ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) Thailand Professional Qualification Institute : TPQI
2
การจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ
3
พ.ร.ฏ.จัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ พ.ศ.2554
สถาบันฯ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของนายกรัฐมนตรี เน้นในเรื่องขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเป็นเศรษฐกิจสังคมฐานความรู้ (Knowledge Based Economy) และฐานเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Technology & Innovation Based) พัฒนาสมรรถนะกำลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน กำลังคนต้องมีมาตรฐานเทียบเท่ากับสากล ซึ่งสามารถวัดได้อย่างเป็นระบบ ส่งเสริม/ช่วยเหลือส่วนราชการ หรือ หน่วยงานของรัฐในการพัฒนากำลังคน
4
วัตถุประสงค์การจัดตั้ง
ดำเนินการศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ ส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มวิชาชีพในการจัดทำมาตรฐานอาชีพ ให้การรับรององค์กรที่มีหน้าที่รับรองรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ เป็นศูนย์กลางข้อมูลเกี่ยวกับระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานอาชีพ ติดตามและประเมินผลองค์กรที่มีหน้าที่รับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ รวมทั้งระบบคุณวุฒิวิชาชีพ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปด้วยความโปร่งใสและยุติธรรม ส่งเสริมและประสานความร่วมมือกับสถานศึกษา ศูนย์ฝึกอบรม สถานประกอบการ หน่วยงานรัฐและเอกชนในการเผยแพร่ระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานอาชีพ
5
ความเป็นมาของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ
จัดตั้ง ภาคการศึกษา สภาพปัญหา Demand Driven Missing Link ภาคการศึกษายังผลิตคนไม่ตรงกับสมรรถนะที่ผู้ประกอบการต้องการ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) พัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ ภาค แรงงาน คัดเลือกบุคลากรโดยพิจารณาจากคุณวุฒิการศึกษา สนับสนุนการจัดทำมาตรฐานอาชีพ กลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพ กลุ่มผู้ประกอบการ (HR) - สภาอุตสาหกรรม - สภาหอการค้า หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ขาดหน่วยงานที่ดูแลเรื่องกระบวนการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ ให้การรับรององค์กรรับรองสมรรถนะฯ เป็นศูนย์กลางข้อมูลเกี่ยวกับระบบคุณวุฒิวิชาชีพ ขาดการเชื่อมโยงระหว่างโลกแห่งการทำงานและโลกแห่งการศึกษา สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานทั้งภายในและต่างประเทศ การรวมตัวของคนในวิชาชีพ
6
ความสัมพันธ์ระหว่างมาตรฐานอาชีพ กับการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ระดับมาตรฐานวิชาชีพของผู้ประกอบอาชีพมีนัยสำคัญอย่างยิ่งต่อขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Nation Competitiveness) ระดับมาตรฐานต่ำฯ ขีดความสามารถในการแข่งขันฯ ต่ำ ความเกื้อกูลต่อระบบเศรษฐกิจ และ สังคมต่ำ ระดับมาตรฐานสูงขีดความสามารถในการแข่งขันฯ สูง ความเกื้อกูลต่อระบบเศรษฐกิจ และสังคมสูง ที่มา: โครงการศึกษาการจัดตั้งสถาบันคุณวิชาชีพประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ (ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
7
วิสัยทัศน์ “เป็นสถาบันหลักในการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา ระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานอาชีพ ให้ได้รับการยอมรับทั้งในและต่างประเทศ”
8
คณะกรรมการบริหารสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ
เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานสมาคมธนาคารไทย ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ผู้ทรงคุณวุฒิ
9
ประโยชน์ของมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ
สามารถปฏิบัติงานได้มาตรฐานระดับชาติหรือนานาชาติ ไต่ระดับตามมาตรฐานอาชีพเพื่อเส้นความก้าวหน้าในวิชาชีพ มีความมั่นใจในการกำหนดแนวทางการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สร้างคุณค่าความดีความชอบในการปฏิบัติงาน จากการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง พึงพอใจในผลงาน เพราะเห็นคุณค่าของการทำงาน
10
สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ
ประโยชน์ของมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ ใช้ประสบการณ์วิชาชีพที่มีอยู่เพื่อขอรับรอง ให้ได้คุณวุฒิวิชาชีพ ใช้คุณวุฒิวิชาชีพได้ได้มา เพื่อขอเทียบโอน และเทียบเคียงคุณวุฒิอื่นๆ รักในอาชีพ ในงานที่ทำ สร้างเกียรติภูมิ และภาคภูมิใจในวิชาชีพ
11
ประโยชน์ของมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
สำหรับผู้ประกอบการ องค์กรนายจ้าง ใช้มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพในการสรรหาบุคลากรที่มีสมรรถนะ ตรงงาน ใช้มาตรฐานอาชีพในการกำหนดค่าตอบแทนตามสมรรถนะ ใช้มาตรฐานอาชีพในการประเมินผลงาน และส่งเสริมฐานะการงานของลูกจ้าง ใช้มาตรฐานอาชีพเป็นแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะงานของลูกจ้าง ปรับปรุงยกระดับมาตรฐานการทำงานเพื่อการพัฒนาธุรกิจ
12
ประโยชน์ของมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
สำหรับผู้ประกอบการ องค์กรนายจ้าง พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมในองค์กร เพื่อพัฒนาธุรกิจด้วยฐานกำลังคน บริหารจัดการองค์กรได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น คุณภาพงานสูงขึ้น พัฒนาผลิตภาพของคน พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์และบริการ ลดต้นทุนการผลิตเพราะบุคลากรมีประสิทธฺภาพการทำงานสูงขึ้น ใช้มาตรฐานอาชีพเป็นฐานในการ Benchmarking ภายใน หรือกับองค์กรอื่น
13
สำหรับกลุ่มเจ้าของอาชีพและองค์กรวิชาชีพ
ประโยชน์ของมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สำหรับกลุ่มเจ้าของอาชีพและองค์กรวิชาชีพ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และกฎระเบียบใหม่ๆ เพื่อรักษาไว้ซึ่งประโยชน์ของกลุ่ม
14
สำหรับหน่วยงานการศึกษาและผลิตกำลังคน
ประโยชน์ของมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สำหรับหน่วยงานการศึกษาและผลิตกำลังคน พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน และฝึกอบรม บนพื้นฐานสมรรถนะมาตรฐานอาชีพ กำหนดคุณวุฒิที่มอบให้ สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพ พัฒนาระบบการรับรองได้สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพเพื่อกำหนดคุณวุฒิวิชาชีพ พัฒนาระบบการประเมินได้สอดคล้องกับสมรรถนะการทำงานจริง ใช้มาตรฐานอาชีพ ในการพัฒนาสื่อการสอน รูปแบบการอบรม และเครื่องมือประเมินที่หลากหลาย
15
ประโยชน์ของมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
สำหรับประเทศชาติ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับนานาชาติ ด้วยฐานกำลังคน มีมาตรฐานอาชีพเป็นเกณฑ์ในการกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ สร้างผลิตภาพกำลังคน เพิ่มผลิตภาพเศรษฐกิจ ส่งเสริมให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต จากประสบการณ์วิชาชีพ รักษากำลังคนให้อยู่ในระบบการทำงานสร้าง GDP ให้ประเทศ
16
ประโยชน์ของมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
สำหรับประเทศชาติ สร้างค่านิยมการเรียน “เพื่อการทำงาน” มากกว่าการเรียน “ให้ได้ปริญญา” ส่งเสริมให้นำประสบกาณ์วิชาชีพมารับรองให้ได้คุณวุฒิวิชาชีพ เพื่อประโยชน์ ในการเคลื่อนย้าย แรงงานฝีมือ และนักวิชาชีพเสรีในอาเซียน
17
ระบบคุณวุฒิวิชาชีพ กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ ระบบการจัดหมวดหมู่ของอาชีพ
มาตรฐานอาชีพ กระบวนการรับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ ให้การรับรององค์กรที่มีหน้าที่รับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ เพื่อประเมินสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ ให้ประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพ และหนังสือรับรองมาตรฐานอาชีพ กระบวนการประกันคุณภาพคุณวุฒิวิชาชีพ การเชื่อมโยงกรอบคุณวุฒิวิชาชีพกับกรอบคุณวุฒิแห่งชาติและกรอบคุณวุฒิอาเซียน ฐานข้อมูลคุณวุฒิวิชาชีพและระบบสารสนเทศใน การบริหารฐานข้อมูลและคุณวุฒิวิชาชีพ
18
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework)
คำอธิบาย บรรยาย ลักษณะงานในอาชีพ ที่ใช้จำแนก สมรรถนะวิชาชีพ หรือขอบเขตการปฏิบัติงานในอาชีพสำหรับคนๆ หนึ่ง เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในแบ่งระดับตามผลลัพธ์ของงาน ตามผลผลิตที่ต้องการจากผลปฏิบัติ ตามความยากง่ายของงาน ตามความซับซ้อนของงาน ตามขอบเขตความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ของงาน เพื่อให้เห็นแนวทางการพัฒนาตนเองในงานอาชีพ จากระดับเริ่มต้น ไปสู่ระดับสูงสุดของงานอาชีพ โดยกำหนดให้เป็นคุณวุฒิตามสมรรถนะวิชาชีพ เรียกว่า “คุณวุฒิวิชาชีพ”
19
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework)
จุดประสงค์ คำอธิบายระดับคุณวุฒิวิชาชีพเพื่อเป็นเครื่องมือในการกำหนดระดับ สมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพ โดยจะกำหนดระดับ สมรรถนะให้ตรงกับระดับความยากง่ายของระดับคุณวุฒิวิชาชีพ โดยการจัดมาตรฐานอาชีพจะต้องใช้ข้อความในกรอบคุณวุฒิวิชาชีพนี้เป็นข้อมูลในการจัดระดับคุณวุฒิวิชาชีพของแต่ละสาขาอาชีพ ขอบเขตคุณวุฒิวิชาชีพ คำอธิบายทั่วไปในกรอบคุณวุฒิวิชาชีพนี้เป็นคำอธิบายที่เป็นกลางมิได้อธิบายถึงอาชีพใดอาชีพหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจง โดยพิจารณาตามผลลัพธ์ของสมรรถนะวิชาชีพ ได้แก่ การประยุกต์ใช้ ความรู้ ทักษะ ผลผลิต นวัตกรรม และความรับผิดชอบ
20
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework)
21
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework)
ระดับ 1 National Qualification of Vocational Competence 1 ระดับ 2 National Qualification of Vocational Competence 2 ระดับ 3 National Diploma Qualification of Vocational Competence 3 ระดับ 4 National Advanced Diploma Qualification of Vocational Competence ระดับ 5 National Qualification of Professional Competence ระดับ 6 National Qualification of Higher Professional Competence ระดับ 7 National Qualification of Advanced Professional Competence
22
National Qualification of Vocational Competence 1
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 1 National Qualification of Vocational Competence 1 คำจำกัดความ คำอธิบายเบื้องต้น Basic Skilled personnel/worker ผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ ทักษะเบื้องต้น มีทักษะในการปฏิบัติงานประจำขั้นพื้นฐานทั่วไป สามารถแก้ปัญหาพื้นฐานในการปฏิบัติงานได้ อย่างจำกัด โดยมีการควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด
23
National Qualification of Vocational Competence 1
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 1 National Qualification of Vocational Competence 1 ความรู้ (Knowledge) มีความรู้พื้นฐานในการเขียน อ่าน พูด สื่อสาร การคำนวณ วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของชาติ มีทักษะขั้นพื้นฐานในการปฎิบัติงาน การสื่อสารและการทำงานประจำ มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน มีทักษะการคิด และวิจารณญาณ มีทักษะเรื่องความปลอดภัย มีความสามารถในการแก้ปัญหาขั้นพื้นฐาน ผลผลิต (Productivity) สามารถปฏิบัติงานได้สำเร็จตามที่ได้รับมอบหมาย ถูกต้อง ตรงต่อเวลา มีสมรรถนะในการปฏิบัติงานภายใต้การกำกับดูแล สามารถใช้การพิจารณาความสัมพันธ์ของงานที่ปฎิบัติในขั้นพื้นฐาน ทักษะ (Skills) นวัตกรรม (Innovation)
24
National Qualification of Vocational Competence 1
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 1 National Qualification of Vocational Competence 1 การประยุกต์ใช้(Application) ปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานที่กำหนดไว้เป็นอย่างดีแล้ว สามารถแก้ปัญหาพื้นฐานได้ ความรับผิดชอบ (Responsibility) มีการควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด และมีอำนาจการตัดสินใจอย่างจำกัด
25
National Qualification of Vocational Competence 2
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 2 National Qualification of Vocational Competence 2 คำจำกัดความ คำอธิบายเบื้องต้น Semi-Skilled personnel /worker ผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ ทักษะอาชีพ ระดับกึ่งฝีมือ มีทักษะกึ่งฝีมือในการปฏิบัติงานที่ถูกกำหนดไว้แล้ว สามารถแก้ปัญหาพื้นฐานที่พบเป็นประจำ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎี เครื่องมือและข้อมูลพื้นฐานภายใต้การควบคุมแนะแนวของผู้บังคับบัญชา
26
National Qualification of Vocational Competence 2
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 2 National Qualification of Vocational Competence 2 ความรู้ (Knowledge) - มีความรู้ในการเขียน อ่าน พูด คำนวณ ขั้นพื้นฐาน - มีความรู้ความเข้าใจในวิชาชีพพื้นฐานและภาษาต่างประเทศที่เกี่ยวกับงาน หรือภาษา ในประเทศอาเซียน ที่ใช้ในการสื่อสารเบื้องต้น - มีทักษะฝีมือ สามารถทำงานประจำตามลักษณะวิชาชีพ ดัดแปลงและเลือกใช้วิธีการทำงานที่เหมาะสม - มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน - มีทักษะการคิด การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ สามารถสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศหรือภาษาในประเทศอาเซียนในการประกอบอาชีพเบื้องต้น สามารถแก้ปัญหาพื้นฐาน ที่พบประจำและมีทักษะเรื่องความปลอดภัย ผลผลิต (Productivity) สามารถเลือกวิธีการขั้นพื้นฐาน เครื่องมือ วัสดุ และข้อมูลสำหรับการทำงานในสาขาอาชีพของตนเอง สามารถปฏิบัติงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ทำงานสำเร็จตามที่ได้ รับมอบหมาย ถูกต้อง ตรงต่อเวลา ทักษะ (Skills)
27
National Qualification of Vocational Competence 2
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 2 National Qualification of Vocational Competence 2 นวัตกรรม (Innovation) วิเคราะห์และแก้ปัญหา โดยปฏิบัติตามกฎเกณฑ์การปฏิบัติงานที่กำหนดไว้ การประยุกต์ใช้ (Application) ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพตามกรอบมาตรฐานที่กำหนด แก้ปัญหาที่พบบ่อยได้ ความรับผิดชอบ (Responsibility) มีการดูแลและควบคุมเป็นประจำ และมีอำนาจในการตัดสินใจอย่างจำกัด
28
National Diploma Qualification of Vocational Competence 3
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 3 National Diploma Qualification of Vocational Competence 3 คำจำกัดความ คำอธิบายเบื้องต้น Skilled personnel/worker ผู้ปฏิบัติงาน เฉพาะทาง มีทักษะระดับฝีมือและเทคนิคในการปฎิบัติงาน กระบวนการคิดและปฏิบัติที่หลากหลาย สามารถแก้ปัญหาทางเทคนิคควบคู่กับการใช้คู่มือ และ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องภายใต้การแนะแนวของผู้บังคับบัญชา
29
National Diploma Qualification of Vocational Competence 3
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 3 National Diploma Qualification of Vocational Competence 3 - มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ วิธีการ ในสาขาวิชาชีพเฉพาะ - มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการความปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง - มีความรู้ ความเข้าใจ ในภาษาต่างประเทศหรือภาษาในประเทศอาเซียน ที่ใช้ในการประกอบอาชีพ - มีทักษะระดับฝีมือเฉพาะทางและเทคนิคในการปฎิบัติงาน - มีทักษะในการเชื่อมโยงความรู้ในการปฏิบัติงานที่รับผิดชอบ มีทักษะด้านความปลอดภัย การสื่อสารด้วยภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ หรือภาษาในประเทศอาเซียน และมีทักษะพื้นฐานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถใช้คู่มือและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการภายในขอบเขตของตนเอง ในการทำงาน ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) ผลผลิต (Productivity)
30
National Diploma Qualification of Vocational Competence 3
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 3 National Diploma Qualification of Vocational Competence 3 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้อย่างง่าย ทำงานอย่างอิสระและรับผิดชอบในงานประจำ ของตนเองได้ นวัตกรรม (Innovation) การประยุกต์ใช้(Application) มีความคิดริเริ่มสิ่งใหม่ๆ และสามารถปฏิบัติได้อย่างมีหลักการ แก้ปัญหาที่พบเจอบ่อยได้ ความรับผิดชอบ(Responsibility) มีการแนะนำทั่วไป สามารถตัดสินใจและวางแผนเบื้องต้นได้
31
ผู้เชี่ยวชาญในอาชีพระดับต้น, ผู้บริหารระดับต้น
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 4 National Advanced Diploma Qualification of Vocational Competence คำจำกัดความ คำอธิบายเบื้องต้น supervisors, foremen, superintendents academically qualified workers, junior management, ผู้เชี่ยวชาญในอาชีพระดับต้น, ผู้บริหารระดับต้น มีทักษะทางเทคนิคในการปฎิบัติงาน มีทักษะ ทางความคิดและปฏิบัติที่หลากหลาย ครอบคลุม การปฏิบัติงาน หาข้อสรุปและการตัดสินใจแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับงานโดยใช้ทฤษฎีและเทคนิคอย่างอิสระด้วยตนเอง
32
National Advanced Diploma Qualification of Vocational Competence
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 4 National Advanced Diploma Qualification of Vocational Competence นำความรู้ความเข้าใจในวิชาการและวิชาชีพ ความปลอดภัย ความรู้ภาษาต่างประเทศ หรือภาษาในประเทศอาเซียน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้ทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องและการบริหารจัดการระดับต้นมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม - มีทักษะทางเทคนิคในการปฎิบัติงาน - มีทักษะในการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติงานที่รับผิดชอบ - มีทักษะด้านความปลอดภัย ด้านการสื่อสารด้วยภาษาไทย ภาษาต่างประเทศหรือ ภาษาในประเทศอาเซียน - มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) ผลผลิต (Productivity) สามารถแก้ปัญหาเฉพาะด้านที่เกี่ยวข้องกับงาน โดยใช้ความรู้ทางทฤษฎี และเทคนิค นวัตกรรม (Innovation) สามารถปฏิบัติงานที่หลากหลาย แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้
33
National Advanced Diploma Qualification of Vocational Competence
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 4 National Advanced Diploma Qualification of Vocational Competence สามารถปฏิบัติงานที่หลากหลาย แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ การประยุกต์ใช้(Application) สามารถปฏิบัติงานที่หลากหลาย แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ ความรับผิดชอบ(Responsibility) มีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานโดยรวม สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
34
National Qualification of Professional Competency
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 5 National Qualification of Professional Competency คำจำกัดความ คำอธิบายเบื้องต้น Professionally qualified, and mid-management ผู้เชี่ยวชาญในอาชีพ ผู้บริหาร ระดับกลาง มีทักษะทางเทคนิคในการปฎิบัติงาน มีทักษะ ในการปฏิบัติงานที่ซับซ้อน มีส่วนร่วมในการวางแผน บริหารจัดการ และกำหนดนโยบายขององค์กรโดย ใช้ทฤษฎและเทคนิคในการแก้ปัญหาอย่างอิสระ สามารถพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่ๆได้ สามารถใช้ภาษาต่างประเทศและเทคโนโลยีในการปฏิบัติงานและสามารถอบรมและฝึกฝนบุคคลอื่นได้
35
National Qualification of Professional Competency
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 5 National Qualification of Professional Competency ความรู้ (Knowledge) - มีความรู้ความเข้าใจที่ครอบคลุม สอดคล้องและเป็นระบบในสาขาวิชาชีพ - มีความรู้และทักษะที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพในเชิงลึก การพัฒนาการเรียนรู้ทางวิชาการและการบริหารระดับกลาง ทักษะ (Skills) - มีทักษะทางเทคนิคในการปฏิบัติงาน - มีทักษะในการวางแผนการบริหารจัดการในการทำงาน การผลิตหรือการบริการ การปฏิบัติงานที่ซับซ้อน การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี การใช้ภาษาต่างประเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับสากล ผลผลิต (Productivity) สามารถแก้ปัญหาและกำหนดกระบวนการทำงาน แผนงาน ประเมินผลการทำงาน โดยพิจารณาครอบคลุมถึงผลกระทบในการทำงาน นวัตกรรม (Innovation) มีทักษะเฉพาะทาง มีความรู้ความเชี่ยวชาญในอาชีพ กำหนดแนวทางในการแก้ปัญหา ที่ซับซ้อน สามารถเลือกวิธีในการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
36
National Qualification of Professional Competency
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 5 National Qualification of Professional Competency การประยุกต์ใช้(Application) สามารถปฏิบัติงานที่ซับซ้อน และใช้ทฤษฎีในการแก้ปัญหาได้อย่างอิสระ ความรับผิดชอบ(Responsibility) มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและวางแผน สามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีและเทคนิค อย่างอิสระ
37
National Qualification of Higher Professional Competency
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 6 National Qualification of Higher Professional Competency คำจำกัดความ คำอธิบายเบื้องต้น Experienced Specialists and Senior management ผู้เชี่ยวชาญในอาชีพ ผู้บริหารในอาชีพระดับสูง มีทักษะในการบริหารจัดการ วิเคราะห์และประเมินเพื่อแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนและที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ โดยสามารถนำองค์ความรู้ และทักษะจากสาขาอาชีพอื่นๆที่มีความหลากหลายมาประยุกต์ใช้ได้ สามารถกำหนดนโยบายกลยุทธ์ขององค์กรโดยจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ
38
National Qualification of Higher Professional Competency
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 6 National Qualification of Higher Professional Competency ความรู้ (Knowledge) มีความรู้ระดับสูงทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในทางวิชาชีพและวิชาการที่เกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติงาน และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้า วิจัยและสร้างองค์ความรู้ใหม่ การบริหารจัดการองค์ความรู้และพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ในวิชาชีพ และการบริหารจัดการในระดับค่อนข้างสูง ทักษะ (Skills) ใช้ความรู้ทางทฤษฎีและประสบการณ์จากการปฏิบัติ เพื่อศึกษาวิเคราะห์ประเด็นปัญหา ที่ซับซ้อน โดยระบุแหล่งข้อมูลและเทคนิคการวิเคราะห์ต่างๆ เพื่อนำไปสู่การสรุปผล และจัดทำข้อเสนอในการแก้ปัญหาและการพัฒนางานในอนาคต มีทักษะในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การวิจัย การพัฒนานวัตกรรมและการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวิชาการ และวิชาชีพ ผลผลิต (Productivity) มีความเป็นมืออาชีพในการจัดการทรัพยากร กำหนดกระบวนการวิธีการผลิต การให้บริการ มีความสามารถในการตัดสินใจในกิจการหรือโครงการที่รับผิดชอบ สนับสนุนและจัดการการพัฒนาบุคคลหรือกลุ่มคนในอาชีพนั้นๆ
39
National Qualification of Higher Professional Competency
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 6 National Qualification of Higher Professional Competency นวัตกรรม (Innovation) มีการพัฒนานวัตกรรมหรือวิธีการใหม่ การรวบรวมองค์ความรู้จากสาขาที่แตกต่างเพื่อพัฒนานวัตกรรมในสาขาอาชีพของตนเอง พิจารณาวิเคราะห์การใช้กลยุทธ์ใหม่ หรือกระบวนการใหม่ที่มีผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และได้พัฒนาแนวทางในการแก้ไขผลกระทบ การประยุกต์ใช้(Application) สามารถปฏิบัติงานที่ซับซ้อนและเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ สามารถนำองค์ความรู้และทักษะ ที่หลากหลาย โดยนำนวัตกรรมที่แปลกใหม่มาแก้ปัญหาได้ ความรับผิดชอบ(Responsibility) สามารถปฏิบัติงานเฉพาะทางและซับซ้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถคิดค้นและ ใช้นวัตกรรมใหม่ๆ มาแก้วิกฤติปัญหาได้
40
National Qualification of Advanced Professional Competency
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 7 National Qualification of Advanced Professional Competency คำจำกัดความ คำอธิบายเบื้องต้น Top management, Novel & Original ผู้เชี่ยวชาญในอาชีพระดับพิเศษ ผู้บริหารอาวุโสระดับสูง มีทักษะที่เป็นเลิศในการพัฒนาการบริหารจัดการองค์กร ระบบและนวัตกรรมการทำงาน และบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนสามารถสังเคราะห์ และประเมินเพื่อแก้ไขวิกฤตปัญหาขององค์กร กำหนดทิศทางและอนาคตและเปลี่ยนวัฒนธรรมขององค์กรได้ อย่างเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ
41
National Qualification of Advanced Professional Competency
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 7 National Qualification of Advanced Professional Competency ความรู้ (Knowledge) มีความรู้ลึกซึ้งและทันสมัยในสาขาอาชีพของตนเองและสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้ความรู้ทางการวิจัย และวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างเข้มข้น คิดค้นกระบวนการ การสร้างองค์ความรู้ใหม่ และพัฒนาการจัดการบริหารองค์กร ทักษะ (Skills) มีทักษะในการวิเคราะห์สถานการณ์ใหม่ๆที่ซับซ้อน ใช้ความรู้ทางการวิจัยเพื่อพัฒนา การปฏิบัติงานและองค์ความรู้ใหม่ในวิชาชีพ มีทักษะการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระดับชาติและนานาชาติ ผลผลิต (Productivity) มีความสามารถในทางบริหารและจัดการองค์กร โดยคิดค้นกระบวนการพัฒนาบุคลากร อย่างต่อเนื่องในอาชีพของตนเองและอาจจะเป็นประโยชน์ต่ออาชีพอื่นด้วย เป็นที่ยอมรับระดับประเทศและนานาชาติ นวัตกรรม (Innovation) มีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาวิธีการหรือกระบวนการที่ทำให้เกิดการพัฒนาศักยภาพของอาชีพ โดยใช้หลักทางวิทยาศาสตร์ ในการสร้าง วิธีการหรือกระบวนการใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนั้น เป็นที่ยอมรับกับอาชีพทั้งในประเทศและต่างประเทศ
42
National Qualification of Advanced Professional Competency
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ (Professional Qualification Framework) ระดับ 7 National Qualification of Advanced Professional Competency การประยุกต์ใช้(Application) สามารถประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีได้อย่างมีประสิทธิภาพ คิดค้นวิธีการทำงานใหม่ๆเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ความรับผิดชอบ(Responsibility) กำหนดกลยุทธ์ นโยบาย แผนและการกำกับดูแล สร้างระบบงานที่มีความซับซ้อน รวมถึงการแก้ปัญหาพร้อมให้คำแนะนำกับบุคลากรในองค์กร
43
กรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน National Qualification Reference Framework
44
การเทียบเคียงระบบคุณวุฒิวิชาชีพกับกรอบคุณวุฒิอาเซียน
จากยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานอาชีพให้สอดคล้องกับทิศทางความต้องการทางเศรษฐกิจทั้งในและต่างประเทศนั้น สคช.ได้ดำเนินงานจัดทำ มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพเพิ่มอีก 23 สาขาวิชาชีพ ดังนี้ กลุ่มที่ 1 สาขาอาชีพที่เป็นกลุ่มธุรกิจและอุตสาหกรรม จำนวน 9 สาขา ได้แก่ สื่อสารมวลชน อุตสาหกรรมภาพยนตร์ ธุรกิจจัดประชุมและนิทรรศการ ธุรกิจดนตรี ธุรกิจกีฬา อาชีพ อุตสาหกรรมเครื่องเย็น อุตสาหกรรมลิฟท์และบันไดเลื่อน อุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ธุรกิจรักษาความปลอดภัย กลุ่มที่ 2 สาขาอาชีพที่เป็นอาชีพเฉพาะ จำนวน 11 สาขา ได้แก่ นักประเมินมูลค่าทรัพย์สิน นักอัญมณีศาสตร์ ช่างระบบปรับอากาศ นักผังเมือง ช่างซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ช่างเทคโนโลยีระบบเสียง นักทดสอบโดยไม่ทำลาย นักบริหารโครงการ ผู้ให้บริการนวดผ่อนคลาย นักออกแบบผลิตภัณฑ์ ผู้สอนภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) กลุ่มที่ 3 สาขาอาชีพที่ได้มีการดำเนินการจัดทำมาตรฐานอาชีพในปี แต่ยังไม่แล้วเสร็จในทุกอาชีพเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ สคช. จึงมีเป้าหมายในการดำเนินการในระยะที่ 2 จำนวน 3 สาขา ได้แก่ โลจิสติกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และธุรกิจสิ่งพิมพ์
45
การเทียบเคียงระบบคุณวุฒิในประเทศไทยกับกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ
คุณวุฒิการศึกษา พื้นฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษา ปริญญาเอก ป.บัณฑิตชั้นสูง ปริญญาโท ป.บัณฑิต ปริญญาตรี ปวส. อนุปริญญา ปวช. ม.ปลาย ม.6 + ป.วิชาชีพเฉพาะระยะสั้น2 ม.ต้น ม.3 + ป.วิชาชีพเฉพาะระยะสั้น1 คุณวุฒิวิชาชีพ มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ประกาศนียบัตร คุณวุฒิวิชาชีพ7 คุณวุฒิวิชาชีพ6 DIP II คุณวุฒิวิชาชีพ5 มรช.3 DIP I คุณวุฒิวิชาชีพ4 มรช.2 CERT IV คุณวุฒิวิชาชีพ3 มรช.1 CERT III คุณวุฒิวิชาชีพ2 คุณวุฒิวิชาชีพ1 CERT II NQF ระดับ 9 ระดับ 8 ระดับ 7 ระดับ 6 ระดับ 5 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1
46
การพัฒนาและจัดทำมาตรฐานอาชีพ
มาตรฐานอาชีพ คือ กลุ่มของหน่วยสมรรถนะ ที่ได้มาจากเจ้าของอาชีพ หรือกลุ่มอาชีพ ซึ่งต้องเป็นสมรรถนะวิชาชีพที่มีความทันสมัยและเป็นปัจจุบัน หน่วยสมรรถนะ Unit of Competence หน่วยสมรรถนะ Unit of Competence หน่วยสมรรถนะ Unit of Competence หน่วยสมรรถนะ Unit of Competence
47
สมรรถนะในความหมายของวิชาชีพ
สมรรถนะ (Competence) หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติวิชาชีพ ด้วยการบูรณาการความรู้ ทักษะ และเจตคติ ของวิชาชีพ ให้ได้ผลลัพธ์ของงานที่ดี มีความรับผิดชอบต่อผลงาน ตามบทบาท ตามหน้าที่ และตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
48
กระบวนการจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
1. ระดมความคิดเห็นจากผู้ประกอบการ บุคลากรในกลุ่มอาชีพ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดแนวทางการจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ Stakeholders Meeting 2. จัดจ้างที่ปรึกษาโครงการฯ Professional Writer contracted 3. นำเสนอข้อมูลผลการศึกษาวิเคราะห์จัดทำมาตรฐานอาชีพของต่างประเทศที่เป็นตัวอย่างที่ดีและระดมความคิดเห็นจากผู้ประกอบการ บุคลากรในกลุ่มอาชีพ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดแนวทางการจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ 4. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานเพื่อจัดทำมาตรฐานอาชีพกำหนดระดับสมรรถนะของแต่ละอาชีพและระดับตามกรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ 5. เสนอผลการจัดทำมาตรฐานอาชีพต่อคณะรับรองมาตรฐานอาชีพเพื่อพิจารณาเห็นชอบอย่างเป็นเอกฉันท์ 6. ประชาพิเคราะห์นำเสนอผลการจัดทำมาตรฐานอาชีพและรับฟังความคิดเห็นจากบุคลากรในกลุ่มอาชีพ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้อง 7. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานเพื่อจัดทำเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ 8. ประเมินคุณภาพของเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญไม่น้อยกว่า ๓ คน 9. ทดลองประเมินสมรรถนะของแต่ละระดับและสรุปผลการประเมินและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 10. สรุปผลการประเมินและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเสนอต่อคณะรับรองฯ เพื่อพิจารณาเห็นชอบอย่างเป็นเอกฉันท์ 11. สรุปผลการจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
49
สรุปการจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
จำนวน สาขาวิชาชีพ อาชีพ ชั้นคุณวุฒิ 43 462 1157
50
นิยามความหมายการพัฒนามาตรฐานอาชีพ
“คุณวุฒิวิชาชีพ (Professional Qualification)” หมายความว่า การรับรองความรู้ ความสามารถ และทักษะของบุคคลในการทำงานตามมาตรฐาน อาชีพ “มาตรฐานอาชีพ (Occupational Standards)” หมายความว่า การกำหนดระดับสมรรถนะของบุคคลในการประกอบอาชีพ “สมรรถนะ (Competency)” หมายความว่า การใช้ความรู้ ทักษะ และ ความสามารถมาประยุกต์ใช้เพื่อการประกอบอาชีพ
51
นิยามความหมายการพัฒนามาตรฐานอาชีพ
“ความมุ่งหมายหลัก (Key Purpose)” หมายความว่า ขอบข่ายโดยรวมของงาน ในระดับกลุ่มอาชีพ เป็นคำบรรยายคุณลักษณะที่แสดงถึงเป้าหมายของอาชีพที่แตกต่างจากอาชีพอื่น “บทบาทหลัก (Key Role)” หมายความว่า ขอบข่ายงานแต่ละด้านในกลุ่มอาชีพ เพื่อให้บรรลุความมุ่งหมายหลัก (Key Purpose) ของอาชีพ “หน้าที่หลัก (Key Function)” หมายความว่า ขอบข่ายของหน้าที่และความรับผิดชอบของกลุ่มงาน เฉพาะในกลุ่มอาชีพ ที่คาดหวังว่าบุคลากรสามารถจะทำได้เพื่อให้บรรลุบทบาทหลัก (Key Role)
52
นิยามความหมายการพัฒนามาตรฐานอาชีพ
“หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence)” หมายความว่า ข้อความแสดงขอบข่ายของผลลัพธ์งาน (Outcome) ที่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด สามารถกระทำได้โดยลำพังโดยบุคคลหรือกลุ่มคนในกลุ่มอาชีพ “สมรรถนะย่อย (Element of Competence)” หมายความว่า องค์ประกอบย่อยของหน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence) “เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria)” หมายความว่า ข้อกำหนดแสดงขอบข่ายของการปฏิบัติงานที่สามารถวัดและประเมินผลลัพธ์ของการทำงานได้ตามสมรรถนะย่อย และครอบคลุมหน่วยสมรรถนะ
53
นิยามความหมายการพัฒนามาตรฐานอาชีพ
“คณะทำงาน (Working Group)” หมายความว่า คณะทำงานจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ โดยต้องประกอบด้วยผู้ปฏิบัติการ หรือ ผู้ชำนาญการ หรือ ผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ในกลุ่มอาชีพมากกว่ากึ่งหนึ่ง “คณะรับรองมาตรฐานอาชีพ (Endorsement Board)” หมายความว่า คณะรับรองการจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ ที่ประกอบด้วยผู้แทนสมาคม สมาพันธ์ ชมรม มูลนิธิ สภาวิชาชีพ สภาอุตสาหกรรม สภาหอการค้า และอื่นๆ ในกลุ่มอาชีพ ผู้เชี่ยวชาญในกลุ่มอาชีพ ผู้แทนองค์กรภาครัฐ และผู้แทนสถาบัน รวมไม่น้อยกว่า ๙ คน ซึ่งคณะรับรองมาตรฐานอาชีพมีหน้าที่ให้ความเห็นชอบมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพก่อนเสนอต่อคณะกรรมการบริหารสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ
54
นิยามความหมายการพัฒนามาตรฐานอาชีพ
“เจ้าหน้าที่สอบ (Examiner)” หมายความว่า บุคลากรที่มีความสามารถในการดำเนินการสอบและประเมินตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานอาชีพ และได้การรับรองโดยสถาบัน “ผู้รับการประเมิน” หมายความถึงบุคคลที่มีสมรรถนะวิชาชีพสอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพที่เข้ารับการประเมิน
55
ข้อกำหนด เงื่อนไข และขอบเขตการดำเนินการ (TOR)
มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินการ และใช้ในการจัดจ้าง ที่ปรึกษาที่มีความเข้าใจในระบบคุณวุฒิวิชาชีพ มาเป็นผู้บริหารโครงการ เพื่อสนับสนุนกลุ่มวิสาหกิจหรือกลุ่มอาชีพ ในการ ประสานงาน จัดประชุม รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ นำเสนอ จัดทำ ร่าง เรียบเรียง มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ โดยแบ่งการดำเนินการเป็น 4 ขั้น คือ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการ ขั้นตอนที่ 2 จัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ ขั้นตอนที่ 3 พัฒนากระบวนการประเมิน และเครื่องมือประเมิน ขั้นตอนที่ 4 สรุปผลโครงการและเผยแพร่คุณวุฒิวิชาชีพ
56
ข้อกำหนด เงื่อนไข และขอบเขตการดำเนินการ (TOR)
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นการเตรียมการ 1.1 การประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อไม่น้อยกว่า 5 ช่องทาง 1.2 การประสานงานติดต่อหน่วยงานผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในกลุ่มวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดทำมาตรฐานอาชีพ และติดตามหน่วยงานดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง 1.3 ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับ กลุ่มวิสาหกิจหรือกลุ่มอาชีพ - แผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มวิสาหกิจ ทุกฉบับในประเทศ - ระบบการรับรองความสามารถของบุคคลในกลุ่มอาชีพ ที่ใช้ในประเทศไทย - การกำหนดสมรรถนะ มาตรฐานอาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพในต่างประเทศ
57
ข้อกำหนด เงื่อนไข และขอบเขตการดำเนินการ (TOR)
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นการเตรียมการ (ต่อ) 1.4 จัดประชุมนำเสนอผลการศึกษาและวิเคราะห์ให้ บุคคลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทุกหน่วยงาน ในกลุ่มวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน 2.1 การวิเคราะห์กลุ่มวิสาหกิจ เพื่อจัดทำ Functional map ส่วนต้น - กำหนดเป้าหมายหรือความมุ่งหมายหลัก (Key Purpose) ของกลุ่มวิสาหกิจ - กำหนดบทบาทหลัก (Key Role) ของกลุ่มวิสาหกิจ - กำหนดหน้าที่หลัก (Key Function) ของบุคลากรในกลุ่มวิสาหกิจ ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
58
ข้อกำหนด เงื่อนไข และขอบเขตการดำเนินการ (TOR)
ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ (ต่อ) 2.2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาหน่วยสมรรถนะ โดยคณะทำงาน ตามรูปแบบและแบบฟอร์มที่ทางสถาบันฯ กำหนด ประกอบด้วย - หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence) - สมรรถนะย่อย (Element of Competence) - เกณฑ์การปฏิบัติงาน(Performance Criteria) - ขอบเขต (Range Statement) - หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Requirements) - แนวทางการประเมิน (Assessment Guidance)
59
ข้อกำหนด เงื่อนไข และขอบเขตการดำเนินการ (TOR)
ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ (ต่อ) 2.3 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อจัดคุณวุฒิวิชาชีพ และคุณสมบัติผู้ขอรับการรับรองตามกรอบคุณวุฒิวิชาชีพและแบบฟอร์มที่ทางสถาบันฯ กำหนด ประกอบด้วย - ชื่อคุณวุฒิวิชาชีพ และชั้นความสามารถที่ให้การรับรอง - คุณลักษณะของผลการเรียนรู้ (Characteristics of Outcomes) - การเลื่อนระดับคุณวุฒิวิชาชีพ (Qualification Pathways) - หน่วยสมรรถนะในคุณวุฒิวิชาชีพที่ต้องประเมิน 2.4 จัดทำ “ร่างมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ”
60
ข้อกำหนด เงื่อนไข และขอบเขตการดำเนินการ (TOR)
ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ (ต่อ) 2.5 จัดประชุมคณะรับรองฯ เพื่อให้ความเห็นชอบใน “ร่างมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ” 2.6 จัดประชุมประชาพิเคราะห์เพื่อรับฟังความเห็น จากบุคคลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทุกหน่วยงานในกลุ่มวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน 3.1 วิเคราะห์มาตรฐานอาชีพ และกำหนดวิธีการประเมินให้สัมพันธ์กับหน่วยสมรรถนะและเกณฑ์การปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 3 พัฒนากระบวนการประเมิน และ เครื่องมือประเมิน
61
ข้อกำหนด เงื่อนไข และขอบเขตการดำเนินการ (TOR)
ขั้นตอนที่ 3 พัฒนากระบวนการประเมิน และ เครื่องมือประเมิน (ต่อ) 3.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อออกแบบเครื่องมือประเมิน และแนวคำตอบ โดยจำแนกเป็นการวัดความรู้และทักษะ ให้ครอบคลุมทุกเกณฑ์การปฏิบัติงาน 3.3 ตรวจสอบและประเมินคุณภาพของเครื่องมือ 1) ความเป็นปรนัย (Objectivity) 2) ความเที่ยงตรง (Validity) 3) ความเชื่อมั่น (Reliability) 4) ความยากง่าย (Difficulty) 5) อำนาจจำแนก (Discrimination)
62
ข้อกำหนด เงื่อนไข และขอบเขตการดำเนินการ (TOR)
ขั้นตอนที่ 3 พัฒนากระบวนการประเมิน และ เครื่องมือประเมิน (ต่อ) 3.4 จัดทำรายงานสรุปผลการตรวจสอบและประเมินคุณภาพเครื่องมือประเมิน 3.5 คัดเลือกเจ้าหน้าที่สอบที่มีคุณสมบัติตามประกาศของสถาบันฯ และให้การอบรมการใช้ เครื่องมือประเมิน และการกระบวนการประเมิน ตามรูปแบบที่สถาบันฯ กำหนด 3.6 ดำเนินการทดลองประเมินตามคุณวุฒิวิชาชีพเป้าหมาย ไม่น้อยกว่า 3 คุณวุฒิ ในแต่ละคุณวุฒิต้องใช้ผู้เข้ารับการประเมินไม่น้อยกว่า 10 คน และต้องทดลองเสมือนจริง 3.7 จัดทำรายงานสรุปผลการทดลองประเมิน
63
ข้อกำหนด เงื่อนไข และขอบเขตการดำเนินการ (TOR)
ขั้นตอนที่ 3 พัฒนากระบวนการประเมิน และเครื่องมือประเมิน (ต่อ) 3.8 จัดประชุมนำเสนอคณะรับรองฯ เพื่อให้ความเห็นชอบใน “มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ” และ “เครื่องมือประเมินและกระบวนการประเมิน” *** เสนอรายชื่อหน่วยงานที่เหมาะสมในการเป็นองค์กรรับรองฯ อย่างน้อย 1 หน่วยงาน ขั้นตอนที่ 4 สรุปผลโครงการและเผยแพร่คุณวุฒิวิชาชีพ ทำการประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อไม่น้อยกว่า 5 ช่องทาง และร่วมกับ สถาบันฯ ในการให้ข้อมูล และเผยแพร่มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ แก่บุคคลในหน่วยงานผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในกลุ่มวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้เกิดการรับรู้รับทราบ และเข้าถึงข้อมูลที่สำคัญสำหรับผู้สนใจเข้ารับการรับรอง
64
ผลการดำเนินงานการจัดทำมาตรฐานอาชีพ
\1. สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและปิโตรเคมี 2. สาขาวิชาชีพธุรกิจจัดดอกไม้ 3. สาขาวิชาชีพธุรกิจเสริมสวย (อาชีพช่างทำผมบุรุษและอาชีพช่างทำผมสตรี) 4. สาขาวิชาชีพการท่องเที่ยว การโรงแรม ภัตตาคารและร้านอาหาร - สาขาผู้ประกอบอาหาร - สาขางานโรงแรม - สาขางานท่องเที่ยว 5. สาขาวิชาชีพธุรกิจภาพถ่าย 6. สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์
65
ผลการดำเนินงานการจัดทำมาตรฐานอาชีพ
7. สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์ 8. สาขาวิชาชีพบริการยานยนต์ 9. สาขาวิชาชีพรถไฟความเร็วสูงและระบบราง 10. สาขาวิชาชีพกิจกรรมบริการเพื่อเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย (ยกเว้นกิจกรรมด้านกีฬา) (สาขาให้บริการสปา) 11. สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 12. สาขาวิชาชีพแมคคาทรอนิกส์ 13. สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิตอลคอนเทนต์
66
ผลการดำเนินงานการจัดทำมาตรฐานอาชีพ
14. สาขาวิชาชีพขนส่งชุมชน - อาชีพขับขี่รถยนต์โดยสารสาธารณะ - อาชีพผู้ขับขี่รถทัวร์โดยสาร สาขาวิชาชีพโลจิสติกส์ 16. สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ -อาชีพผู้ดูแลผู้สูงอายุ -อาชีพผู้ดูแลเด็ก 17. สาขาวิชาชีพอนุรักษ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม 18. สาขาวิชาชีพแม่บ้าน
67
ผลการดำเนินงานการจัดทำมาตรฐานอาชีพ
19. สาขาวิชาชีพบริหารงานบุคคล (อาชีพนักบริหารงานบุคคล) สาขาวิชาชีพผลิตภัณฑ์ยางพารา สาขาวิชาชีพการเชื่อม สาขาวิชาชีพการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม สาขาอุตสาหกรรมอาหาร อาชีพนักวิทยาศาสตร์อาหาร (ด้านความปลอดภัยอาหาร) สาขาการแปรรูปนม สาขาวิชาชีพมาตรวิทยา สาขาวิชาชีพธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์ สาขาวิชาชีพก่อสร้าง อาชีพผู้ควบคุมการก่อสร้าง
68
ผลการดำเนินงานการจัดทำมาตรฐานอาชีพ
26. สาขาวิชาชีพการบิน สาขาวิชาชีพบริหารทรัพย์สิน สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมเซรามิกและเครื่องเคลือบ สาขาวิชาชีพธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ สาขาวิชาชีพการออกแบบแฟชั่น สาขาวิชาชีพธุรกิจค้าปลีก สาขาวิชาชีพเกษตรกรรม สาขาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์ ระยะที่ สาขาวิชาชีพนักวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย
69
ผลการดำเนินงานการจัดทำมาตรฐานอาชีพ
35. สาขาวิชาชีพบริการการศึกษา อาชีพครูฝึกในสถานประกอบการ สาขาวิชาชีพธุรกิจความปลอดภัย 37. สาขาวิชาชีพงานภาษาต่างประเทศและล่ามแปล อาชีพผู้สอนภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) - อาชีพผู้สอนภาษาต่างประเทศ (ภาษาจีน) - อาชีพผู้สอนภาษาต่างประเทศ (ภาษาเวียดนาม) 38. สาขาวิชาชีพบริการทางการเงิน - อาชีพผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชี 39. สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมผลิตแม่พิมพ์ ระยะที่ 2
70
ผลการดำเนินงานการจัดทำมาตรฐานอาชีพ
40. สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมพลาสติก 41. สาขาวิชาชีพเกษตรกรรม -สาขาเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ 42. สาขาวิชาชีพความปลอดภัยในการทำงาน 43. สาขาวิชาชีพธุรกิจทดสอบและตรวจสอบ
71
มาตรฐานอาชีพที่จะดำเนินการใน ปี 2560
สาขาวิชาชีพ อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลการเกษตร สาขาวิชาชีพ เทคโนโลยีชีวภาพ สาขาวิชาชีพ อุตสาหกรรมก่อสร้าง ระยะที่ 2 สาขา นักวิจัยและพัฒนา สาขา อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สาขา การผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์เพื่อวินิจฉัยและติดตามผลระยะไกล สาขา บริหารโครงการก่อสร้าง สาขา ธุรกิจอาหาร สาขา ธุรกิจจัดการพื้นที่สีเขียว สาขา ผู้ประกอบอาหารฮาลาล
72
มาตรฐานอาชีพที่จะดำเนินการใน ปี 2560
สาขา ธุรกิจอีคอมเมิร์ชและเว็ปไซต์ สาขา ธุรกิจการจัดการของเสียชุมชน สาขา การติดตามผลด้านสิ่งแวดล้อม สาขา e-government สาขา การจัดการอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร สาขา ผู้บริหารหน่วยบ่มเพาะธุรกิจและอุทยานวิทยาศาตร์ไทย สาขา เกษตรสมัยใหม่/เกษตร4.0/Precision Agriculture สาขา การผลิตปศุสัตว์สมัยใหม่ สาขา เกษตรกรรมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง สาขา ธุรกิจสนามกอล์ฟ
73
เป้าหมายที่จะดำเนินการมาตรฐานอาชีพ ปี 2561
สาขาวิชาชีพ ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ระยะที่ 2 สาขาวิชาชีพ อุตสาหกรรมการผลิต Robotic ระยะที่ 2 สาขาวิชาชีพ แปรรูปสัตว์น้ำ ระยะที่2 สาขา ธุรกิจปรับปรุงพันธ์พืชและสัตว์ สาขาวิชาชีพ สื่อสารและสื่อสารมวลชน สาขา การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ สาขา นักอุทยานวิทยาศาสตร์ สาขา อุปกรณ์ส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ สาขา การจัดการที่พักอาศัยอัจฉริยะและสำหรับผู้สูงอายุ สาขา ธุรกิจบริการในนิคมอุตสาหกรรม
74
เป้าหมายที่จะดำเนินการมาตรฐานอาชีพ ปี 2562
สาขาวิชาชีพ ธุรกิจภาพยนตร์ สาขาวิชาชีพ อุตสาหกรรมผลิตเฟอร์นิเจอร์ สาขาวิชาชีพ ธุรกิจจัดประชุมและนิทรรศการ (MICE) สาขาวิชาชีพ ธุรกิจการจัดงานแต่งงาน สาขาวิชาชีพ ธุรกิจดูแลสัตว์เลี้ยง สาขาวิชาชีพ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ และผลิตภัณฑ์เหล็กหล่อ สาขาวิชาชีพ อุตสาหกรรมลิฟต์และบันไดเลื่อน สาขา ธุรกิจการธนาคาร สาขา ธุรกิจประกัน สาขา ผู้ปฏิบัติการตรวจความปลอดภัยในอาหารสำหรับผู้ประกอบอาหาร
75
องค์กรรับรองสมรรถนะบุคคล
ตามมาตรฐานอาชีพ
76
กระบวนการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ
การรับรองคือระบบหรือกลไกที่นำมาตรฐานอาชีพที่ได้ไปประเมินบุคคลเพื่อให้ได้รับประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพและใบรับรองสมรรถนะในการประกอบอาชีพซึ่งต้องมีพื้นฐานด้าน ความเป็นระบบ ความโปร่งใส ความยุติธรรม และตรวจสอบย้อนทวนกลับได้ ฯ เพื่อให้เกิดการยอมรับ เกิดความมั่นใจ และน่าเชื่อถือในเอกสารรับรองของคุณวุฒิวิชาชีพ ประกันคุณภาพการให้ใบรับรองและประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพ ISO/IEC มาตรฐานสากลว่าด้วยข้อกำหนดทั่วไปสำหรับหน่วยรับรองบุคลากร
77
โครงสร้างการรับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ
สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) (Accreditation Body) สมอ. องค์กรที่มีหน้าที่รับรองสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ (Certified Bodies)
78
การประเมินสมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพ
แบบทดสอบข้อเขียน ปรนัย / อัตนัย แบบสัมภาษณ์ แบบทดสอบปฏิบัติ / ใบงาน แบบสังเกตการณ์ปฏิบัติงานจริงโดยเจ้าหน้าที่สอบ แบบสังเกตการณ์ปฏิบัติงานจากบุคคลที่ 3 การพิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงานที่ผ่านมา (Portfolio) การพิจารณาหลักฐานการรับรองสมรรถนะอื่นๆ เป็นต้น
79
หนังสือรับรองมาตรฐานอาชีพ
80
ความร่วมมือกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) มาตรา ๓๑ บัญญัติไว้ว่า ในการดําเนินการหรือปฏิบัติหน้าที่ใด ๆ ที่เกี่ยวกับมาตรฐานอาชีพ ให้สถาบันประสานและตกลงร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน สถาบันและกรมพัฒนาฝีมือแรงงานลงนามใน MOU เพื่อนำมาตรฐานอาชีพไปใช้พัฒนาฝีมือแรงงาน พร้อมทั้งร่วมกันพัฒนาองค์กรที่ทดสอบฝีมือแรงงานและรับรองสมรรถนะ วางแผนการจัดทำมาตรฐานอาชีพในแต่ละอุตสาหกรรมร่วมกัน ร่วมมือ 3 ฝ่ายระหว่าง สคช. กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และกระทรวงการท่องเที่ยว เพื่ออบรมและประเมินผู้ประกอบอาชีพการท่องเที่ยวและการโรงแรม ตาม MRA ของ ASEAN
81
องค์กรรับรองสมรรถนะฯ 103 แห่ง
ภาคกลาง ภาคตะวันออก กรุงเทพ และปริมณฑลฯ วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี (จัดดอกไม้, บริการยานยนต์) มจพ. (ICT, แมคคาทรอนิกส์) สมาคมอุตสาหกรรมซอฟแวร์ไทย (ICT) มจธ. ((ICT, การพิมพ์) สมาคมขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์ไทย (โลจิสติกส์) สมาคมตัวแทนออกของรับอนุญาตไทย (โลจิสติกส์) สมาคมผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ, ม.ราชภัฏรำไพพรรณี (โลจิสติกส์) สมาคมบริหารงานจัดซื้อและซัพพลายเชนแห่งประเทศไทย (โลจิสติกส์) วิทยาลัยดุสิตธานี (กรุงเทพ พัทยา)(ผู้ประกอบอาหาร, สปา) ม.ราชภัฏสวนดุสิต (แท็กซี่) ม.เกษตรศาสตร์ (แมคคาทรอนิกส์) ร.ร.เสริมสวยชลาชล (ช่างทำผม) ร.ร.เสริมสวยและออกแบบทรงผมฯ ณรงค์ (ช่างทำผม) สมาคมธุรกิจถ่ายภาพ (ธุรกิจถ่ายภาพ) ม.สุโขทัยธรรมาธิราช (อุตสาหกรรมการพิมพ์) มทร.ธัญบุรี (แมคคาทรอนิกส์, การพิมพ์, สปา, มัคคุเทศก์) บ. ทีโอ จำกัด (บริการยานยนต์) การบินไทย (ผู้ประกอบอาหาร, งานโรงแรม) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (บริการยานยนต์) สมาคมผู้ประกอบการรถขนส่งทั่วประเทศ (รถทัวร์) รถไฟฟ้า รฟท (ระบบราง) เทคนิคสมุทรปราการ (แม่พิมพ์, ยานยนต์) วิทยาลัยสารพัดช่างสมุทรปราการ (ช่างทำผม) สถาบันไทย-เยอรมัน (แมคคาทรอนิกส์) เทคนิคสัตหีบ (บริการยานยนต์, ผลิตแม่พิมพ์) สมาคมผู้ประกอบการขนส่งแหลมฉบัง (โลจิสติกส์) เทคนิคมาบตาพุด (ปิโตรเลียม) ดุสิตธานี (อาหาร สปา) ศรีวิชัยอาชีวศึกษา (ดูแลผู้สูงอายุ) ม.มหิดล (ยางฯ ICT ดูแลเด็ก) ชีวาศรม (สปา) อาชีวศึกษานครปฐม (ประกอบอาหารไทย เทคนิคจันทบุรี (บริการยานยนต์) สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (ผู้ประกอบอาหารไทย บริหารงานบุคคล) PMAT (บริหารงานบุคคล)
82
องค์กรรับรองสมรรถนะฯ 103 แห่ง
ส่วนภูมิภาคฯ อาชีวศึกษาเชียงราย (ผู้ประกอบอาหาร, จัดดอกไม้, ตัดเย็บเสื้อผ้า) ม.ราชภัฎเชียงราย (โลจิสติกส์) ม.ราชภัฎลำปาง (อนุรักษ์งานพื้นบ้านฯ) ม.เชียงใหม่ ม.พายัพ (ICT) เฮลท์ ล้านนาสปา (สปา) มทร.ล้านนา (แมคคาทรอนิกส์) อาชีวศึกษาเชียงใหม่ (ผู้ประกอบอาหาร) ม.นอร์ทเชียงใหม่ (โลจิสติกส์) อาชีวศึกษาแพร่ (จัดดอกไม้, ตัดเย็บเสื้อผ้า, ผู้ประกอบอาหาร) ม.พะเยา (ICT) อาชีวศึกษาอุดรธานี (ผู้ประกอบอาหาร) สถาบันผ้าทอมือ หริภุญชัย (อนุรักษ์งานพื้นบ้านฯ) เทคนิคอุบลราชธานี (บริการยานยนต์, ICT) ม.อุบล (ICT) ม.มหาสารคาม (ผู้ประกอบอาหาร) มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (โลจิสติกส์) สุโข สปา (สปา) อาชีวศึกษาภูเก็ต (ผู้ประกอบอาหาร) มทร. อีสาน (แมคคาทรอนิกส์) วท. นครราชมสีมา (ยานยนต์) สมาคมขนส่งสินค้าภาคอีสาน (โลจิสติกส์) อาชีวศึกษาสงขลา (ผู้ประกอบอาหารไทย) ม.สงขลานครินทร์ (โลจิสติกส์ ICT)
83
สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)
84
มาตรฐานด้านดิจิทัล แบ่งออกเป็น 2 ด้าน
C:\Users\chitimon\Google Drive\pop\TPQI_Work\Digital_Gov\Korea\Icon\learning.png IT ICT Professional Non-IT Digital Literacy
85
ICT Professional มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ ระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2 SmartArt custom animation effects: vertical block list In the Direction list, select From Center (third option from the left). Under Gradient stops, click Add or Remove until two stops appear in the drop-down list. (Intermediate) To reproduce the SmartArt effects on this slide, do the following: Also under Gradient stops, customize the gradient stops that you added as follows: On the Home tab, in the Slides group, click Layout, and then click Blank. Select Stop 1 from the list, and then do the following: On the Insert tab, in the Illustrations group, click SmartArt. In the Choose a SmartArt Graphic dialog box, in the left pane, click List. In the List pane, click Vertical Block List (fourth row, third option from the left), and then click OK to insert the graphic into the slide. In the Stop position box, enter 0%. Click the button next to Color, and then under Theme Colors select White, Background 1 (first row, first option from the left). To create a fourth row, do the following: Select Stop 2 from the list, and then do the following: Select the third block shape (the shape on the left side) at the bottom of the graphic, under SmartArt Tools, on the Design tab, in the Create Graphic group, click the arrow next to Add Shape, and select Add Shape After. In the Stop position box, enter 100%. Click the button next to Color, and then under Theme Colors select White, Background 2, Darker 25% (fourth row, first option from the left). To add a bulleted rectangle next to the fourth block shape, select the fourth block shape, and then under SmartArt Tools, on the Design tab, in the Create Graphic group, click Add Bullet. To reproduce the animation effects on this slide, do the following: On the Animations tab, in the Animations group, click Custom Animation. To enter numbers and text in the blocks and rectangles, select the graphic, and then click one of the arrows on the left border. In the Type your text here dialog box, enter text for each shape. (Note: In the example slide, the first-level text boxes contain “1,” “2,” “3,” and “4.” There should be only one second-level text box for each first-level box (delete the second bullet), and they contain “First statement,” “Second statement,” and so on.) On the slide, select the SmartArt graphic, and then in the Custom Animation task pane, do the following: Click Add Effect, point to Entrance, and select More Effects. In the Add Entrance Effect dialog box, under Subtle select Fade. With the SmartArt graphic still selected, click Add Effect, point to Motion Paths, and select Right. On the slide, right-click the motion path and select Reverse Path Direction. To reproduce the rectangle effects on this slide, do the following: Press and hold CTRL, and then select each of the rectangles (on the right side of the graphic). In the Custom Animation task pane, do the following: Press and hold CTRL, and select the two effects in the task pane. Click the arrow to the right of the selected effects and select Effect Options. In the Effects Options dialog box, do the following: Under SmartArt Tools, on the Format tab, in the Shapes group, click the arrow to the right of Change Shape, and under Rectangles select Snip Diagonal Corner Rectangle (fifth option from the left). With the rectangles still selected, drag one of the left center adjustment handles 1” to the left to lengthen all four rectangles. On the Timing tab, in the Speed list, select Fast. With the rectangles still selected, on the Home tab, in the Font group, in the Font Size box, select 36, and in the Font Color list, under Theme Colors select White, Background 1 (first row, first option from the left). On the SmartArt Animation tab, in the Group graphic list, select One by one. Click the double arrows under the two effects to show all the effects for all the shapes (16 effects). With the rectangles still selected, on the Home tab, in the bottom right corner of the Paragraph group, click the Paragraph dialog box launcher. In the Paragraph dialog box, under Indentation, do the following: Press and hold CTRL, select all of the effects, and then under Modify selected effects, in the Start list, select With Previous. In the Before Text box, enter 1”. Press and hold CTRL, select the first, third, fifth, and seventh effects (fade entrance effects), and then do the following: In the Special list, select Hanging. Next to the Special list, in the By box, enter 1”. Select the SmartArt graphic, and then under SmartArt Tools, on the Design tab, in the SmartArt Styles group, click More Styles, and under 3-D select Polished Effect (first option from the left). Click Change, point to Entrance, and select More Effects. In the Change Entrance Effect dialog box, under Moderate, select Grow & Turn. Select the first rectangle from the top (“First statement” in the example slide), and on the Home tab, in the Drawing group, click the arrow to the right of Shape Fill, and under Theme Colors select Red, Accent 2 (first row, sixth option from the left). Under Modify: Grow & Turn, in the Start list, select After Previous. Press and hold CTRL, and select the ninth, 11th, 13th, and 15th effects (right motion paths). Click the arrow next to one of the selected effects, and then click Remove. Select the second rectangle from the top (“Second statement” in the example slide), and on the Home tab, in the Drawing group, click the arrow to the right of Shape Fill, and under Theme Colors select Olive Green, Accent 3 (first row, seventh option from the right). Drag the ninth effect (right motion path) until it is third in the list of effects. Drag the 10th effect (right motion path), until it is sixth in the list of effects. Select the third rectangle from the top (“Third statement” in the example slide), and on the Home tab, in the Drawing group, click the arrow to the right of Shape Fill, and under Theme Colors select Purple, Accent 4 (first row, eighth option from the left). Drag the 11th effect (right motion path), until it is ninth in the list of effects. To reproduce the background effects on this slide, do the following: Select the fourth rectangle from the top (“Fourth statement” in the example slide), and on the Home tab, in the Drawing group, click the arrow to the right of Shape Fill, and under Theme Colors select Orange, Accent 6 (first row, tenth option from the left). Right-click the slide background area, and then click Format Background. In the Format Background dialog box, click Fill in the left pane, select Gradient fill in the Fill pane, and then do the following: Click the button next to Direction, and then click From Center (third option from the left). To reproduce the circles on this slide, do the following: Press and hold CTRL, and then select the four block shapes (the shapes on the left side) in the SmartArt graphic, and then under SmartArt Tools, on the Format tab, in the Shapes group, click the arrow to the right of Change Shape, and under Basic Shapes select Oval (first row, first option from the left). On the slide, drag one of the top right adjustment handles to the left to change the ovals into circles and to decrease their size. In the Stop position box, enter 33%. Also with the four circles selected, drag the circles until they cover the bullet on the rectangles, and then on the Home tab, in the Font group, in the Font Color list, under Theme Colors select White, Background 1, Darker 50% (sixth row, first option from the left). Also on the Home tab, in the bottom right corner of the Drawing group, click the Format Shape dialog box launcher. In the Format Shape dialog box, click Fill in the left pane, select Gradient fill in the Fill pane, and then do the following: Click the button next to Color, and then under Theme Colors select White, Background 1, Darker 25% (fourth row, first option from the left). In the Type list, select Radial. IT
86
สาขา Software & Applications ระยะที่ 1 และ 2
สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ (ICT Professional) สาขา Software & Applications ระยะที่ 1 และ 2 1 นักวิเคราะห์ความต้องการทางธุรกิจ 2 นักวิเคราะห์ออกแบบระบบ 3 นักพัฒนาระบบ 4 นักทดสอบระบบ 5 ผู้ควบคุมคุณภาพ 6 นักออกแบบสถาปัตยกรรมด้านเทคโนโลยีคลาวด์ 7 นักพัฒนาซอฟต์แวร์ด้านเทคโนโลยีคลาวด์ 8 นักพัฒนาซอฟต์แวร์ด้านอุปกรณ์เคลื่อนที่ 9 นักพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่ออินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง 10 นักออกแบบสถาปัตยกรรมด้านซอฟต์แวร์
87
สาขา Hardware ระยะที่ 1 และ 2
สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ (ICT Professional) สาขา Hardware ระยะที่ 1 และ 2 1 นักออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอซีที 2 ผู้จัดหาและคัดเลือกวัสดุและอุปกรณ์สำหรับการผลิตผลิตภัณฑ์ไอซีที 3 ผู้ผลิตและตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ไอซีที 4 ผู้ให้บริการด้านคอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์ 5 นักพัฒนาระบบสมองกลฝังตัว 6 ผู้สนับสนุนด้านไอทีสำหรับธุรกิจขนาดย่อม (SMEs)
88
สาขา Telecommunication ระยะที่ 1 และ 2
สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ (ICT Professional) สาขา Telecommunication ระยะที่ 1 และ 2 1 ช่างสื่อสัญญาณโทรคมนาคมด้านไมโครเวฟ 2 นักเทคโนโลยีสื่อสัญญาณโทรคมนาคมด้านไมโครเวฟ 3 ช่างสื่อสัญญาณโทรคมนาคมด้านระบบรับ-ส่งคลื่นวิทยุสำหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ 4 นักเทคโนโลยีสื่อสัญญาณโทรคมนาคมด้านระบบรับ-ส่งคลื่นวิทยุสำหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ 5 ช่างโครงข่ายปลายทางด้านเครือข่ายใยแก้วนำแสง 6 ช่างควบคุมโครงข่ายหลักโทรคมนาคม 7 นักเทคโนโลยีควบคุมโครงข่ายหลักโทรคมนาคม 8 ช่างรับสัญญาญผ่านดาวเทียม 9 นักเทคโนโลยีด้านการสื่อสารผ่านดาวเทียม
89
สาขา Network & Security ระยะที่ 1 และ 2
สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ (ICT Professional) สาขา Network & Security ระยะที่ 1 และ 2 1 ช่างสนับสนุนด้านเทคนิค 2 นักบริหารจัดการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 3 นักบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยระบบเครือข่ายและคอมพิวเตอร์ 4 นักจัดการความมั่นคงระบบสารสนเทศ 5 นักจัดการอุปกรณ์พกพาและเครือข่ายไร้สาย
90
Project Management ระยะที่ 1
สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ (ICT Professional) Project Management ระยะที่ 1 1 นักบริหารโครงการสารสนเทศ E-Learning ระยะที่ 1 1 นักออกแบบเนื้อหา 2 นักพัฒนาระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ 3 นักพัฒนาคอร์สแวร์
91
นักออกแบบโครงเรื่องแอนิเมชัน 2 นักทัศนศิลป์ 3 นักเขียนสตอรี่บอร์ด 4
สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ (ICT Professional) Animation ระยะที่ 1 1 นักออกแบบโครงเรื่องแอนิเมชัน 2 นักทัศนศิลป์ 3 นักเขียนสตอรี่บอร์ด 4 นักผลิตโครงสร้างตัวละครแอนิเมชัน 5 นักสร้างภาพแอนิเมชัน 6 ช่างตัดต่อแอนิเมชัน 7 นักออกแบบเสียงแอนิเมชัน 8 นักบริหารโครงการ
92
มาตรฐานสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) เพื่อพัฒนาสมรรถนะของกำลังคนรองรับเศรษฐกิจดิจิทัล
Non-IT
93
มาตรฐานสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัล (Digital Literacy)
ระดับ หน้าที่หลัก คำอธิบาย หน่วยสมรรถนะ ระดับพื้นฐาน เข้าถึงและตระหนักดิจิทัล (Digital Awareness and Digital Access) เข้าถึงโลกดิจิทัล สามารถใช้งานอุปกรณ์ไอทีและติดต่อสื่อสารบนสื่ออินเทอร์เน็ตได้อย่างปลอดภัย โดยตระหนักถึงกฎหมายและจริยธรรม รวมทั้งรู้จักและเข้าใช้บริการพื้นฐานและทำธุรกรรมออนไลน์ขั้นต้นได้ ใช้คอมพิวเตอร์ ใช้อินเทอร์เน็ต ใช้ดิจิทัลอย่างปลอดภัย ระดับการทำงานเบื้องต้น ใช้ดิจิทัลเพื่อการทำงาน (Digital for Workplace) สามารถใช้งานเครื่องมือด้านดิจิทัลหรือแอพพลิเคชันขั้นต้นสำหรับการทำงานได้ ใช้โปรแกรมประมวลผลคำ ใช้โปรแกรมตารางคำนวณ ใช้โปรแกรมนำเสนองาน ระดับประยุกต์ในการทำงาน ใช้ดิจิทัลเพื่อการทำงานร่วมกัน (Digital collaboration) สามารถเลือกใช้งานเครื่องมือต่าง ๆ ด้านดิจิทัล ได้หลากหลายและประยุกต์ใช้ในงานได้มากขึ้น ทำงานร่วมกันแบบออนไลน์ ใช้โปรแกรมสร้างสื่อดิจิทัล ใช้ดิจิทัลเพื่อความมั่นคงปลอดภัย
94
สมรรถนะด้านดิจิทัล (EOC)
มาตรฐาน Digital Literacy เพื่อนำร่องเตรียมความพร้อมนักเรียนและนักศึกษาเข้าสู่การประเมินสมรรถนะ สมรรถนะด้านดิจิทัล (EOC) 1. ใช้งานอุปกรณ์เคลื่อนที่ 12. ใช้งานโปรแกรมประชุมทางไกลผ่านจอภาพ 2. สืบค้นข้อมูล 13. ปฏิบัติตามหลักการเพื่อรักษาความปลอดภัย 3. ใช้งานปฏิทิน 14. ปฏิบัติตามหลักการใช้งานเว็บบราวเซอร์อย่างปลอดภัย 4. ใช้งานสื่อสังคม 15. จัดการกับรูปแบบการพิสูจน์ตัวตน 5. ใช้งานโปรแกรมการสื่อสาร 16. ใช้โปรแกรมประมวลผลคำ Word Processing 6. ใช้บัญชีรายชื่อบุคคล 17. ใช้โปรแกรมตารางคำนวณ Spreadsheets 7. ป้องกันภัยคุกคาม 18. ใช้โปรแกรมนำเสนอ Presentations 8. ใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย 19.ทำงานร่วมกันแบบออนไลน์ Online Collaboration 9. ใช้อินเทอร์เน็ตอย่างถูกต้อง 20. ใช้โปรแกรมสร้างสื่อดิจิทัล Digital Media 10. ใช้งานพื้นที่แบบข้อมูลออนไลน์ 21. ใช้ดิจิทัลเพื่อความมั่นคงปลอดภัย IT Security 11. ใช้งานพื้นที่แบ่งปันข้อมูลออนไลน์ L1 เน้น การเข้าถึงโลกดิจิทัล ใช้อินเทอร์เน็ต เบราเซอร์ ปฏิทิน การค้นหาข้อมูล ใช้อินเทอร์เน็ตปลอดภัย กฎหมายทางcomputer ทักษะเบื้องต้นที่ต้องรู้ L2 เน้น เมื่อเราเข้าสู่โลกการทำงานแล้ว เราควรต้องใช้ word excel ppt L3 เน้น การทำงานแบบมืออาชีพมากขึ้น เน้นเครื่องมือด้านดิจิทัล ทำงานร่วมกัน เช่น Digital สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) : บันไดสู่ความก้าวหน้าในอาชีพ
95
เทียบเคียงมาตรฐานสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัล ของ TPQI กับ ICDL และ IC3
DL Level 3 ใช้ดิจิทัลเพื่อการทำงานร่วมกัน ทำงานร่วมกันแบบออนไลน์ ICDL Modules Online Collaboration and IT Security IC3 Living online Basic Adobe/Dreamweaver ใช้โปรแกรมสร้างสื่อดิจิทัล ใช้ดิจิทัลเพื่อความมั่นคงปลอดภัย DL Level 2 ใช้ดิจิทัลเพื่อการทำงาน ใช้โปรแกรมนำเสนองาน Word processing, Spreadsheets and Presentations Key Applications ใช้โปรแกรมตารางคำนวณ ใช้โปรแกรมประมวลผลคำ Level 1 เข้าถึงและตระหนักดิจิทัล ใช้คอมพิวเตอร์ Online Essentials and Computer Essentials Computer Fundamental, Living online ใช้อินเทอร์เน็ต ใช้ดิจิทัลอย่างปลอดภัย Smart Art custom animation effects: vertical block list In the Direction list, select From Center (third option from the left). Under Gradient stops, click Add or Remove until two stops appear in the drop-down list. (Intermediate) To reproduce the SmartArt effects on this slide, do the following: Also under Gradient stops, customize the gradient stops that you added as follows: On the Home tab, in the Slides group, click Layout, and then click Blank. Select Stop 1 from the list, and then do the following: On the Insert tab, in the Illustrations group, click SmartArt. In the Choose a SmartArt Graphic dialog box, in the left pane, click List. In the List pane, click Vertical Block List (fourth row, third option from the left), and then click OK to insert the graphic into the slide. In the Stop position box, enter 0%. Click the button next to Color, and then under Theme Colors select White, Background 1 (first row, first option from the left). To create a fourth row, do the following: Select Stop 2 from the list, and then do the following: Select the third block shape (the shape on the left side) at the bottom of the graphic, under SmartArt Tools, on the Design tab, in the Create Graphic group, click the arrow next to Add Shape, and select Add Shape After. In the Stop position box, enter 100%. Click the button next to Color, and then under Theme Colors select White, Background 2, Darker 25% (fourth row, first option from the left). To add a bulleted rectangle next to the fourth block shape, select the fourth block shape, and then under SmartArt Tools, on the Design tab, in the Create Graphic group, click Add Bullet. To reproduce the animation effects on this slide, do the following: On the Animations tab, in the Animations group, click Custom Animation. To enter numbers and text in the blocks and rectangles, select the graphic, and then click one of the arrows on the left border. In the Type your text here dialog box, enter text for each shape. (Note: In the example slide, the first-level text boxes contain “1,” “2,” “3,” and “4.” There should be only one second-level text box for each first-level box (delete the second bullet), and they contain “First statement,” “Second statement,” and so on.) On the slide, select the SmartArt graphic, and then in the Custom Animation task pane, do the following: Click Add Effect, point to Entrance, and select More Effects. In the Add Entrance Effect dialog box, under Subtle select Fade. With the SmartArt graphic still selected, click Add Effect, point to Motion Paths, and select Right. On the slide, right-click the motion path and select Reverse Path Direction. To reproduce the rectangle effects on this slide, do the following: Press and hold CTRL, and then select each of the rectangles (on the right side of the graphic). In the Custom Animation task pane, do the following: Press and hold CTRL, and select the two effects in the task pane. Click the arrow to the right of the selected effects and select Effect Options. In the Effects Options dialog box, do the following: Under SmartArt Tools, on the Format tab, in the Shapes group, click the arrow to the right of Change Shape, and under Rectangles select Snip Diagonal Corner Rectangle (fifth option from the left). With the rectangles still selected, drag one of the left center adjustment handles 1” to the left to lengthen all four rectangles. On the Timing tab, in the Speed list, select Fast. With the rectangles still selected, on the Home tab, in the Font group, in the Font Size box, select 36, and in the Font Color list, under Theme Colors select White, Background 1 (first row, first option from the left). On the SmartArt Animation tab, in the Group graphic list, select One by one. Click the double arrows under the two effects to show all the effects for all the shapes (16 effects). With the rectangles still selected, on the Home tab, in the bottom right corner of the Paragraph group, click the Paragraph dialog box launcher. In the Paragraph dialog box, under Indentation, do the following: Press and hold CTRL, select all of the effects, and then under Modify selected effects, in the Start list, select With Previous. In the Before Text box, enter 1”. Press and hold CTRL, select the first, third, fifth, and seventh effects (fade entrance effects), and then do the following: In the Special list, select Hanging. Next to the Special list, in the By box, enter 1”. Select the SmartArt graphic, and then under SmartArt Tools, on the Design tab, in the SmartArt Styles group, click More Styles, and under 3-D select Polished Effect (first option from the left). Click Change, point to Entrance, and select More Effects. In the Change Entrance Effect dialog box, under Moderate, select Grow & Turn. Select the first rectangle from the top (“First statement” in the example slide), and on the Home tab, in the Drawing group, click the arrow to the right of Shape Fill, and under Theme Colors select Red, Accent 2 (first row, sixth option from the left). Under Modify: Grow & Turn, in the Start list, select After Previous. Press and hold CTRL, and select the ninth, 11th, 13th, and 15th effects (right motion paths). Click the arrow next to one of the selected effects, and then click Remove. Select the second rectangle from the top (“Second statement” in the example slide), and on the Home tab, in the Drawing group, click the arrow to the right of Shape Fill, and under Theme Colors select Olive Green, Accent 3 (first row, seventh option from the right). Drag the ninth effect (right motion path) until it is third in the list of effects. Drag the 10th effect (right motion path), until it is sixth in the list of effects. Select the third rectangle from the top (“Third statement” in the example slide), and on the Home tab, in the Drawing group, click the arrow to the right of Shape Fill, and under Theme Colors select Purple, Accent 4 (first row, eighth option from the left). Drag the 11th effect (right motion path), until it is ninth in the list of effects. To reproduce the background effects on this slide, do the following: Select the fourth rectangle from the top (“Fourth statement” in the example slide), and on the Home tab, in the Drawing group, click the arrow to the right of Shape Fill, and under Theme Colors select Orange, Accent 6 (first row, tenth option from the left). Right-click the slide background area, and then click Format Background. In the Format Background dialog box, click Fill in the left pane, select Gradient fill in the Fill pane, and then do the following: Click the button next to Direction, and then click From Center (third option from the left). To reproduce the circles on this slide, do the following: Press and hold CTRL, and then select the four block shapes (the shapes on the left side) in the SmartArt graphic, and then under SmartArt Tools, on the Format tab, in the Shapes group, click the arrow to the right of Change Shape, and under Basic Shapes select Oval (first row, first option from the left). On the slide, drag one of the top right adjustment handles to the left to change the ovals into circles and to decrease their size. In the Stop position box, enter 33%. Also with the four circles selected, drag the circles until they cover the bullet on the rectangles, and then on the Home tab, in the Font group, in the Font Color list, under Theme Colors select White, Background 1, Darker 50% (sixth row, first option from the left). Also on the Home tab, in the bottom right corner of the Drawing group, click the Format Shape dialog box launcher. In the Format Shape dialog box, click Fill in the left pane, select Gradient fill in the Fill pane, and then do the following: Click the button next to Color, and then under Theme Colors select White, Background 1, Darker 25% (fourth row, first option from the left). In the Type list, select Radial.
96
และได้เทียบเคียงมาตรฐานสมรรถนะ DL ของ TPQI กับ ICDL และ IC3
97
หลักเกณฑ์การทดสอบ การใช้ดิจิทัล และองค์กรทดสอบสมรรถนะ
กลุ่มในการทดสอบ ค่าใช้จ่ายในการทดสอบ (บาท) ใบประกาศนียบัตร กลุ่มที่ 1 ทักษะขั้นพื้นฐาน 800 ระดับที่ 1 กลุ่มที่ 1 ทักษะขั้นพื้นฐาน + กลุ่มที่ 2 ทักษะขั้นต้นสำหรับการทำงาน 1,000 ระดับที่ 2 กลุ่มที่ 3 ทักษะประยุกต์สำหรับการทำงาน กลุ่มที่ 2 ทักษะขั้นต้นสำหรับการทำงาน + 1,200 ระดับที่ 3
98
งานสัมมนา “การพัฒนาทักษะดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐ”
งานสัมมนา “การพัฒนาทักษะดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐ” วันจันทร์ที่ ๓ เมษายน. ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมจินดา ณ สงขลา สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน จังหวัดนนทบุรี
99
พิธีลงนาม MOU เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2560 ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล (Intermediate) In the Direction list, select From Center (third option from the left). Under Gradient stops, click Add or Remove until two stops appear in the drop-down list. To reproduce the SmartArt effects on this slide, do the following: On the Home tab, in the Slides group, click Layout, and then click Blank. Also under Gradient stops, customize the gradient stops that you added as follows: On the Insert tab, in the Illustrations group, click SmartArt. In the Choose a SmartArt Graphic dialog box, in the left pane, click List. In the List pane, click Vertical Block List (fourth row, third option from the left), and then click OK to insert the graphic into the slide. Select Stop 1 from the list, and then do the following: In the Stop position box, enter 0%. Click the button next to Color, and then under Theme Colors select White, Background 1 (first row, first option from the left). To create a fourth row, do the following: Select the third block shape (the shape on the left side) at the bottom of the graphic, under SmartArt Tools, on the Design tab, in the Create Graphic group, click the arrow next to Add Shape, and select Add Shape After. Select Stop 2 from the list, and then do the following: In the Stop position box, enter 100%. Click the button next to Color, and then under Theme Colors select White, Background 2, Darker 25% (fourth row, first option from the left). To add a bulleted rectangle next to the fourth block shape, select the fourth block shape, and then under SmartArt Tools, on the Design tab, in the Create Graphic group, click Add Bullet. To reproduce the animation effects on this slide, do the following: To enter numbers and text in the blocks and rectangles, select the graphic, and then click one of the arrows on the left border. In the Type your text here dialog box, enter text for each shape. (Note: In the example slide, the first-level text boxes contain “1,” “2,” “3,” and “4.” There should be only one second-level text box for each first-level box (delete the second bullet), and they contain “First statement,” “Second statement,” and so on.) On the Animations tab, in the Animations group, click Custom Animation. On the slide, select the SmartArt graphic, and then in the Custom Animation task pane, do the following: Click Add Effect, point to Entrance, and select More Effects. In the Add Entrance Effect dialog box, under Subtle select Fade. With the SmartArt graphic still selected, click Add Effect, point to Motion Paths, and select Right. To reproduce the rectangle effects on this slide, do the following: On the slide, right-click the motion path and select Reverse Path Direction. Press and hold CTRL, and then select each of the rectangles (on the right side of the graphic). In the Custom Animation task pane, do the following: Under SmartArt Tools, on the Format tab, in the Shapes group, click the arrow to the right of Change Shape, and under Rectangles select Snip Diagonal Corner Rectangle (fifth option from the left). Press and hold CTRL, and select the two effects in the task pane. Click the arrow to the right of the selected effects and select Effect Options. In the Effects Options dialog box, do the following: With the rectangles still selected, drag one of the left center adjustment handles 1” to the left to lengthen all four rectangles. On the Timing tab, in the Speed list, select Fast. With the rectangles still selected, on the Home tab, in the Font group, in the Font Size box, select 36, and in the Font Color list, under Theme Colors select White, Background 1 (first row, first option from the left). On the SmartArt Animation tab, in the Group graphic list, select One by one. With the rectangles still selected, on the Home tab, in the bottom right corner of the Paragraph group, click the Paragraph dialog box launcher. In the Paragraph dialog box, under Indentation, do the following: Click the double arrows under the two effects to show all the effects for all the shapes (16 effects). Press and hold CTRL, select all of the effects, and then under Modify selected effects, in the Start list, select With Previous. In the Before Text box, enter 1”. In the Special list, select Hanging. Press and hold CTRL, select the first, third, fifth, and seventh effects (fade entrance effects), and then do the following: Next to the Special list, in the By box, enter 1”. Select the SmartArt graphic, and then under SmartArt Tools, on the Design tab, in the SmartArt Styles group, click More Styles, and under 3-D select Polished Effect (first option from the left). Click Change, point to Entrance, and select More Effects. In the Change Entrance Effect dialog box, under Moderate, select Grow & Turn. Select the first rectangle from the top (“First statement” in the example slide), and on the Home tab, in the Drawing group, click the arrow to the right of Shape Fill, and under Theme Colors select Red, Accent 2 (first row, sixth option from the left). Under Modify: Grow & Turn, in the Start list, select After Previous. Select the second rectangle from the top (“Second statement” in the example slide), and on the Home tab, in the Drawing group, click the arrow to the right of Shape Fill, and under Theme Colors select Olive Green, Accent 3 (first row, seventh option from the right). Press and hold CTRL, and select the ninth, 11th, 13th, and 15th effects (right motion paths). Click the arrow next to one of the selected effects, and then click Remove. Drag the ninth effect (right motion path) until it is third in the list of effects. Select the third rectangle from the top (“Third statement” in the example slide), and on the Home tab, in the Drawing group, click the arrow to the right of Shape Fill, and under Theme Colors select Purple, Accent 4 (first row, eighth option from the left). Drag the 10th effect (right motion path), until it is sixth in the list of effects. Drag the 11th effect (right motion path), until it is ninth in the list of effects. Select the fourth rectangle from the top (“Fourth statement” in the example slide), and on the Home tab, in the Drawing group, click the arrow to the right of Shape Fill, and under Theme Colors select Orange, Accent 6 (first row, tenth option from the left). To reproduce the background effects on this slide, do the following: Right-click the slide background area, and then click Format Background. In the Format Background dialog box, click Fill in the left pane, select Gradient fill in the Fill pane, and then do the following: To reproduce the circles on this slide, do the following: Click the button next to Direction, and then click From Center (third option from the left). Press and hold CTRL, and then select the four block shapes (the shapes on the left side) in the SmartArt graphic, and then under SmartArt Tools, on the Format tab, in the Shapes group, click the arrow to the right of Change Shape, and under Basic Shapes select Oval (first row, first option from the left). On the slide, drag one of the top right adjustment handles to the left to change the ovals into circles and to decrease their size. In the Stop position box, enter 33%. Also with the four circles selected, drag the circles until they cover the bullet on the rectangles, and then on the Home tab, in the Font group, in the Font Color list, under Theme Colors select White, Background 1, Darker 50% (sixth row, first option from the left). Also on the Home tab, in the bottom right corner of the Drawing group, click the Format Shape dialog box launcher. In the Format Shape dialog box, click Fill in the left pane, select Gradient fill in the Fill pane, and then do the following: Click the button next to Color, and then under Theme Colors select White, Background 1, Darker 25% (fourth row, first option from the left). In the Type list, select Radial.
100
การจัดทำทักษะด้านดิจิทัลสำหรับข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ
ทักษะครอบคลุม 6 กลุ่มเป้าหมาย 1. กลุ่ม ผู้บริหารส่วนราชการ (Executive : E) 2. กลุ่ม ผู้อำนวยการกอง (Management : M) 3. กลุ่ม ผู้ทำงานนโยบายและวิชาการ (Academic : A) 4. กลุ่ม ผู้ปฏิบัติงานด้านบริการ (Service : S) 5. กลุ่ม ผู้ปฏิบัติงานด้านดิจิทัล (Technology : T) 6. กลุ่ม ผู้ปฏิบัติงานอื่น ๆ (Others : O)
101
การจัดทำทักษะด้านดิจิทัลสำหรับข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ
ทักษะใน 5 มิติ มิติที่ 1. รู้เท่าทันและใช้เทคโนโลยี (Digital Literacy skill set) มิติที่ 2. เข้าใจนโยบาย กฎหมาย และมาตรฐาน (Digital Governance Standard skill set) มิติที่ 3. ใช้ดิจิทัลเพื่อประยุกต์และพัฒนา (Digital Technology skill set) และทักษะด้านการออกแบบกระบวนการและการให้บริการด้วยระบบดิจิทัลเพื่อการพัฒนาคุณภาพงานของภาครัฐ (Digital Process & Service design skill set) มิติที่ 4. ใช้ดิจิทัลเพื่อการวางแผนและบริหารจัดการ (Project & Strategic Management skill set) มิติที่ 5. ใช้ดิจิทัลเพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงและสร้างสรรค์ (Digital Transformation skill set)
102
http://www.tpqi.go.th http://tpqi-net.tpqi.go.th
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.