งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดระบบข้อมูล (RIHIS) เพื่อติดตามบริการ RRTTR โครงการเร่งรัดการดำเนินงาน เพื่อยุติปัญหาเอดส์
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ 4 พฤษภาคม 2559 ณ โรงแรมวีวิช ขอนแก่น

2 หัวข้อ กรอบเวลา 09.30-15.00 น.?? ระบบติดตามงานในกลุ่มประชากรหลัก
ฝึกปฏิบัติ RIHIS- Out reach ภาพรวม ระบบข้อมูล RIHIS Facility HCT & Outreach RIHIS-STI RIHIS- Out reach กรอบเวลา น.??

3 กรอบแนวคิดแผนปฏิบัติการเร่งรัดยุติปัญหาเอดส์
ประชากรเป้าหมาย ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย สาวประเภทสอง พนักงานบริการ ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด การติดเชื้อเอชไอวีใหม่ลดลง การตายจากเอดส์ลดลง การเลือกปฎิบัติลดลง เข้าถึงและเชิญชวน Reach & Recruit ตรวจคัดกรอง Test รักษาเร็ว Treat ดูแลต่อเนื่อง Retain พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งระบบบริการสุขภาพและระบบชุมชน ลดการตีตรา เลือกปฏิบัติ และสร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อการดำเนินงาน พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการและสนับสนุน

4 ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ ประเภทและความหมาย
ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ ประเภทและความหมาย ข้อมูลข่าวสารที่ได้แปลผล และนำไปใช้เพื่อช่วยในการวางแผนและตัดสินใจในการปรับปรุงหรือปรับเปลี่ยนการดำเนินงาน Know Epidemic เท่าทันการระบาด (Know your epidemic) สถานการณ์และแนวโน้ม ฉลาดรู้การลงทุน (Know your investment)ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับเอดส์ ติดตามการดำเนินงาน (Know Response) ความครอบคลุมบริการ, การเข้าถึงและใช้บริการ คุณภาพของบริการทั้งด้านการป้องกัน การรักษา การดูแล (NAP, PHIMS , RIHIS,HIV Qual) การประเมินผล และการศึกษาวิจัย Know Investment Know Response Research and Evaluation Data use

5 กรอบการดำเนินงาน และการติดตามงาน
ผลกระทบ ประเมินผลกระทบ การดำเนิงาน จัดระบบบริการ ผลผลิตและผลลัพธ์การดำเนินงาน รู้สถานการณ์ รู้การลงทุน รู้การดำเนินงาน สามารถกดไวรัส ในกระแสเลือดได้ จำนวนผู้ติดเชื้อฯ จำนวน -MSM SW PWID PLHIV ได้รับการวินิจฉัย รู้สถานะตนเอง งบประมาณ -ค่าใช้จ่ายดำเนินการ PLHIV เข้าสู่ระบบ บริการ &ได้ART การใช้ condom used sterile syringe PLHIV ตาย PLHIV รายใหม่ 90 90 90

6 บวก Positive จำนวนประชากรที่มีความเสี่ยงสูง
กรอบการติดตามและข้อมูลจำเป็น การดำเนินงานในกลุ่มประชากรหลัก RETAIN จำนวนประชากรที่มีความเสี่ยงสูง จำนวนที่ระบุได้ว่าอยู่ที่ใด เป้าหมายการดำเนินงาน REACH RECRUIT TEST TREAT ลบ ตรวจHIVซ้ำ คาดประมาณ ด้วยวิธี Network scale up สำรวจ/MappingประชากรหลักProgrammatic Mapping ตั้งเป้าหมายการดำเนินงานร่วมกัน PCM ระบบข้อมูล RIHIS RRTTR Single UIC Neg บวก Positive Gap รอยรั่ว = สิ่งที่ยังไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้

7 โครงการเร่งรัดเพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์ ปี 2559
* MSM/TG 36,600 คน 62 จังหวัด * FSW 47,700 คน 76 จังหวัด * PWID 2,600 คน10 จังหวัด * MSM/TG 73,257 คน 14 จังหวัด * FSW 7,859 คน ที่กทม * PWID 17,057 คน 12 จังหวัด * ขับเคลื่อนกลไกเขต/จังหวัด 39 จังหวัด * พัฒนาระบบข้อมูลบริการ RHIS และเฝ้าระวังสถานการณ์ * ลดการตีตราในระบบบริการสุขภาพ12 จังหวัด และส่งเสริมมาตรการจัดการเอดส์ในสถานที่ทำงาน * ขับเคลื่อนกลไกเขต/จังหวัด 38 จังหวัด * พัฒนาระบบข้อมูลยุทธศาสตร์และเฝ้าระวัง * พัฒนากลไกคุ้มครองสิทธิและความเข้มแข็งชุมชน งบประมาณภายในประเทศ 230 ล้านบาท งบกองทุนโลก 350 ล้านบาท 1. ให้บริการ RRTTR ครอบคลุมประชากรหลัก และพื้นที่ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ เราได้รับงบประมาณประเทศจากส่วนกลางสนับสนุนเพื่อดำเนืนการตามแนวคิดดังกล่าวเสริมจากที่เดิม เรามีการดำเนินการในพื้นทีเงินกองทุนโลก โดยงบสนับสนุนบริการป้องกัน RTTR จะผ่านทางกองทุนเอดส์ หมวดป้องกัน ๒๐๐ ล้านบาท ให้สามารถครอบคลุมประชากรหลักในทุกจังหวัดได้ อีกส่วนหนึ่งเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน การลดการตีตราและพัฒนาข้อมูล ทางกรมควบคุมโรคเพิ่มงบประมาณอีก ๓๐ ล้านบาทเพื่อช่วยกันเร่งรัดให้ประสบความสำเร็จ 2. ลดการตีตรา พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ และขับเคลื่อนกลไกจังหวัด/เขต

8 การติดตามผลการดำเนินงาน(เชิงปริมาณ)
กิจกรรมหลัก ตัวชี้วัด เป้าหมาย Reach จำนวนประชากรหลัก ที่เข้าถึงบริการป้องกัน MSM 36,600 คน FSW 47,700 คน PWID 2,600 คน Recruit ที่เข้าสู่ระบบบริการ ทุกกลุ่มเป้าหมาย 80% ของ Reached Test ที่ได้ตรวจเอชไอวีและรู้ผลการตรวจ MSM 60% ของ Recruited FSW / PWID 70% ของ Recruited Treat จำนวนประชากรหลักที่เริ่มรักษาด้วยยาต้านไวรัส ทุกกลุ่มเป้าหมาย >80% ของผู้ที่ผลบวก ภายในปี Retain 1. จำนวนประชากรหลักที่ติดเชื้อHIVขาดการติดตามการรักษาน้อยกว่า ๙๐ วัน ในแต่ละปี 2.จำนวนประชากรหลักที่มาตรวจHIVซ้ำในปี 1.>80% ของประชากรหลักที่ลงทะเบียนรักษา 2.>50% ของประชากรหลักที่ตรวจHIV

9 แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการฯจังหวัด
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อยุติปัญหาเอดส์จังหวัด กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การใช้ข้อมูลเป็นฐานในการคิดกิจกรรม ลักษณะของแผนที่ต้องการ ให้เกิด กำหนด เป้าหมายการดำเนินงาน R R T ในแต่ละกลุ่ม ประชากร กำหนด พื้นที่ /รพ. ที่จะดำเนินการในแต่ละกลุ่มประชากร กำหนด กิจกรรมที่จะต้องดำเนินการเพื่อให้กปม. เข้าถึง บริการ RRTTR แผนยุทธศาสตร์ ยุติปัญหาเอดส์จังหวัด

10 การรายงานผลการดำเนินงาน(เชิงปริมาณ) ตัวชี้วัดที่จังหวัดและรพ
การรายงานผลการดำเนินงาน(เชิงปริมาณ) ตัวชี้วัดที่จังหวัดและรพ.ที่มีการดำเนินงาน รายงาน 1. จำนวนจังหวัดที่มีแผนปฏิบัติการยุติปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด 2. จำนวน (คน) กลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันเชิงรุก : จำแนกรายกลุ่มประชากร จำนวนกลุ่มประชากรหลักที่ได้รับบริการ STI จำนวนกลุ่มประชากรหลักที่ได้รับบริการ MMT (HARM 1-2) 3. จำนวน (คน)กลุ่มประชากรหลักที่ได้ตรวจเอชไอวี HIV และรู้ผล 10

11 ผลผลิตของการดำเนินงานในงบ 200 ล้าน ที่รพ.
จำนวนประชากรเป้าหมาย MSM / FSW /PWID ที่ได้รับบริการเชิงรุก ที่แสดงผลในระบบข้อมูลRIHIS Retain - Neg Test Retain + pos Reach Recruit Treat VL suppression ART Register HCT : Pre test Csg จำนวนประชากร เป้าหมายและคู่ MSM /FSW /PWID ที่ได้รับการตรวจเอชไอวี และรู้ผลเลือด

12 แหล่งข้อมูลที่ตอบผลการดำเนินงาน
กิจกรรมหลัก แหล่งข้อมูล Reach แบบบันทึกบริการป้องกันเชิงรุก RIHIS-outreach Recruit แบบบันทึกบริการ RIHIS- facility HCT, STI ที่สถานบริการ หรือหน่วยบริการเคลื่อนที่ ภาครัฐ และภาคประชาสังคม Test แบบบันทึกบริการRIHIS- facility (RIHIS-HCT ) ที่สถานบริการ หรือหน่วยบริการเคลื่อนที่ บันทึก Treat / Retain 1.NAP plus 2. NAPHA Extension (สำหรับสิทธิบัตรประกันสุขภาพประชากรข้ามชาติ)

13 ระบบข้อมูลเพื่อการติดตามการดำเนินงานในกลุ่มประชากรหลัก
ระบบข้อมูลบริการที่บูรณาการ การป้องกันและดูแลรักษาเอชไอวี (RIHIS) ในกลุ่มประชากรหลัก (KP: Key Population) RIHIS Routinely Integrated HIV Information System 28

14 ข้อมูลที่บันทึกการให้บริการที่ทำประจำ
หลักการ RIHIS ข้อมูลที่บันทึกการให้บริการที่ทำประจำ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ ความชุกการติดเชื้อฯ คุณภาพบริการ ความครอบคลุม การเข้าถึงบริการ บริการเชิงรุกในชุมชน บริการในสถานบริการสุขภาพ DIC สถานพยาบาล

15 ระบบข้อมูล RIHIS คืออะไร ?
เป็นระบบข้อมูล ที่เชื่อมโยงระหว่างข้อมูลการให้บริการในชุมชน หรือ บริการเชิงรุก(Reach) กับ ข้อมูลบริการในสถานพยาบาล (Testing-HCT) บูรณาการ/เชื่อมโยงบริการ ด้านการป้องกัน กับ ด้านการดูแลรักษา เพื่อให้เห็นภาพรวมการให้บริการที่ต่อเนื่อง ตั้งแต่บริการในชุมชน (Reach-Recruit) ที่ต่อเนื่อง ถึงบริการที่ในสถานพยาบาล(Testing-HCT) จัดทำข้อมูล เฉพาะในกลุ่มประชากรหลักเท่านั้น MSM ,TG ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย และ ชายแต่งหญิง SW พนักงานบริการ PWID ผู้ใช้ยาชนิดฉีด Migrant ผู้ต้องขัง คู่ของKPs RIHIS - RRTTR V.1.07 เชื่อมโยงบริการ Reach -Recruit -Test -Treat (ART) Retain โดยเห็นข้อมูล เป็นรายบุคคล 28

16 R I H I S    RIHIS Facility/HCT RIHIS out reach RIHIS Facility/STI
Real Time monitoring

17 ระบบข้อมูลการติดตามงานการดำเนินงานฯในกลุ่มประชากรหลัก (RIHIS –KPs)
บันทึกและรายงาน จากหน่วยบริการ ข้อมูลจากงานชุมชน ข้อมูลจากสถานพยาบาล Reach Recruit Test Treat Retain NAP+ ระบบข้อมูล RIHIS-KPs on line/web 28 28

18 การบันทึกข้อมูลRIHIS
หน่วยงานที่ให้บริการเชิงรุก : บันทึกข้อมูลบริการเชิงรุก RIHIS outreach สถานพยาบาลที่ให้บริการตรวจเอชไอวีทุกแห่ง รพ.ภาครัฐ- เอกชน/ คลินิกชุมชน:DIC / Mobile บันทึกข้อมูลบริการ RIHIS Facility (RIHIS –HCT) 3. เครื่องมือ ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล และรายงาน แบบบันทึก และรายงาน ที่ทำโดยโปรแกรม Excel ประมวลข้อมูล อัตโนมัติ และ จัดส่งรายงาน on web 4. ข้อมูลรายงานเป็นตัวเลขรวม (aggregate) ถูกนำเสนอในระบบรายงาน ที่เข้าถึงได้ (web site-online) ผู้ให้บริการในสถานพยาบล ทุกหน่วยงานที่ได้บันทึกข้อมูล สสจ. สคร. ระดับประเทศ (ศบจอ. สอวพ.) ได้เห็นข้อมูล เชื่อมโยงการบริการเชิงรุก (R-R) กับการบริการสุขภาพ (R-T-T-R) โดยใช้รหัสบุคคล UIC

19 (Real Time Monitoring)
RIHIS-RRTTR(KPS) & RTM–RIHIS RIHIS ปี 59-60 Key Population MSM_TG,MSW_TGSW_FSW,PWID, Migrant, Prisoner, Partner Reach RIHIS-Outreach (Real Time Monitoring) RTM RIHIS (Real Time Monitor Ing- RIHIS) Real Time Record -Smart phone Recruit UIC UIC RIHIS-Facility (HTC,STI, MMT) -ART Retain Treat Test ARV Retain+

20 โครงสร้าง องค์ประกอบของระบบข้อมูล RIHIS
ส่วนที่ 1 การบันทึกข้อมูล ส่วนที่ 2 การรายงานผล และระบบการเตือน เพื่อตรวจสอบข้อมูล ส่วนที่ 3 การส่งรายงานเข้าสู่ระบบonline ส่วนที่ 4 การนำเสนอผลการดำเนินงาน - รูปแบบการรายงานผล ส่วนที่ 5 ระบบติดตามการรายงาน (สสจ. สคร . ประเทศ ) ระบบประมวลรายงานอัตโนมัติ

21 การบันทึกข้อมูล RIHIS โดย หน่วยที่ให้บริการ
Record โครงสร้าง และลักษณะของข้อมูลที่บันทึก 1.ข้อมูลหน่วยบริการ รหัส- ชื่อหน่วยบริการ ที่ตั้ง 2.ข้อมูลทั่วไปของกปม.ที่มารับบริการ ชื่อ นามสกุล วันเดือนปี เกิด = UIC (รพ. เพิ่ม HN เลขบัตรประชาชน) 3.ข้อมูลลักษณะทางประชากร สัญชาติ เพศ เพศสภาวะกปม. อายุ อาชีพ 4.บริการที่ได้รับ การเข้าถึงระบบบริการ (มาครั้งแรก /เก่า /ใหม่ ) บริการที่ได้รับข้อมูลความรู้ ถุงยาง 5.ระบบการส่งต่อ ส่งต่อมาจากไหน >>ส่งต่อไปรับบริการ?? 1. แบบบันทึก และรายงาน ใช้โปรแกรม Excel 2. Key เป็นตัวเลข 0 ,1 , 2 ถ้าเป็น ข้อมูลที่ประมวลได้ในตารางจะขึ้นให้อัตโนมัติ ไม่ต้องkeyใหม่ 3.Key ข้อมูลลงในแบบบันทึก จะออกรายงาน (report) อัตโนมัติ 4.ส่งรายงานระบบonline-web ในfileบันทึก จะมีsheetอธิบายตัวแปรการบันทึกข้อมูลให้

22 รายละเอียดการจำแนกข้อมูล ในรายงานRIHIS-Facility (HCT)
Report รายละเอียดการจำแนกข้อมูล ในรายงานRIHIS-Facility (HCT) แต่ละบริการ จำแนก ตามประเภท ผู้มารับบริการ จำนวนผู้รับบริการในแต่ละบริการ 1. ได้รับการปรึกษาก่อนตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี 2. ได้รับการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี 3. ได้ตรวจเอชไอวีและรู้ผลการตรวจ 4. ส่งต่อรับบริการคัดกรอง ตรวจ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 5. ผลการติดเชื้อเอชไอวีเป็น บวก 6. ผลการติดเชื้อเอชไอวีเป็น บวก ได้รับการตรวจ CD4 7. คนที่มีผลเลือดบวกที่ไม่ได้มาฟังผลเลือด 8. ผลการติดเชื้อเอชไอวีเป็น ลบ ได้รับการนัดตรวจเลือดซ้ำ มากกว่า 1 ครั้งในปี สถานะผู้รับบริการ คนใหม่ ไม่เคยเลยในชีวิต (คน) คนใหม่ในปีนี้ (คน) คนเก่า (ครั้ง) จำแนกตามกลุ่มประชากร ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM) สาวประเภทสอง (TG) พนักงานบริการ พนักงานบริการชาย (MSW) สาวประเภทสอง (TGSW) Thai <15 ปี 15-19 ปี 20-24ปี >=25 ปี รวม Non*Thai <15 ปี 15-19 ปี 20-24ปี >=25 ปี รวม ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด ชาย-หญิง แรงงานข้ามชาติ ชาย-หญิง พม่า ลาว กัมพูชา อื่นๆ รวม ช่องทางการมารับบริการ ส่งต่อมา คู่ของกลุ่มประชากรหลัก มาเอง

23 รายละเอียดการจำแนกข้อมูล ในรายงานRIHIS -Out reach บริการป้องกันเชิงรุก
Report รายละเอียดการจำแนกข้อมูล ในรายงานRIHIS -Out reach บริการป้องกันเชิงรุก แต่ละบริการ จำแนก ตามประเภท การมารับบริการ จำนวนผู้รับบริการในแต่ละบริการ 1. จำนวนประชากรเป้าหมายที่เข้าถึงบริการป้องกัน 1.1) จำนวนประชากรเป้าหมายที่ใช้บริการที่ศูนย์บริการชุมชน (DIC)* 1.2) จำนวนประชากรเป้าหมายที่เข้าถึงโดย Social Media (Chat, Line, Facebook, etc.) 1.3) จำนวนประชากรเป้าหมายที่เข้าถึงบริการป้องกัน รายบุคคล 2. จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยังสถานพยาบาล เพื่อตรวจ HIV 2.1) จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยัง โรงพยาบาล/คลินิก ภาครัฐ 2.2) จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยัง โรงพยาบาล/คลินิก ภาคเอกชน 2.3) จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยังหน่วยบริการเคลื่อนที่ (Mobile Clinic) 2.4) จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยังศูนย์บริการชุมชน (DIC) 3. จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยังสถานพยาบาล เพื่อตรวจ STI 4. จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยังสถานพยาบาล เพื่อตรวจ TB 5. จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยังสถานพยาบาลเพื่อรักษา Methadone สถานะผู้รับบริการ คนใหม่ (คน) ครั้งแรก คนใหม่ในปีนี้ (คน) ครั้งที่ 1ในปี คนเก่า (คน) ครั้งที่ 2 คนเก่าซ้ำ (ครั้ง) 2 ครั้งขึ้นไป ครั้ง กลุ่มประชากร ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย MSM - TG พนักงานบริการ ชาย -หญิง ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด แรงงานข้ามชาติ ผู้ต้องขัง คู่ของประชากรหลัก เชื้อชาติ พม่า ลาว กัมพูชา อื่นๆ รวม อายุ <15 ปี 15-19 ปี 20-24 ปี >=25 ปี รวม อาชีพแรงงานข้ามชาติ ประมง ประมงต่อเนื่อง โรงงาน ก่อสร้าง พนักงานบริการ อื่นๆ

24 AZP In the cloud การส่งรายงานและการไหลเวียนข้อมูล คช.ปอ. สอวพ. ศบ.จอ.
สปสช. สคร./สปสช.เขต สสจ /อนุกก.เอดส์จ. / PCM RIHIS online In the cloud CSO Hospitals RIHIS OUT REACH STI-HTC–ART (NAP+) Electronic database Coordinating line Report and feed back Aggregated data accessible

25 การบันทึกข้อมูลRIHIS-out reach
องค์ประกอบการบันทึกข้อมูล โดย หน่วยบริการป้องกันเชิงรุก 1. 2. 3. 4. 5. ข้อมูลทั่วไป ของกลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการ ข้อมูลการรับบริการ ข้อมูลระบบ การส่งต่อ ข้อมูลทั่วไป ของรพ.

26 ข้อมูลทั่วไปของรพ. รหัส - ชื่อหน่วยบริการ ที่ตั้ง
รหัส - ชื่อหน่วยบริการ ที่ตั้ง ข้อมูลทั่วไปการให้บริการ

27 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการ
ข้อมูลลักษณะทางประชากร เพศ อายุ กลุ่มเป้าหมาย อาชีพ สีเทาไม่ต้องกรอก ขึ้นอัตโนมัติ

28 ข้อมูลการได้รับบริการ

29 ข้อมูลระบบการส่งต่อ

30 โปรแกรมจะช่วยให้การบันทึกมีความถูกต้องมากขึ้น

31 ระบบเตือน - ตรวจสอบการบันทึก
ระบบเตือน - ตรวจสอบการบันทึก

32 ฟอร์มแบบบันทึก ภาคสนาม

33 รายงาน(Report)

34 เปรียบเทียบRIHIS-Facility & Out reach
สิ่งที่เหมือนกัน สีงที่ต่างกัน 1.หลักการ key และส่ง file เข้าระบบ online ทำเหมือนกัน 2. การบันทึก ผ่านโปรแกรม Excel สามารถ ออกรายงานอัตโนมัติ หลังจาก key เหมือนกัน HCT : File หนึ่งสามารถบันทึกได้ 1500 ราย บรรจุ 4 files 2.Out reach : File หนึ่งสามารถบันทึกได้ 3000 ราย บรรจุ 4 files 3. HCT เห็นตัวรายงาน ได้ทันทีที่บันทึก 3. Outreach ต้องเปิดดูในWeb 4.ไม่ได้ทำฟอร์ม paper ใช้ก่อนลง file excel 4. Outreach มีฟอร์มแบบบันทึกเป็น paper ก่อนที่ จะนำมาลงในfile excel 5. มีระบบเตือนข้อผิดพลาด ก่อน ส่งfiles เข้าสู่ระบบonline เหมือนกัน

35 Data flow of RIHIS Out reach - RTM
AIDS Zero Portal PR-DDC NAMC PR-รักษ์ไทย สคร. สสจ. Report HCT (RIHIS Facilities) RIHIS Report Outreach (RIHIS Outreach) CSO รักษ์ไทย CSO World Vision Hospital HCT RTM Refer RTM -บันทึกข้อมูลลงใน Smart Phone -ส่งข้อมูลเพื่อ Refer เข้าไป รพ. -Submit report Outreach เข้า RIHIS โรงพยาบาล ป้องกันเชิงรุก สสจ. เชิงรุก สคร. เชิงรุก

36 ใบส่งต่อ บริการ

37 นิยาม ความหมายของตัวชี้วัด RRTTR
Recruit Reach Test Treat Retain+ Retain-

38 ตัวชี้วัด Reached คำนิยาม ข้อมูลการให้บริการ X แกนนำ เครือข่ายเพื่อน
จนท. เชิงรุก Social media ที่สถานบริการ (1) ได้ข้อมูลเพื่อการป้องกัน HIV, STI และ การลดอันตรายจากการใช้ยา X (2) ได้รับถุงยางอนามัย สารหล่อลื่น และอุปกรณ์ฉีดปลอดเชื้อ (3) ได้รับข้อมูลว่าจะรับบริการตรวจHIV, STI และ การรักษาด้วยสารทดแทนเมทาโดน/MMTได้ที่ไหน หรือได้รับการส่งต่อรับบริการตรวจ HIVหรือ STI หรือ การรักษาด้วยMMT (4) ได้ลงทะเบียนรับบริการโดย หมายเลขสมาชิก หรือ UIC

39 บริการจำเป็น ตามกลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มประ ชากร ข้อมูลความรู้ ข้อมูลสถานที่ ได้รับ อุปกรณ์ป้องกัน ได้ UIC HIV TB HR ตรวจHCT ตรวจรักษาSTI MMT ถุงยาง & สารหล่อลื่น เข็ม &กระ บอกฉีด หน้า กากอนามัย MSM-TG SW PWID

40 บริการจำเป็น ตามกลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มประ ชากร ข้อมูลความรู้ ข้อมูลสถานที่ ได้รับ อุปกรณ์ป้องกัน ได้ UIC HIV TB HR ตรวจHCT ตรวจรักษาSTI MMT ถุงยาง สารหล่อลื่น เข็ม &กระ บอกฉีด หน้า กากอนามัย MSM-TG SW PWID

41 ตัวชี้วัด Recruited คำนิยาม
กลุ่มประชากรหลักที่เข้าส่งเข้าสู่ระบบบริการ และ ได้เข้ารับบริการ การปรึกษาการตรวจเอชไอวี (pre-test counseling) โดยอาจตรวจหรือยังไม่ตรวจเอชไอวี หรือ การตรวจคัดกรองและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หรือ รับบริการเมทาโดน ด้วยวิธีการ ส่งต่อจากผู้ให้บริการเชิงรุก หรือ เครือข่ายเพื่อน หรือร้านขายยา ผ่านสื่อสังคมทางอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มประชากรเป้าหมายไปที่สถานพยาบาล หรือ ศูนย์บริการชุมชน หรือ หน่วยบริการเคลื่อนที่เอง

42 ตัวชี้วัด Tested คำนิยาม
กลุ่มประชากรหลักที่ได้ตรวจเอชไอวีและได้รับแจ้งผลการตรวจ โดยอาจได้รับบริการที่ 1. หน่วยบริการภาครัฐ ได้แก่ 1.1 รพศ. รพท. รพช. (สธ.) 1.2 โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลขนาดใหญ่ภาครัฐ (นอก สธ.) 1.3 รพ.สต. หรือศูนย์บริการสาธารณสุขของ กทม./เทศบาล 2. หน่วยบริการเอกชน ได้แก่ โรงพยาบาลหรือคลินิกเอกชน 3. หน่วยบริการภาคประชาสังคมได้แก่ ศูนย์บริการชุมชน 4. หน่วยบริการเคลื่อนที่ จัดโดยภาครัฐ เอกชน หรือภาคประชาสังคม

43 ตัวชี้วัด Treated คำนิยาม
กลุ่มเป้าหมาย ที่ได้ลงทะเบียนการรักษาและเริ่มได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส เป็นครั้งแรก ซึ่งอาจรับบริการที่ 1. หน่วยบริการภาครัฐ 2. หน่วยบริการเอกชน ได้แก่ โรงพยาบาลหรือคลินิกเอกชน โดยใช้สิทธิประโยชน์ในระบบต่างๆ หรือจ่ายค่ารักษาเอง สิทธิต่างๆ ได้แก่ 3. สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 4. สิทธิประกันสังคม 5. สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและรัฐวิสาหกิจ 6. สิทธิบัตรประกันสุขภาพประชากรข้ามชาติ

44 ตัวชี้วัด Retain คำนิยาม Retain +Positive Retain
จำนวนและร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่รักษาด้วยยาต้านไวรัสฯขาดการติดตาม การรักษานานกว่า 90 วัน จำนวนและร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่ยังไม่ได้เริ่มรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ ขาดการติดตามการรักษานานกว่า 90 วัน อัตรา การยังคงรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯที่ 12, 24, 36, 60 เดือน 4. ร้อยละของผู้ติดเชื้อฯที่ได้ตรวจVL และ สามารถกดไวรัสในกระแสเลือดได้ - Negative Retain จำนวนและร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันได้ตรวจเอชไอวี ซ้ำ (ไม่ใช่เพื่อ confirm) มาตรวจซ้ำ >1 ครั้ง ในปี > 1ครั้ง ในปีเดียวกัน เป็นครั้งที่ 2 ในปีนั้น ในชีวิต > 1 ครั้งในชีวิต คนที่เคยตรจมาแล้ว นับครั้งที่ 1 ในปี นั้น

45 Unique Identifier Code (UIC)
ประชากรไทย (THAI) หลักที่ 1 พยัญชนะตัวแรกของชื่อ (อักษรภาษาไทย ไม่นับสระ) หลักที่ 2 พยัญชนะตัวแรกของนามสกุล (อักษรภาษาไทย ไม่นับสระ) หลักที่ 3 และ 4 ตัวเลขวันที่เกิด 2 หลัก (01-31) ถ้าไม่รู้วันที่เกิด จะใส่รหัส โดยขึ้นต้นด้วย 4 และตามด้วยวันในสัปดาห์ คือ 41 : วันอาทิตย์ 42 : จันทร์ …. 46 : ศุกร์ 47 : วันเสาร์ หลักที่ 5 และ 6 ตัวเลขเดือนที่เกิด 2 หลัก (01-12) หลักที่ 7 และ 8 ตัวเลขสองตัวสุดท้ายของ ปี พ.ศ.เกิด ประชากรข้ามชาติ (Non-THAI) หลักที่ 1 อักษรตัวแรกของชื่อ 1 หลัก (ภาษาอังกฤษ) หลักที่ 2 อักษรตัวแรกของนามสกุล 1 หลัก (ภาษาอังกฤษ)

46 การใช้ประโยชน์จากข้อมูล-รายงาน RIHIS
หน่วยบริการในพื้นที่/ผู้ปฏิบัติงาน รพ. ใช้ประโยชน์จากข้อมูลรายงานที่จัดเก็บในระบบ RIHIS ในการติดตาม ความก้าวหน้าการดำเนินงานในกลุ่มประชากรหลัก สะท้อนให้เห็นภาพรวมการให้บริการ ตรวจเอชไอวี บรรลุเป้าหมาย? เป็นไปตามทิศทางที่ต้องการ ? หาช่องว่างของแผนงาน เพื่อปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมทั้งมิติของกลุ่มเป้าหมาย และพื้นที่ เป็นข้อมูลสนับสนุนในการ จัดทำแผนยุทธศาสตร์เอดส์ฯ ระดับพื้นที่

47 การแปลความและการใช้ประโยชน์ จากข้อมูล
Reach การพบคนใหม่ที่ไม่เคยเข้าถึงมาก่อนเลย แสดงให้เห็นว่าได้ขยายความครอบคลุมกลุ่มประชากรได้มากขึ้น การพบคนที่เคยได้รับบริการมาก่อนแล้ว และมาเป็นครั้งแรกในปีนี้ แสดงให้เห็นถึงความต่อเนื่องในการติดต่อ ซึ่งเป็นโอกาสที่จะกระตุ้นการรับบริการตรวจเอชไอวี และ STI โดยสม่ำเสมอ เปรียบเทียบกับเป้าหมายที่กำหนดไว้ และเปรียบเที่ยบกับ จำนวนที่คาดประมาณไว้ในการจัดทำแผนที่ชุมชน(Mapping) ทั้งเป็นจำนวนที่เข้าถึงในแต่ละไตรมาส และที่สะสมมาตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ เพื่อวางแผนการดำเนินงานต่อไป

48 การแปลความและการใช้ประโยชน์ จากข้อมูล
Recruited • หากร้อยละของผู้ที่เข้าถึงการป้องกันเข้าสู่ระบบบริการมาก แสดงให้เห็นว่าวิธีการให้ข้อมูลมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการสร้างความตระหนัก และการอำนวยความสะดวกในการรับบริการตรวจเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • จำนวนผู้ที่มารับบริการที่สถานบริการเอง หรือจากหน่วยเคลื่อนที่ สะท้อนถึงมาตรการการรณรงค์ และความสะดวกในการรับบริการตรวจเอชไอวี และ STI

49 การแปลความและการใช้ประโยชน์ จากข้อมูล
Tested การพบคนใหม่ที่ไม่เคยตรวจเอชไอวีมาก่อนเลย แสดงให้เห็นว่าได้ขยายความครอบคลุมกลุ่มประชากรได้มากขึ้น การพบคนที่เคยตรวจเอชไอวีมาก่อนและมาเป็นครั้งแรกในปีนี้ แสดงให้เห็นถึงความต่อเนื่องในการติดต่อ ซึ่งเป็นโอกาสที่จะกระตุ้นการรับบริการตรวจ HIV/STI โดยสม่ำเสมอ ถ้าผู้ที่มีผลตรวจเอชไอวีเป็นบวก มีสัดส่วนที่สูง แสดงให้เห็นว่าผู้ที่มาตรวจเอชไอวีส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีภาวะเสี่ยงสูง (เข้าถึงถูกคน) การมีผู้ไม่มาฟังผลการตรวจเป็นสัดส่วนที่สูง หรือจำนวนมาก ต้องพิจารณาเรื่อง การตรวจแบบรู้ผลในวันเดียว (same day result) และการให้การปรึกษาก่อนตรวจเอชไอวี (Pre test csg.)

50 การแปลความและการใช้ประโยชน์ จากข้อมูล
Treated ผลการวิเคราะห์ความครอบคลุมของการรักษาในกลุ่มที่มีผลการตรวจเอชไอวีเป็นบวก สะท้อนให้เห็นระบบการ เชื่อมต่อของการตรวจเอชไอวี และการรักษาว่า สามารถเชื่อมต่อกันได้ดีหรือไม่ ผลการวิเคราะห์ความล่าช้าในการเริ่มรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ ที่เริ่มรักษานานกว่า 3 เดือนหลังการวินิจฉัย จำแนกกลุ่มประชากร และตามหน่วยบริการที่ตรวจเอชไอวี และแต่ละพื้นที่ ช่วยชี้จุดที่ควรแก้ไข ผลการวิเคราะห์ความล่าช้าของระบบการรักษา ที่พิจารณาจากมัธยฐาน ระดับ CD4 ต้องเปรียบเทียบกับ ค่ามัธยฐานของ CD4 เมื่อตรวจวินิจฉัย เอชไอวี จะช่วยแยกแยะว่าเหตุที่ผู้ติดเชื้อฯได้เริ่มรักษาด้วยยาต้าน ไวรัสฯ ล่าช้า นั้นเนื่องจากตรวจพบช้า หรือจากระบบการเชื่อมต่อระหว่างการตรวจเอชไอวีและการรักษา

51 การแปลความและการใช้ประโยชน์ จากข้อมูล
Retained + positive ทุกเดือน หน่วยบริการ ควรตรวจสอบว่า ผู้ที่รักษาด้วยยาต้านไวรัสฯคนใดบ้างที่ไม่มาติดตามการรักษาตามนัด เพื่อจะได้จัดการการติดตาม ทุกเดือน หน่วยบริการ ควรตรวจสอบว่ามีผู้ที่ยังไม่เริ่มรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯคนใดบ้าง เพื่อจะได้พิจารณาให้ข้อมูลและคำปรึกษาเพิ่มเติมแก่ผู้ติดเชื้อฯในการตัดสินใจเริ่มรับการรักษาด้วยาต้านไวรัสฯ การที่ยังคงมีผู้ติดเชื้อฯที่ไม่ได้รับยาต้านไวรัสฯจำนวนมาก ต้องหาสาเหตุว่าเกิดจากอะไร ทั้งด้านผู้ให้บริการ อาทิเช่น แพทย์ยังไม่ทราบเกณฑ์ที่เริ่มยาต้านไวรัสฯ ได้ทุกระดับ CD4 หรือความไม่แน่ใจในประโยชน์ของการรักษาแต่เนิ่นๆ หรือสาเหตุจากผู้ติดเชื้อฯ ที่ต้องการข้อมูลและการให้การปรึกษามากกว่าที่ได้รับปัจจุบัน เป็นต้น

52 การแปลความและการใช้ประโยชน์ จากข้อมูล
Retained - Negative ผลการวิเคราะห์ความครอบคลุมของผู้ที่ผลตรวจเป็นลบมาตรวจซ้ำ หากยังต่ำอยู่ ต้องพิจารณาการ ให้การปรึกษาในช่วงแจ้งผลการตรวจ ที่ต้องสร้างความเข้าใจว่าการตรวจโดยสม่ำเสมอจะมีประโยชน์ให้ ตรวจพบหากติดเชื้อฯแต่เนิ่นๆ ผลการวิเคราะห์อัตราการมาตรวจซ้ำ ผลตรวจเปลี่ยนจากลบเป็นบวก หากสูง ต้องพิจารณาการให้การ ปรึกษาในช่วงแจ้งผลการตรวจ โดยต้องสร้างความเข้าใจในเรื่องการป้องกันที่ต้องทำโดยสม่ำเสมอ (Post test csg.)

53 ระบบข้อมูลเพื่อการติดตามการดำเนินงานในกลุ่มประชากรหลัก
STI RIHIS Routinely Integrated HIV Information System 28

54

55 นิยาม โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หมายถึง 6 โรค ได้แก่ ซิฟิลิส หนองใน
หมายถึง 6 โรค ได้แก่ ซิฟิลิส หนองใน หนองในเทียม แผลริมอ่อน กามโรคต่อมน้ำเหลือง 6. พยาธิในช่องคลอด

56 จำนวนผู้รับบริการในแต่ละบริการ ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM)
แบบรายงาน บริการตรวจและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จำนวนผู้รับบริการในแต่ละบริการ การเข้าถึงบริการ ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM) ประเภท อายุ* MSM TG MSW < 25 ปี > 25 ปี 1. จำนวนผู้เข้ารับบริการ 1.1 ได้รับการตรวจคัดกรอง STIs ใหม่(คน) เก่า(ครั้ง) 1.2 ได้รับวินิจฉัยว่าป่วยเป็น STIs 1.3 ได้รับการรักษา STIs 1.4 ได้รับติดตามการรักษา STIs 1.5 ไดรับการคัดกรอง VCT 1.6 ส่งต่อไปรับบริการ VCT 56 56

57 จำนวนผู้รับบริการในแต่ละบริการ ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM)
แบบรายงาน บริการตรวจและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จำนวนผู้รับบริการในแต่ละบริการ การเข้าถึงบริการ ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM) ประเภท อายุ* MSM TG MSW < 25 ปี > 25 ปี 2. จำนวนผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยเป็น STIs รายโรค ซิฟิลิส ใหม่(คน) เก่า(ครั้ง) หนองใน หนองในเทียม พยาธิในช่องคลอด แผลริมอ่อน ฯลฯ 57 57

58 Q&A Thank you Bullet 1 Bullet 2 Bullet 3 Bullet 1 Bullet 2 Bullet 3


ดาวน์โหลด ppt พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google