure at the central server. Seven ASEAN Member States have successfully tested the ASW architecture in terms of connectivity for the electronic exchange of intra-ASEAN ATIGA Form D and ASEAN Customs Declaration Document (ACDD) data. Preparation for the implementation of a more comprehensive ASW Pilot is underway. Establishment of a regional Legal Framework Protocol to govern the legal aspects of ASW ‘live’ implementation is in progress (within 2015).
29
ผลกระทบ ที่เกิดขึ้นจากการใช้ระบบ Paperless Customs
Ref: Sinmahat K. “NSW in Thailand”, a presentation in Nepal, Feb 2011.
30
National Trade Improvement
31
หัวข้อนำเสนอ ความสำคัญของปัญหา – การอำนวยความสะดวกด้านการค้า (Trade Facilitation) และ โลจิสติกส์ อดีต & ปัจจุบัน – Thailand NSW & ASW เส้นทาง (Roadmap) การ NSW พัฒนาในอนาคต บทสรุป และ ข้อเสนอแนะ I have the task to discuss with you 3 main topics: Firstly - an evolutionary nature and challenges in planning and implementing NSW Secondly - because of these multifacted challenges, A systematic approach is proposed aiming to guide policy managers in planning and implementing the NSW development projects Thirdly, I provide some recommendations for ways forward, and also few questions for further discussion. A background paper of this presentation is available on our forum website. With the time limitation, I will brief describe the evolutionary nature and challenge in plannning and implementing NSW. Because of those complex challenges, a systematic approach is proposed aiming to guide policy managers in plan and implementing SW development projects.
32
ขีดความสามารถด้านขั้นตอนการค้าและ โลจิสติกส์ของประเทศไทย ตกอันดับไป 10 ขั้น
จากรายงานของธนาคารโลกต้นปี 2013 ได้นำเสนอข้อมูลดัชนีชี้วัดขีดความสามารถการแข่งขันทางการค้าและโลจิสติกส์ที่เรียกว่า Trading Across Border Indicator โดยการเปรียบเทียบประเทศต่างๆ ทั่วโลกจำนวน 184 ประเทศ ประเทศไทยถูกจัดอยู่ที่อันดับ 20 ซึ่งด้อยลงจากที่เคยได้อันดับที่ 10 ในปี 2009 สาเหตุของปัญหา และ โอกาสที่ประเทศไทย จะสามารถปรับปรุงพัฒนาได้ คืออะไร
33
ประโยชน์ที่จะได้รับ แผนที่เส้นทางการพัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประสิทธิภาพการค้าและการขนส่งระหว่างประเทศ National Single Window Roadmap ตามคำแนะนำของ สหประชาชาติ (UNNExT SW Planning Guide & UNECE Suggested Roadmap) 5 Cross Border e-Document Exchange ระบบ แลกเปลี่ยน เอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ กับประเทศ คู่ค้า 4 Integrated NSW (Regulatory Transport Trade) การเชื่อมโยง ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ภาครัฐ ภาคขนส่ง และ ภาคการค้า 3 Air/Sea/Land Port Community System (PCS) ระบบเชื่อมโยง ผู้ประกอบ การขนส่งผ่านท่าเรือ ท่าอากาศยาน และ ด่านชายแดน 2 Regulatory NSW ระบบ NSW ที่เชื่อมโยง หน่วยงาน ภาครัฐ 1 Paperless Customs ระบบศุลกากร ไร้กระดาษ เวลาแห่ง การพัฒนา
34
ประเทศไทย อยู่ที่ไหน เมื่อเทียบกับความก้าวหน้าของโลก National Single Window Roadmap
ประโยชน์ที่จะได้รับ เป้าหมายของ ASEAN Single Window สิงคโปร์ (1) ออสเตรเลีย & นิวซีแลนด์ การค้าสินค้าเกษตร เกาหลีใต้ (3) ฮ่องกง (2) ที่ผ่านมาทั้งกรมศุลกากร และ กระทรวงคมนาคม เร่งดำเนินการในส่วนที่ เกี่ยวกับระบบ “NSW เชื่อมโยงภาครัฐ” เท่านั้น โดยยัง “ไม่มีแผนงาน” การพัฒนาระบบ เชื่อมโยงข้อมูล อิเล็กทรอนิกระหว่าง ผู้ประกอบการขนส่ง เนเธอร์แลนด์ (12) เยอรมัน(13) ระบบ แลกเปลี่ยน เอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ กับประเทศ คู่ค้า ระบบเชื่อมโยง ผู้ประกอบ การขนส่งผ่านท่าเรือ ท่าอากาศยาน และ ด่านชายแดน การเชื่อมโยง ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ภาครัฐ ภาคขนส่ง และ ภาคการค้า ประเทศไทย (20) (#) – การจัด อันดับของ ธนาคารโลก เปรียบเทียบกับ 184 ประเทศ ทั่วโลก (ประเทศไทย เคยอยู่อันดับ 10 ตกไปเป็น อันดับที่ 20) โมรอคโค (47) ระบบ NSW ที่เชื่อมโยง หน่วยงาน ภาครัฐ ระบบศุลกากร ไร้กระดาษ กาน่า (67) เวลาแห่ง การพัฒนา
35
สถานการณ์ของประเทศไทย
ที่ผ่านมาโครงการต่างๆ ของทั้งกรมศุลกากร กระทรวงคมนาคม และ หน่วยราชการอื่นๆ ต่างเร่งดำเนินการพัฒนาระบบ “NSW ที่เกี่ยวกับธุรกรรมเอกสารของภาครัฐ” (Regulatory NSW) เท่านั้น “ยังไม่มีแผนงาน” ที่ชัดเจนในการประสานงานการพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างกลุ่มผู้ประกอบการขนส่ง ทั้งผ่านทางท่าเรือ ท่าอากาศยาน และด่านชายแดน (ไม่มี Port Single Window Roadmap ทั้ง Air/Sea/Land e-Freight) ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง “ยังไม่เข้าใจ” ในโอกาสของการพัฒนาประสิทธิภาพการขนส่งระหว่างประเทศ ด้วยการเชื่อมโยงระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้เกี่ยวข้องในกลุ่มการขนส่ง (e-Freight หรือ Port Community System Roadmap) ผู้ประกอบการขนส่งของไทยซึ่งส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก “ขาดความสามารถ” ในการพัฒนาระบบไอทีเพื่อปรับปรุงงานบริหารจัดการภายในของตนเองให้ดีกว่าเดิม ดังนั้น จึงเป็นภัยคุกคามสำคัญเนื่องจากจะไม่พร้อมรับมือกับการแข่งขันที่จะเข้มข้นรุนแรงมากขึ้นไปอีกของคู่แข่งในอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนับจากปี 2558
36
บันได 4 ขั้นสู่ระบบ NSW อย่างเต็มรูปสำหรับประเทศไทย (ประเทศไทย ควรเร่งดำเนินการสู่บันไดขั้นที่ 3)
บันไดขั้นที่ 1: ระบบศุลกากรไร้กระดาษ (+ e-Payment for Customs Duty + Container Loading List Simple e-Documents Exchange with Port Authority and/or Terminal Operators) บันไดขั้นที่ 2: เชื่อมโยงระบบระหว่างหน่วยงานภาครัฐเพื่อการออกใบอนุญาต และใบรับรองของภาครัฐ 36 หน่วนงาน บันไดขั้นที่ 3: ระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ภาคการขนส่ง ทั้งทางเรือ ทางการบิน และ รถบรรทุกข้ามพรมแดน (e-Documents Exchange among Air & Sea & Land Port Community) Air/Sea/Land Port Community System (PCS) Integration บันไดขั้นที่ 4: แลกเปลี่ยนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ กับประเทศคู่ค้า เช่น ASEAN SW และ EU e-Doc Exchange การแลกเปลี่ยนเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ กับประเทศคู่ค้า ตัวแทนสายเรือ สายการบิน การเชื่อมโยงหน่วยงาน ภาครัฐ 36 หน่วยงาน การท่าเรือฯ การท่าอากาสยาน... ระบบศุลกากร ไร้กระดาษ เครื่องบิน หรือสายเรือ Internet NSW ตัวแทนรับจัดการ ขนส่ง (Freight Forwarders) หน่วยภาครัฐ ด้านอาหารและยา & สินค้าเกษตร Importer/Exporter/ Licensed Agents/ Representatives หน่วยภาครัฐ ที่เกี่ยวข้องกับยานพาหนะ สินค้าอุตสาหกรรมและ อื่นๆ ผู้ประกอบการ ท่าเทียบเรือ หรือสนามบิน บริษัทประกันภัยสินค้าฯ
37
ระบบเชื่อมโยงข้อมูลและกระบวนการที่ท่าฯ Port Community System (PCS)
เพื่อประสิทธิภาพที่ท่าเรือ ท่าอากาศยาน และ ด่านชายแดน ที่ดีกว่าเดิม ระบบ PCS คือ ระบบที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการขนส่งผ่านท่าเรือ (ท่าอากาศยาน หรือ ด่านชายแดน) เพื่อการประสานการทำงานกันอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งผู้ส่งสินค้า(Consignor) ผู้รับสินค้า(Consignee) ตัวแทนรับจัดการขนส่ง ตัวแทนเรือ(หรือสายการบิน) ท่าเทียบเรือ(หรือท่าอากาศยาน) หรือผู้ให้บริการขนถ่ายที่ท่าฯ ผู้ให้บริการรถ ธนาคาร และหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง กระบวนการที่เป็นพิธีการทางราชการ (Regulatory) การขนส่ง (Transport) และ การค้า (Trade)
38
Integrated National Single Window
38 Integrated National Single Window Government Business/Logistics ตัวแทนรับจัดการขนส่ง กรมศุลกากร ตัวแทนสายเรือ หรือสายการบิน ด่านอาหารและยา (อย.) Regulatory SW PCS ท่าเทียบเรือ กรมวิชาการเกษตร ผู้ประกอบการรถบรรทุก ปัจจุบัน เรามีแผนงาน งบประมาณและเจ้าภาพ ในส่วนด้านซ้าย (Regulatory SW) แต่ เราขาดทั้งแผนงาน งบประมาณ และ เจ้าภาพรวมที่ชัดเจน ในส่วนด้านขวา (PCS) กรมการค้าต่างประเทศ Free Zone หน่วยราชการอื่นๆ การท่าฯ กรมเจ้าท่า PCS: Port Community System
39
ตัวอย่างของ ขั้นตอนและเอกสารที่ควรเชื่อมโยงกัน เพื่อการขนส่งสินค้าผ่านท่าอากาศยาน (Air e-Freight)
40
ตัวอย่าง การแลกเปลี่ยนข้อมูล (ที่ควรเป็นอิเล็กทรอนิกส์) อย่างอัตโนมัติระหว่างผู้เกี่ยวข้องในการขนส่งทางเรือ เพื่อประสิทธิภาพที่ท่าเรือ ข้อมูล Ship Manifest (ข้อมูลเกี่ยวกับเรือ – ชนิด ปริมาตร ขนาด เวลาเข้า-ออก และข้อมูลสินค้าที่บรรทุก) - ทุกครั้งที่เรือเริ่มออกเดินทางจากท่าเรือหนึ่ง ควรจะมีการข้อมูล e-Manifest ให้ท่าเรือปลายทาง (โดยส่งให้ทั้ง “การท่าเรือแห่งประเทศไทย” “กรมศุลกากร” “กรมเจ้าท่า” และ “ผู้ให้บริการท่าเทียบเรือ” อย่างอัตโนมัติ เพื่อการตรวจปล่อยที่รวดเร็ว) ข้อมูลเรือ ข้อมูลลูกเรือ ข้อมูลสินค้า เพื่อการขออนุญาตเข้าออกน่านน้ำ ตรวจคนเข้าออกเมือง และเพื่อการรายงาน ฯลฯ การตรวจปล่อยเรือ การตรวจปล่อยสินค้า การบริการของท่าเทียบเรือ การประสานงานกับตัวแทนหน่วยงานภาครัฐ เพื่อการตรวจ Inspection การประสานงานระหว่าง ผู้ส่งสินค้า ผู้รับสินค้า ตัวแทนรับจัดการขนส่ง ผู้ประกอบการขนส่ง และธนาคาร การจ่ายเงินค่าบริการขนส่ง และ ค่าสินค้า ฯลฯ
41
คำแนะนำเส้นทางการพัฒนา NSW ประเทศไทยในระยะยาว
A long-term & continuously-improved development roadmap but a bite size SW project(s) should be implemented iteratively. [Customs SW] – Economies with traditional customs automation systems should upgrade them to paperless Customs SW. [Port Community System] - Economies with Customs SW should then electronically link with business/transport stakeholders in their major ports. [Regulatory NSW] - Economies with Customs SW can extend their systems to a small set of selected OGAs in the 1st phase, then involving more OGAs gradually, e.g. Thailand NSW now extends interconnection to all 36 agencies. [Integrated NSW] – Few economies now combining PCS & Regulatory NSW into an integrated logistics NSW environment, e.g. Japan’s NACCS [Integrated Sub-national SW] – For some economies, they can decide to establish a sub-national or provincial-level Integrated SW. [Regional or cross-border SW] – Electronic information exchange between economies shall be implemented incrementally based on business cases.
42
Port Community System (PCS)
For port coordination and efficiency PCS is an electronic platform which connects several systems operated by a variety of organizations that make up a sea port, air port or inland ports, e.g. freight forwarders, transporters, terminal operators, ship agents, vessels, etc. Normally, connecting also with some regulatory agencies including Customs and transport-related agencies, e.g. Maritime department, and Port Authority. PCSs are very advanced in many EU countries, but poorly developed in many Asia-Pacific countries, except some major ports in China, Hong Kong, Singapore, and Malaysia, etc. Recommendations: PCSs should be the national development agenda for Asia-Pacific countries (all major airports, seaports).
43
Integrated NSW ให้ดู ตย. ของญี่ปุ่น
Integration of regulatory SW and PCS to streamlining all regulatory, transport and payment procedures and documentations in a SW environment, e.g. Japan’s NACCS Ref:
44
Evolutionary Development of Japan Integrated SW (NACCS) (long-term & continuous improvement from 1977 to 2013) Sea Transport Transactions Common SW for all regulatory, and transport procedures for all air ports & sea ports Regulatory Transactions Air Transport Transactions Ref:
45
NSW ที่เชื่อมโยงเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ทั้ง Regulatory, Port และ Trade
46
หัวข้อนำเสนอ ความสำคัญของปัญหา – การอำนวยความสะดวกด้านการค้า (Trade Facilitation) และ โลจิสติกส์ อดีต & ปัจจุบัน – Thailand NSW & ASW เส้นทาง (Roadmap) การ NSW พัฒนาในอนาคต บทสรุป และ ข้อเสนอแนะ I have the task to discuss with you 3 main topics: Firstly - an evolutionary nature and challenges in planning and implementing NSW Secondly - because of these multifacted challenges, A systematic approach is proposed aiming to guide policy managers in planning and implementing the NSW development projects Thirdly, I provide some recommendations for ways forward, and also few questions for further discussion. A background paper of this presentation is available on our forum website. With the time limitation, I will brief describe the evolutionary nature and challenge in plannning and implementing NSW. Because of those complex challenges, a systematic approach is proposed aiming to guide policy managers in plan and implementing SW development projects.
47
บทสรุป และข้อเสนอ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย ฉบับที่ 2 ( ) – ได้กำหนดให้มีการพัฒนา Port Community Systems ทั้งสำหรับท่าเรือ และท่าอากาศยาน ให้มีการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง Regulatory NSW และ PCSs ให้มีการพัฒนาประสิทธิภาพโดยการแลกเปลี่ยเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้นำเข้าส่งออก ตัวแทนรับจัดการขนส่ง (Freight Forwarders) และ ผู้ประกอบการขนส่ง (โครงการ e-Freight) ต้องดำเนินการจัดหา “หน่วยงานเจ้าภาพ” และจัดทำ “แผนการพัฒนา” ที่ชัดเจนในลำดับต่อไป
48
บทสรุป และข้อเสนอ การพัฒนาระบบ National Single Window เป็นแผนงานระยะยาวที่ต้อง “พัฒนาอย่างต่อเนื่อง” (Continuous Improvement) ทุกปี จำเป็นต้องมี “กลไกองค์กร” หรือ “หน่วยงานเจ้าภาพ” ที่รับผิดชอบในระยะยาว (หลายประเทศจะจัดตั้งเป็น “องค์กรพิเศษ”) เช่น ประเทศญี่ปุ่น ได้จัดตั้งองค์กรชื่อ NACCS (เป็นองค์กรมหาชน)* มีการใช้หลักการ Continuous Improvement Cycle หรือ PDCA (Plan-Do-Check-Act) ทุกปี - โดยเสนอให้ดำเนินดังนี้ ทำโครงการศึกษาขั้นตอน-เวลา-ปัญหาอุปสรรค “การตรวจปล่อยที่ท่า” (WCO Time Release Study) เพื่อศึกษาโอกาสในการปรับปรุงทุกปี ทำโครงการ UNESCAP Time/Cost-Distance Study ศึกษาเรื่องระยะทางและเวลาที่ใช้ในการขนส่งสินค้า ทำโครงการ UNNExT Business Process Analysis ขั้นตอนและเอกสารที่ใช้ในการส่งออกและนำเข้าสินค้า *NACCS = Nippon Automated Cargo Community Systems, Inc.
49
ตย. การทำการ วิเคราะห์ as-is และ นำเสนอการปรับปรุง to-be ทุกปีอย่างต่อเนื่องของท่าเรือญี่ปุ่น (NACCS) Time-Release Study & Improvement – Everyyear since 1991
50
บทสรุป และ ข้อเสนอแนะ การเชื่อมโยงระหว่าง “Inter-organization Information Systems” (IOSs) (หรือ ระหว่างเครือข่ายการเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หลายกลุ่ม จะมีมากขึ้น) เพิ่มเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานในกระบวนการของโซ่อุปทาน เช่น การเชื่อมโยงระหว่าง Regulatory (G2G) NSW กับเครือข่ายการเชื่อมโยงของธนาคาร ITMX (Interbank Transaction and Exchange) เพื่อการชำระภาษีศุลกากร และ การชำระเงินค่าสินค้าออนไลน์ การเชื่อมโยงระหว่าง Regulatory NSW และ PCS ฯลฯ การเชื่อมโยงเหล่านี้ ต้องมีการกำหนด “มาตรฐาน e-Transactions” อย่างน้อย 3 ด้าน คือ มาตรฐาน Business Process มาตรฐานรายการข้อมูล (Common Data Set) และ โครงสร้างข้อมูลที่จะแลกเปลี่ยนกันระหว่างระบบ โปรโตคอลการสื่อสารที่ใช้ในการเชื่อมโยง รวมทั้งเงื่อนไขด้าน Security, Data Privacy และ Liability
51
Layers of Business Process Areas in the international supply chain
1. Buy Ship Pay Transport Supply Chain 2. Prepare for Export Export Transport Prepare for Import Import Transport Infrastructure Management 3. Load/ Unload Warehouse Operations Port Operations Transport Regulations 4. Permits & Certificates for Vessels Traffic Control Vessel Piloting Trade Regulations 5. Customs Clearance Agriculture Control Other regulatory agencies’ control
52
Layers of business process areas and related IOIS systems
International Supply Chain 1. Buy Ship Pay e-Commerce (e.g. Alibaba) e-Freight (e.g IATA e-Freight), Track & Trace Systems Transport Supply Chain 2. Prepare for Export Export Transport Prepare for Import Import Port Community System (PCS) Load/Unload Transport Infrastructure Management 3. Warehouse Operations Port Operations Transport Regulations 4. Permit & Certificates for Vessels Traffic Control Vessel Piloting Maritime SW, e-Navigation, SafeSeaNet Trade Regulations 5. Trade SW, e-Customs, NCTS* Customs Clearance Agriculture Control Other regulatory agencies’ control *NCTS: New Computerized Transit System
53
Quarantine & SPS Agency
การเชื่อมโยงระหว่าง IOSs เพื่อประสิทธิภาพของ cross-border supply chain จำเป็นต้องมีการ “กำหนดมาตรฐาน 3 ด้าน” ในแต่คู่ของ IOSs Hauler Operators Buyers/Importers Sellers/Exporters Warehouses e-Trade Freight Forwarders Terminal Operators Importer’s Banks Port Community System (PCS) Exporter’s Banks Freight Forwarders Traders Regulatory Agents Haulers Port-equipment Operators A network of networks of inter-agency collaboration e-Freight Marine Department Ship Agents Health Department Vessels Air lines Customs Brokers Ship Piloting Maritime SW Vessel Operator Customs Department Trade SW Vessel Traffic Safety Traders Terminal Operator Quarantine & SPS Agency Port Authority Other government agencies
54
ขอขอบคุณ ดร. สมนึก คีรีโต ผู้อำนวยการ สถาบันไอโนวา ใ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.