ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยCaroline Ramsey ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
(แผนยุทธศาสตร์(Strategic Plan)) ดร. อุทิศ ขาวเธียร ‘cantab’84
การวางแผนกลยุทธ์ (แผนยุทธศาสตร์(Strategic Plan)) ภาครัฐ ดร. อุทิศ ขาวเธียร ‘cantab’84
2
ดร. อุทิศ ขาวเธียร ( cantab ‘84 )
แนะนำผู้บรรยาย ดร. อุทิศ ขาวเธียร ( cantab ‘84 ) ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน (ระดับ10 ชช.) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรรมการบริหาร สภาวิจัยแห่งชาติ ( ) วุฒิสถาปนิก : (ว-สผ 2) ; (กรรมการ สภาสถาปนิก ประเทศไทย ) ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตร์ เทคโนโลยีพระจอมเกล้า(ลาดกระบัง) Far Eastern University (Philippines) ปริญญาโท ผังเมือง/แผน สิ่งแวดล้อม University of the Philippines (UP.) ปริญญาเอก-เศรษฐศาสตร์ประยุกต์(แผนภาค-ผังเมือง) University of Cambridge; UK. . ติดต่อ;- Office (662) ; Mobile tel.(01) < > การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/พ.ค./2546
3
Learning Organization
(องค์กรแห่งการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนายุคโลกาภิวัฒ) “องค์การ ที่มีสมรรถนะการรับรู้สิ่งปรากฏและเปลี่ยนแปลงของภาวะแวดล้อม ทั้งภายนอกและภายใน ผ่าน ระบบข่าวสาร ข้อมูลความรู้ และ สามารถประมวลผล/วิเคราะห์ทำความเข้าใจ กำหนดเป็น เป้าประสงค์ทางเลือก ขอเสนอใหม่ๆ เป็น นวตกรรม ที่นำไปประยุกต์ใช้ในองค์กรได้อย่างเหมาะสมทั้นเหตุการณ์และองค์การยังสามารถตวงประสบการณ์แปลงเป็นความรู้และประยุกต์ใช้เป็นความรู้และการชี้นำที่ต่อเนื่อง” องค์การที่สามารถปฎิบัติตามบัญญัติ5ประการ คิดเป็นเชิงระบบ (System Thinking) เห็นความเชื่อมโยง(interdependence) สรรพสิ่งและเหตุการณ์ต่างๆของโลก สามารถวางระบบการทำงานที่มีประสิทธิ ภาพ อยุ่รอดและแข่งชันได้ มีผู้รู้หลักการและกรอบความคิด มีพี่เลี้ยง (Mental Models) ที่รู้แนวปรับเปลี่ยน แนวคิด กระบวนทรรศน์ สมรรถนะ ได้ทันโลก ให้ องค์กรมี การปรับ กลยุทธ์ (Rethink)ปรับระบบงาน(Reengineer)อย่างต่อเนื่อง มีการกำหนดพันธกิจความรับผิดชอบร่วมกัน (Shared Vision) เรียนรู้ร่วมกันไปสู่จุดหมาย เป้าประสงค์ร่วมเดียวกัน ไม่ต่างคนต่างคิดต่างทำ สมาชิกองค์กรสามารถรู้จักเรียนรู้เพิ่มเติม (Personnal Mastery) อย่างต่อเนื่อง และมีความคิดริเริ่มสร้างสรร อย่างต่อเนื่อง ทำงานและเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Working&Learning) สมาชิกได้แสดงศักยภาพที่มีอยู่ออกได้เต็มที่ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ใหม่ๆ และเผยแพร่องค์ความรู้ที่เกิดจากแง่คิดประสบการณ์ที่หลากหลาย(Diffusion) (จาก Data ปรับปรุงเป็น Information และ วิเคราะห์ให้ได้ Knowledge แล้วทดลองปฏิบัติ สรุปเป็น Wisdom) ( *Peter Senge ; The Fifth discipline ,1994)) อุทิศ / เม.ย./2544
4
Bureaucratic accountability
GOOD GOVERNANCE ความยั่งยืน Sustainability OECD ; 1995 Bureaucratic accountability ความยุติธรรม Social Justice Political legitimacy and accountability การเข้าถึง Accessibility ความโปร่งใส Transparency ความรับผิด Accountability คาดหมายได้ Predictability A fair and reliable judicial system Freedom of informatiom and expression การมีส่วนร่วม ของประชาชน Public Participation นิติธรรม Rule of Law Effective and efficient public sector management Freedom of association and participation Cooperation with civil sociaty organizations TEI ; 2545 อุทิศ มิถุนายน 2545
5
การกำกับและพัฒนาองค์กรอย่างสมดุลย์(Balanced Scorecard)
Customers;External Perspective Management;Internal Perspective ความเห็น ความต้องการ เป้าประสงค์ ผลงานที่ลูกค้า และผู้มีส่วนได้เสียประโยชน์ ต้องการได้เห็น (ผู้รับบริการ ประชาชน หน่วยราชการ รัฐบาล) สมรรถนะบุคลากร กระบวนการทำงาน บทบาทโครงสร้างองค์กรวัฒนธรรม ค่านิยมที่ลูกค้า-ผู้ถือหุ้นพอใจ สมดุล วัตถุประสงค์ระยะยาว-สั้น การดำเนินการต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภายใน-ภายนอก การกำกับ ชี้นำ ทั้งสาขาหลักและสาขาสนับสนุน มาตรการทั้งด้านการเงินและที่มิใช่การเงิน Financial Perspective Innovation(;Learning) Perspective ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการจัดสรรงบตาม แผน-วัตถุประสงค์การกำกับตรวจสอบ ป้องกันทุจริต การติดตามประเมินผล ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูลพัฒนาเครือข่าย ระบบงาน งานวิจัย นวัตกรรม การใช้ประโยชน์ Robert S. Kaplan & David P. Norton ; 1996 การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ต.ค../2546
6
การบริหารสู่ความสำเร็จ
การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/พ.ค./2544
7
การบริหารเชิงกลยุทธ์;ความพร้อม3ด้าน
แผนที่ดี (แผนกลยุทธ์) พัฒนาบุคลากร บริหารแบบก้าวหน้า (การพัฒนาทรัพย์กรบุคลากร) (กระบวนการดำเนินงาน) (ระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์) องค์กร (พัฒนาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้) การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/พ.ค./2546
8
“คิดก่อนทำ” คือการวางแผน
“คิดก่อนทำ” คือการวางแผน เป็นเครื่องมือ หนึ่งในกระบวนการบริหาร สามารถลดความเสี่ยง เสริมการประสานงาน เกิดประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล (มากกว่าการไม่วางแผน) อุทิศ/ธ.ค./๔๑
9
กลยุทธ์ ความสัมพันธ์ของเทคนิคการวางแผนและแผนระดับต่างๆ ชาติ เฉพาะกิจฯ
กายภาพ Phys. เทคนิคฯ กลยุทธ์ Stratergic planning สาขาฯ Sectoral สหสาขาฯ Inter-sect. ครบวงจร (Comp.) ระดับฯ ชาติ (ระยะยาว-ปานกลาง) แผนสาขาฯ (ระดับชาติ) (กระทรวง สำนัก-กรม รัฐวิสาหกิจ) แผน-ชาติ (กระทรวง สำนัก-กรม) (เทคนิคทั่วไป ไม่เหมาะสม ในปัจจุบัน แต่ กระบวนการ มีส่วนร่วม ยังใช้ได้ดี) ผังเค้าโครงฯ ประเทศ แผนยุทธ์-ชาติ (กระทรวง สำนัก-กรม) ประสานฯ (ภาค/อนุภาค) (ระยะกลาง-สั้น) แผน ประสาน- ปฎิบัติการ แผนยุทธฯ ภาค-อนุภาค จังหวัด ผังภาค-อนุภาค แผนภาค-อนุภาค แผนจังหวัด ท้องถิ่น-พื้นที่ (ปฎิบัติ) (ระยะกลาง-สั้น) ผังเมือง-ชุมชน แผนยุทธ์-แผน ปฎิบัติ (หน่วยงานปฏิบัติ-ท้องถิ่น/ชุมชน) ผังเฉพาะ เฉพาะกิจฯ อทิ ;แผนปฎิรูประบบราชการฯ แผน ปปช. ฯลฯ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ตค./2543
10
(แผนยุทธศาสตร์ ; Strategic planning)
ลักษณะแผนกลยุทธ์ (แผนยุทธศาสตร์ ; Strategic planning) - เน้นให้องค์กรมียุทธการดำเนินการ และ ปรับพฤติกรรม สู่ภาวะที่เหนือ-ทันสมัยกว่า - แก้ไขปัญหาโดยมีเป้าประสงค์ร่วม (วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก) เป็นหนึ่งเดียวกัน จากการระดมสมองของทุกฝ่ายอย่างมีส่วนร่วม - ยึดหลัก “รู้เขารู้เรา” ( วิเคราะห์สถานะการณ์ ทุกฝ่าย และ ทั้งบวกและลบ ) - การวางแผนเน้นกระบวนการ/องค์ประกอบและความสัมพันธ์มากกว่าขั้นตอน -เน้นที่ผลลัพธ์จากการ ปฏิบัติอย่างคล่องตัวมากกว่า ขั้นตอนและวิถีการที่ตายตัว โดยการติดตามประเมินสถานการณ์ ปรับลำดับความสำคัญ และ ปรับแผนงานได้ ให้สอดรับภาวะที่อาจผิดแปลกไปจากการคาดการณ์ หรือความเข้าใจที่มี อยู่เดิมได้ “แผนฯปัจจุบันจะดีกว่าแผนฯในอดีต” การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/เมษายน/2542
11
องค์ประกอบหลักการวางแผนกลยุทธ์
(ขั้นตอนการบริหารเชิงยุทธ์) (Strategic Management Steps) ปรับยุทธการ ดำเนินการ ด้านกลไก& การกำกับ และ ติดตาม การประเมิน กำหนดทิศทาง พัฒนาองค์กร ด้าน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก การยกร่าง และกำหนด ยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์) การ พัฒนา การวิเคราะห์ ภาวะแวดล้อม ภายนอก และ ภายใน กำหนด ยุทธวิธี (กลวิธี) การ ดำเนินงาน FEEDBACK(การปรับองค์ประกอบหลักของแผนให้สอดรับกัน) Source;Strategic Management, A focus process: Samuel C. Certo; J. Pall Peter; 1988 การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/ธันวาคม/2542
12
ร่างวัตถุประสงค์หลัก พันธกิจ-วัตถุประสงค์แผน (และบทบาท/ค่านิยมหลัก)
องค์ประกอบหลัก การวางแผนกลยุทธ์ ศึกษากลุ่มเป้าหมาย -ลูกค้า/ผู้เสียภาษี -ผู้สนับสนุน -ผู้มีอิทธิพลหนุนหลัง ปรับ/กำหนด องค์กร/กลไก ขบวนการ บริหาร/จัดการ กฎ/ระเบียบ วัฒนธรรมองค์กร และ การ ติดตาม ประเมินผล วิจัยแนวโน้ม/แรงกดดัน -ด้านการเมือง -เศรษฐกิจและสังคม -เทคโนโลยี ศึกษาวิจัยคู่แข่ง -กำลังอำนาจการแข่ง ศึกษาวิจัยพันธ์มิคร -พลังความร่วมมือ การวิเคราะห์ ภาวะแวดล้อม/ อิทธิพลภายนอก ยุทธวิธีดำเนินการ -ทางเลือกการปฏิบัติ -ลำดับความเป็นไปได้ -ลำดับความสำคัญ อุปสรรค ข้อจำกัด วิธีการ/เทคนิค แผนงานที่เหมาะสม ร่างวัตถุประสงค์หลัก (และอาณัติ) โอกาส ภาวะคุกคาม กำหนดแนวทาง /วิธีการวางแผน กำหนดประเด็น ยุทธศาสตร์หลัก ร่างวิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ-วัตถุประสงค์แผน จุดอ่อน จุดแข็ง ร่างพันธกิจ (และบทบาท/ค่านิยมหลัก) การวิเคราะห์ ภาวะแวดล้อม/ อิทธิพลภายใน ศึกษาวิจัยทรัพยากร -ประชากร -เศรษฐกิจการเงินการคลัง -ระบบข้อมูล-การติดต่อ -ความพร้อมต่างๆ ศึกษาผลงาน -ผลลัพธ์ -ประวัติผลงาน Applied from ;Strategic Planning:1988; John M. Bryson & Robert C Einsweiler ยุทธวิธี/กฏที่มีอยู่ -แนวปฎิบัติทั่วไป -บทบาทหน้าที่กลไก การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/เมษายน/2542
13
Priorities / Trade-offs
การคิดเชิงยุทธ์ Mandates Legislation Policies charter S W O T Analyses Local gov. philosophy principles practices Evalution Criteria Values Stakeholders expectation Community expectation VISION (Desired Future) Responsibilities of the Local Government, the community, private organizations and individuals The Strategy Problems to be addressed /Demands to be met The Stratergic issues Development service delivery and service level choices The Options Actions, Programs, Projects, Budgets and performance measures Implementation Review outcome of implementation and refine / refocus strategies Monitoring and Review Situation Analyses External Influence Local conditons Constrains Priorities / Trade-offs Likely futures Phase 1; Where are we now? Phase 3; What issues do we need to address? Phase 4; What actions must we take to get there? Phase 2; Where would we like to be? Source; Nathaniel von Einsiedel; How to prepare a city strategic plan ; 9/May/97 การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/กรกฏาคม/2542
14
การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/มีนาคม/2543
องค์ประกอบหลักแผนยุทธศาสตร์ “ส่วนเป้าประสงค์” เสริมการ ประสานงาน (เป็นสัญญาประชาคม) (PSA) วัตถุประสงค์/ เป้าหมายหลัก (ความต้องการ) พันธกิจ วิสัยทัศน์ ติดตาม ประเมิน SWOT “ส่วนทางเลือก” ลดความเสี่ยง เพิ่มประสิทธิภาพ “ส่วนกลไก พลักดันกระบวนการ” เพิ่มประสิทธิผล & ความคล่องตัว กลยุทธ์ กลไก ระเบียบ วัฒนธรรม ยุทธวิธี การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/มีนาคม/2543
15
(ข้อผูกพัน/พันธะสัญญา) ปรับกลไก&การแปลงแผนฯ
แนวทางการปรับ&ยกร่างแผนฯ9 อาณัติ (ข้อผูกพัน/พันธะสัญญา) (ร่าง) วัตถุประสงค์หลัก (เป้าหมายแผนฯ) ความคิดเห็นประชาคม พันธกิจ ประเด็นสรุป(11) กลุ่มยุทธ์ ร่างวิสัยทัศน์ SWOT การศึกษาฯ วิจัย คาดการณ์ (สถิติ) SWOT/ยุทธ์-เฉพาะ แต่ละด้าน Editing ยุทธศาสตร์หลัก ทางเลือก และ แนวทางการพัฒนา แนวทาง&มาตรการ ปรับกลไก&การแปลงแผนฯ ติดตาม&ประเมินฯ องค์ประกอบแผนฯ9 วิสัยทัศน์ การยกร่างแนวทางยุทธ์ (ปัจจุบัน) การดำเนินการที่ผ่านมา อุทิศ/27 กันยายน 2543
16
กระบวนการวางแผนต้องมีการตรวจสอบความสอดรับ
ระหว่างองค์ประกอบ (Feed Back Processing) ติดตาม ประเมิน กลยุทธ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ SWOT วัตถุประสงค์/ เป้าหมายหลัก (ความต้องการ) กลไก ระเบียบ วัฒนธรรม ยุทธวิธี อุทิศ/มกราคม/2546
17
ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการพัฒนา
ระบบบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ และความรู้และการจัดทำแผนกลยุทธ์ แผนงาน-โครงการ เป้าประสงค์ ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการพัฒนา กลยุทธ์ RBI SWOT KPI องค์กร-กลไก จัดการ/กำกับ การประเมิน สถานการณ์ การชี้นำ การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/สิงหาคม/2546
18
แผนชาติ ผังเปรียบเทียบระดับ-ความสัมพันธ์ของแผนและการบริหาร-พัฒนา
(เป้าประสงค์แผนฯระดับล่างต้องสอดรับแผนฯระดับเหนือกว่าเสมอ) เป้าประสงค์รวม/ประเทศ แผนชาติ เป้าประสงค์แผน/ยุทธ์ ประเทศ เป้าประสงค์กระทรวง แผนกระทรวง เป้าประสงค์/ยุทธ์ กระทรวง เป้าประสงค์กรม/จังหวัด แผนเฉพาะกิจฯ (ปฎิรูปองค์กรภาครัฐ) แผนกรม/จังหวัด เป้าประสงค์/ยุทธ์ กรมฯ เป้าประสงค์ท้องถิ่น ผังภาค/ผังเมือง แผนท้องถิ่น/ชุมชน ผังชุมชน/เขตป่าสงวน เป้าประสงค์-จุดหมาย ประชาคม ประชาคม การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/กันยายน/2543
19
ประมาณสัดส่วนขององค์ประกอบหลักของแผนฯแต่ละระดับ
เป้าประสงค์/นโยบาย แนวทางเลือก-ยุทธ์ ปฎิบัติการ-กลไก แผน ระยะยาว-ปานกลาง แผนฯชาติ แผนแม่บทระดับชาติ วาระแห่งชาติ แผนฯกระทรวง แผนฯกรม จังหวัด วิสาหกิจ แผนฯท้องถิ่น แผน ระยะสั้น ประชาคม การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ตค./2543
20
การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/พ.ค./2544
กระบวนการระดมสมอง การวางแผน อย่างมีส่วนร่วม การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/พ.ค./2544
21
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วม การระดมสมองกลุ่มย่อย
ปรับพฤติกรรมร่วม การร่วมกันเรียนรู้ เสนอแนะ และยอมรับร่วมกัน ประสานงานกัน ความรู้เบื่องต้น การร่วมพัฒนาความรู้โดยกลุ่มหลัก ผู้เอื้อ กระตุ้น คำถาม นำเสนอสิ่งเรียนรู้ อุทิศ ;cantab ‘87
22
แนวทางการวางแผนกลยุทธ์
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้าน การบริหาร-จัดการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้าน การดำเนินงาน พันธกิจสมมุติ ช่วงการวิเคราะห์ สถานการณ์ร่วม SWOT ช่วงการกำหนด เป้าประสงค์ร่วม อย่างมีบูรณาการ วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์/ เป้าหมายหลัก (ความต้องการ) พันธกิจ กลยุทธ์ ปรับ กลไก ปรับ ระเบียบ วัฒนธรรม ช่วงการกำหนด แนวทางร่วม กลวิธี ติดตาม ประเมินผล การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/ตุลาคม/2546
23
HORIZONTAL FLOW OF POWER
APPRECIATION INFLUENCE CONTROL LEARNING DIALOGUE ACTION SELECTING AND DEBATING PRIORITIES MAKING CHOICES FOR ACTION UNDERSTANDING THE REALITIES AND THE POSSIBILITIES INPUT TRANSFORMATION OUTPUT การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/พ.ค./2544
24
การประยุกต์ใช้ กระบวนการ AIC
(การระดมสมองเพื่อการวางแผนร่วมกัน) ลักษณะพิเศษ เป็นวิธีการคิดร่วมกันผ่านการประชุมหารือ ที่ประกอบด้วยกระบวนการ นึกคิด-วิเคราะห์-ตัดสินใจ เป็นกระบวนการที่สามารถกระตุ้น/ระดมสมองจากการประชุมผู้ร่วมที่มีความหลากประสบการณ์ เป็นการก่อสัญญาประชาคมจากการร่วมคิด-ทำความเข้าใจ-ประยุกต์-สร้างสรรค์-ตัดสินใจเลือกและรับผิดชอบ อุทิศ/แผน ปปช./พ.ค.2543
25
วัฒนธรรม(AIC)ในการประชุม
การประชุมเชิงปฏิบัติการ มีการนำเสนอ ข้อมูลแนวคิด ทางเลือก เพื่อกระตุ้นกระบวนการนึกคิดเลือกสรรร่วมกัน การรังสรรค์ จินตนาการและกำหนดข้อเสนอของทุกคนที่ร่วมประชุมกัน การประชุมกลุ่มย่อย เพื่อ เลือกสรรและเกลาประเด็นนำเสนอเบื่องต้น การประชุมร่วมทุกกลุ่ม เพื่อ ลงมติและวางแนวทางดำเนินการร่วมกัน วัฒนธรรม(AIC)ในการประชุม ต้องร่วมแสดงความคิด-เห็นอย่างเป็นประชาธิปไตยทุกขั้นตอน เขียน วาด ชี้แจง สอบถาม สรุปเสนอ การหารือทุกคนต้องเห็นกระดานบันทึกความเห็นข้อตกลง นั่งครึ่งวงกลม มีการแนะนำซึ่งกันและกัน และต่างพยายามทำความคุ้นเคยระหว่างกัน พยายามเกลาประเด็นให้ชัดเจนที่สุดเท่าที่ทำได้ ไม่วิจารณ์คนอื่นโดยเฉพาะช่วงนำเสนอในกลุ่มย่อย (สอบถามเพื่อความกระจ่างเท่านั้น) การวิจารณ์กลุ่มใหญ่(ร่วมทุกกลุ่ม)เน้นการ “ติเพื่อก่อ” เท่านั้น กลุ่มย่อยไม่ต้องมีประธาน อาศัยผู้ประสานงานกลุ่ม(ฝ่ายเลขาฯ;Facilitator)ประสานการหารือ กลุ่มย่อยควรมีประมาณ8-12คนและควรมีฝ่ายเลขานุการกระจายอยู่ด้วยทุกกลุ่ม อุทิศ/แผน ปปช./พ.ค.2543
26
ภารกิจผู้ร่วมประชุม (1) ภารกิจของผู้ประสานงานกลุ่ม(Facilitators)
ช่วยชี้แจง/แนะแนวทางขั้นตอน และกำกับเวลา ชักจูงให้สมาชิกกลุ่มได้แสดงความคิดเห็นและประเด็นเสนอของตน (ข้อมูลในลักษณะต่างๆ) รวมผลการหารือของกลุ่มย่อย เป็นประเด็นหลัก(ที่สั้น กระชับ และชัดเจน) แนะนำและช่วยในการจัดการข้อมูลและผลการหารือเพื่อนำเสนอ (วิธีเสนอ / แผ่นใส ฯลฯ) ระวังไม่จูงนำประเด็น ไม่ชี้แนะเนื้อหา ไม่มีอคติแก้ต่างให้ เน้นเฉพาะข้อมูล ความเห็นที่ได้จากกลุ่มเป็นหลัก เป็นผู้รวมผลการวิเคราะห์และช่วยสมาชิกในการนำเสนอและ นำข้อมูล ข้อเสนอไปแปลงเป็นองค์ประกอบของแผนฯ อุทิศ/แผน ปปช./พ.ค.2543
27
ภารกิจผู้ร่วมประชุม (2) ภารกิจสมาชิกกลุ่มย่อย
ประมวน/เสนอข้อมูลและข้อคิดเห็น ตามประสบการณ์อย่างอิสระ ไม่ถูกโน้ม น้าวและพยายามวิเคราะห์อย่างไม่อคติ ทุกขั้นตอนการหารืออย่างเชื่อมั่น (อาจ วาดผังความคิด หรือเขียนสาระสำคัญในแผ่นกระดาษที่แจกแผ่นละหนึ่งประเด็น) ร่วมกันวิเคราะห์ หารือและผนวกข้อมูล-ข้อเสนอแนะ ให้เป็นระบบ/รูปแบบที่ สามารถสื่อประเด็นของกลุ่มโดยพยายามให้ข้อคิดเห็นของสมาชิกทุกคนได้ถูกบรรจุ ลงในระบบ/รูปแบบ อย่างไม่ซ้ำซ้อนและอย่างเห็นพ้องร่วมกันในกลุ่มของมิตร ช่วยกันกลั่นกรองประเด็นให้เกิดเป็นสาระที่กระทัดรัดเข้าใจง่ายสื่อความหมาย โดยตรง สั้น กระทัดรัด ชัด ช่วยกันบันทึก และถ่ายทอดสาระเป็น ผลงานนำเสนอ อย่างมีความรับผิดชอบ และ ต่างมีบทบาทเทียมกัน รักษาบรรยากาศให้การหารือดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง โดยต่างเรียนรู้ร่วมกันไปด้วย อุทิศ/แผน ปปช./พ.ค.2543
28
สาระสำคัญแต่ละองค์ประกอบ
การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/พ.ค./2544
29
การกำหนดแนวทางและวิธีการวางแผน
การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/พ.ค./2544
30
การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เมษายน/2542
ทำความตกลง; จุดยืนการพัฒนา วัตถุประสงค์หลัก/รองของการทำแผนฯขององค์กร จะเตรียมการทำอะไรให้สังคมและประชาชน เกี่ยวข้องและมีขอบข่ายงานแค่ไหน มีนโยบายจากแผนที่เกี่ยวข้องระดับบนหรือไม่ ลักษณะของแผนฯ(ขอบข่ายการประสาน-ชี้นำ)และระยะเวลาการวางแผนฯที่เหมาะสม ทบทวนข้อมูลการประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์(ที่มีอยู่เดิม) ประสบการณ์ของกระบวนการพัฒนาทั้งในและต่างประเทศ ข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง (การติดตามประเมินผล การคาดการณ์ วิสัยทัศน์ที่เกี่ยวข้อง หลักการ(ปรัชญา) ที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) สรุปผลการวิเคราะห์ต่างๆ การศึกษาค้นคว้าด้านวิชาการ หลักการ&แนวคิดของการพัฒนาและแผนฯที่มีอยู่เดิม ตัวแปร โครงสร้างปัญหาที่เกี่ยวข้อง ประเด็น/สิ่งท้าทาย/ทางเลือกการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับแผนฯที่จะทำ การวิเคราะห์SWOTที่มีอยู่เดิม ฯลฯ การวางแผนฯจะเป็นไปภายใต้เงื่อนไขอะไร ต.ย. ประเด็นหลักตรรก/ตัวเลข(Sketch;Skeleton;Schematic)ก่อน รายละเอียดทีหลัง - สมมุติฐานหลักการพัฒนา การศึกษาวิจัยเพิ่มเติม มีประชาพิจารณ์ด้วยหรือไม่ อย่างไร จะทำSWOT Analysis ตัวแปรระดับใดบ้าง จึงจะเหมาะสมสถานการณ์? ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง/กลไกของกระบวนการวางแผนแต่ละขั้นตอน ปัจจัยสนับสนุนและองค์กรรับผิดชอบแผนฯที่เกี่ยวข้อง บุคลากรและสายงานและการแต่งตั้งมอบหน้าที่ด้านต่างๆในการทำแผนฯ กำหนดเครือข่ายและแนวการประสานงาน(ผู้บริหาร)องค์กรอื่นของการทำแผนฯ การกำหนดแนวทาง และวิธีวางแผน การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เมษายน/2542
31
“ตกลงว่าแผนกลยุทธ์ที่ทำเป็น แผนระดับใดจะเกี่ยวข้องกับ
แผนระดับอื่นอย่างไร (เพื่อการชี้นำร่วมกันได้อย่างไร) ขอบข่ายการชี้นำที่จะต้องเน้น ให้มีในแผนฯนี้จะมีอะไร และ มากน้อยเพียงใด” วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์/ เป้าหมายหลัก (ความต้องการ) พันธกิจ SWOT กลยุทธ์ ยุทธวิธี กลไก ติดตาม ประเมิน ระเบียบ วัฒนธรรม
32
การวางแผนยุทธฯ อุทิศ/เมษายน/2544
ผังขั้นตอนการวางแผนการป้อง-ปราบคอรัปชั่นแห่งชาติและปปช. การสัมนา1 การสัมนา2 การสัมนา3 การสัมนา5 การสัมนา6 ปรับองค์กร กลไก การติดตาม ประเมิณ แนวทางป้อง-ปราบ จากสาธารณะชน ยกร่างยุทธฯ เสนอ กก.ปปช. การศึกษา&วิเคราะห์ แผน แห่ง ชาติ แนวทางดำเนินการ จาก ปปช. แผนฯเดิม ปปช. การสัมนา4 บริหาร&ปฎิบัติการ ปปช. ปรับแผน&โครงการ ปปช. เวลา 3 เดือน 8 เดือน 1 เดือน การวางแผนยุทธฯ อุทิศ/เมษายน/2544
33
ขั้นตอนการวางแผนขจัดปัญหาด้านยาเสพติด
รายการดำเนินงาน หน่วยงาน หมายเหตุ ติดต่อหน่วยงาน(ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง) อทิ กรมตำรวจ กทม. สาธารณะสุข ศึกษา เพื่อให้เสนอ ตัวแทนหน่วยที่เกี่ยวข้อง ระดับต่างๆหน่วยงานละประมาณ3-5คน หารือเพื่อกำหนด บทบาทและหน้าที่และเวลาการปฎิบัติ การตามขั้นตอนการวางแผน ของกก.กำกับการวางแผน และกลุ่มคณะทำงานฯจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะมีการจัดตั้งกลไกผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ระดับชุมชนเพื่อการระดมสมองในการ ประชุมเชิงปฏิบัติการภายหลัง จะต้องมีการทำความตกลงเวลานัดหมาย การทำงาน การประชุมตกลงใจ การประชุม เชิงปฏิบัติการระดมสมอง รวม ผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง กรมตำรวจ กทม ก.ศึกษาฯ ก.สาธารณะสุข ขั้นการยกร่าง การวิเคราะห์ สภาวะแวดล้อม เป้าประสงค์และ กลยุทธ์-แผนงาน คณะทำงานฯประสานงานข้อมูลและยกร่างการวิเคราะห์ ภาวะแวดล้อม ร่างเป้าประสงค์ละร่างกลยุทธ์แผนงานการ ปฏิบัติการฯเพื่อนำเสนอในการประชุมระดมสมอง ผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง กำหนดผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อการประชุมระดมสมองครั้งที่1 ข้อมูลหน่วยงานที่เกี่ยวข้องถูกวิเคราะห์ เป็นสภาวะจุดอ่อน แข็ง โอกาส อุปสรรค ต้องเตรียมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ระดมสมอง ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 100- 150คน คณะกก.กำกับแผนฯ คณะทำงานฯ ชุมชนและเขตฯ ขั้นตอนการปรับ ผลการวิเคราะห์ เป้าประสงค์- กลยุทธ์/แผนงาน การประชุมฯระดมสมองและการรวบรวมข้อแนะนำ คณะทำงานฯ แก้ไของค์ประกอบหลักของแผนที่นำเสนอ ในการระดมสมอง ให้สอดรับกับข้อเท็จจริง ยอมรับได้ และ ปฏิบัติได้ คณะกก.กำกับแผนฯ คณะทำงานวางแผนฯ ชุมชนและเขตฯ ผู้บริหารหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะได้รับ การรายงานและขอข้อสังเกตุเพื่อคณะทำ งานได้ปรับปรุงแผนควบคู่กันด้วย ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดแผนงาน โครงการและวิเคระห์ความยาก-ง่ายการดำเนินการ กำหนดคณะทำงานร่างแนวทางการติดจามประเมินผล ยกร่างแนวทางปรับกลไก-ระเบียบ และแนวทางการ ติดตามประเมินผล ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารและการจัดกลไก จะได้รับเชิญร่วมการปรับปรุงแผนฯ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะร่วมหารือในการยก ร่างแผนงานโครงการเพื่อการทำแผนปฏิบัติ การและงบประมาณ ขั้นตอนการวิเคราะห์ และเสนอแนวทางการ ปรับกลไกและการ ประเมินผล คณะกก.กำกับแผนฯ คณะทำงานวางแผนฯ คณะทำงานประเมิณผลฯ ชุมชนและเขตฯ คณะกก.กำกับแผนฯ คณะทำงานวางแผนฯ ขั้นการนำเสนอแผนฯ มีการสัมนาเพื่อประชาสัมพันธ์แผนฯ คณะทำงานยกร่างและนำเสนอแผนตามขั้นตอนการอนุมัติ การวางแผนกลยุทธ์/อุทิศ/ธ.ค.2544
34
ตัวอย่าง แผนภูมิแสดงกระบวนการจัดทำแผนฯ เวลา
ภารกิจ-ขอบข่ายการวางแผนฯ เวลา 4 W 4 W 4 W 6W 6W 8W 8W 8W ทบทวนเอกสาร-สัมภาษณ์-สำรวจ-ประสานข้อมูล หารือกลุ่มเลขานุการ-Facilitators Workshop 1(ยกร่าง SWOT วิสัยทัศน์/เป้าหลัก/พันธกิจ) ประชาพิจารณ์ 1000 คน Workshop 2(วิเคราะห์ร่างยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี) Workshop 3(วิเคราะห์กลไก/การติดตาม/ประเมินผล) ร่างแผนฯรวมฉบับร่าง1 ประชาพิจารณ์ 1000 คน ปรับปรุง-ร่างแผนฯรวมฉบับร่าง2 เวียรแผนฯยังผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย แผนฯฉบับปรับปรุง ดำเนินการ-ติดตามผล การประชุมกรรมการกำกับการวางแผนฯ อุทิศ/กันยายน/2543
35
ตารางแผนงานการยกร่างแผนกลยุทธ์
เวลา ภาระกิจการวางแผน หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 1 การเตรียมงานวางแผน วันที่ 22 ม.ค.2546 ; บรรยายเบื่องต้น 2 การกำหนดพันธกิจสมมุติ 29 ม.ค. ; ตรวจร่างและบรรยายการวิเคราะห์ SWOT 3 การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม SWOT Analysis 5 ก.พ. ; ตรวจร่าง SWOT และ แนะการจัดลำดับฯ 4 การกำหนดเกณท์และร่างลำดับความสำคัญแก่สภาวะแวดล้อม 12 ก.พ. ; ตรวจร่างการจัดลำดับฯและแนะร่างเป้าฯ 5 การกำหนดร่างเป้าประสงค์ 19 ก.พ. ; ตรวจร่างเป้าฯและตกลงแนวการสัมนาฯ 6 การสัมนา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1 27 ก.พ. ; พิจารณา SWOT และเป้าประสงค์ 7 การปรับร่าง เป้าประสงค์ 5 มี.ค.. ; บรรยายการกำหนดกลยุทธ์-กลวิธี 8 การยกร่าง กลยุทธ์-กลวิธี มี.ค-.เม.ย. ; ประสานการกำหนดกลยุทธ์-กลวิธี 9 การสัมนา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2 10 เม.ย ; พิจารณา กลยุทธ์-กลวิธี 10 การปรับร่าง กลยุทธ์-กลวิธี วางแนวประสานงานกำหนดแผนงาน/โครงการ 11 การยกร่าง แผนงาน/โครงการ โดยหน่วยงานรับผิดชอบ 16 เมย.; บรรยาย การปรับองค์กร-กลไก แผนกลยุทธ์วิทยาลัยแพทย์พระมงกุฏฯ อุทิศ ม.ค.46
36
ตารางแผนงานการยกร่างแผนกลยุทธ์ (ต่อ)
เวลา ภาระกิจการวางแผน หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 12 การยกร่าง กลไก และ ระเบียบ และ วัฒนธรรมองค์กร 13 การกำหนดร่างโครงสร้างการบริหาร 14 การกำหนดดัชนี การติดตาม-ประเมินผล 15 การตรวจสอบความสอดคล้องแผนงาน-โครงการและแผนฯ 16 การสัมนา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3 17 การปรับแผนกลยุทธ์ 18 การพิจารณาและอนุมัติแผนฯ และการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 19 การวิจัย ประกอบการวางแผน และ การชี้นำการปฏิบัติ ม.ค. กำหนด TOR 20 การแปลงแผนฯสู่การปฏิบัติ และ การใช้ประโยชน์แผนฯ 21 การติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามแผนฯ 22 การปรับปรุงการชี้นำของแผนฯอย่างต่อเนื่อง
37
SWOT Analysis
38
วิเคราะห์ภาวะแวดล้อม"ภายนอกและภายใน"และประเด็นกลยุทธ์
(SWOT Analysis) S TRENGTH W EAKNESS O PPORTUNITY T HREAT การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/กันยายน/2542
39
ปัญหาสิ้นเปลืองงบประมาณ ไม่สามารถบริการได้ทั่วถึง
สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม สังคม-เศรษฐกิจ บริโภคเกินสมดุลย์ และผู้ประกอบการ ขาดจริยธรรมทาง สิ่งแวดล้อม ทำประมง มากเกิน กระทบ ประมง - ชายฝั่ง สังคมพึงพา ด้อยเทคโนฯ -นวตกรรม ขาดการฟื้นฟู อนุรักษ์ แท้จริง ป่าชายเลน ถูกทำลาย ปัญหา ที่ดินทำกิน ภาวะ ยากจน ป่าไม้ถูกทำลาย ทรัพยากรธรรมชาติ ถูกใช้เพื่อขยาย เศรษฐกิจรายได้ อย่างต่อเนื่อง ขยายตัว ของอุตสาหฯ คมนาคม-เมือง ปัญหาน้ำ ขาดแคลน ปัญหามลพิษ การเพิ่มขึ้นของ ขยะ กากของเสีย พื้นที่ น้ำ อากาศเสีย กระทบ ระบบ นิเวศ/การดำรงชีพ ขาดมาตร การจัดการ ที่รัดกุม กลไกรัฐ บทบาทสับสน เพิ่มต้นทุน การผลิต-บริการ ลดสมรรถนะ การแข่งขัน สิ้นเปลือง พลังงาน PPPไม่ถูกปฎิบัติ การจัดการที่ ขาดประสิทธิภาพ ถูกแทรกแซง กฏไม่ยุติธรรม อ่อนการมีส่วนร่วม การแก้ไขที่ปรายเหตุ เทคโนฯต่างชาติ ปัญหาสิ้นเปลืองงบประมาณ ไม่สามารถบริการได้ทั่วถึง ไม่ได้รับการยอมรับ เกิดความขัดแย้ง อิทธิพลประเทศพัฒนาแล้วและกติกาสากล อุทิศ /19 มิ.ย 45
40
วิถีการเปลี่ยนแปลงของสาขาการพัฒนาหลักของประเทศไทย
สาขาเกษตรและการค้า การส่งออกด้านการเกษตร พื้นที่ภูมิภาค- อิสาน อุตสาหกรรมชดเชยการนำเข้า ข้อจำกัด พื้นที่บุกเบิก ด้านเกษตร (ขาดแคลน) ภาวะชงักงัน ทางเศรษฐกิจ ลดค่าเงินบาท อุตสาหกรรมแรงงาน พื้นที่เมือง อุตสาหกรรมเทคโนระดับต่ำ ขยายช่องว่าง อุต-เทคโนกลาง -เครื่องไฟฟ้า อุตสาหกรรมส่งออก นครใหญ่ อุต-วิทยาการ แผนฯ1-3 แผนฯ4-6 แผนฯ7 ขยายการพึ่งพา อุทิศ กันยายน 2542
41
ยุคโลกาภิวัฒน์ วิกฤติเศรษฐกิจ แผนฯ9
วิถีการเปลี่ยนแปลงของสาขาการพัฒนาหลัก ส่งออกธัญญพืชแก่ประเทศที่นำเข้าในเอเซีย -จีน เกษตร โดย ผลผลิตที่มีมูลค่ากว่าในตลาดยุโรป เกษตร โดย แนวโน้มสาขาเกษตร ปฏิรูปที่ดินเกษตร/เพิ่มมูลค่าผลผลิต/ใช้แรงงานน้อยลง-เทคโนมากขึ้น ผลิตภัณท์ตามสมัยนิยม เครื่องแต่งกายและผลิตภัณท์สำเร็จรูปมูลค่าสูง อุตสาหกรรมส่งออก สินค้ามูลค่าสูง วิกฤติเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมหนัก(เริ่มต้น) แผนฯ8 สำนักงานใหญ่กลุ่มอุตสาหกรรม แผนฯ9 ยุคโลกาภิวัฒน์ ธุรกิจบริการ/ที่ปรึกษา/การออกแบบ ฯลฯ ธุรกิจข้อมูลข่าวสาร/การข่าวและโฆษณานานาชาติ อุตสาหกรรมวิทยาการ ศูนย์กลางภูมิภาค(นานาชาติ) ศูนย์ธุระกิจการเงินนานาชาติ ศุนย์การให้บริการทางเทคนิควิทยาการ ขยายการพึ่งพา ประชากรชนบทลดลง ประชากรส่วนใหญ่เป็นคนเมือง อุทิศ กันยายน 2542 อาเซี่ยนเข้าสู่โลกใหม่
42
พันธกิจสมมุติ ; 3-5 ปีข้างหน้า
SWOT พันธกิจสมมุติ ; 3-5 ปีข้างหน้า ตัวแปรที่มีอิทธิพล ผลสำเร็จ ความล้มเหลว อุทิศ สค. 2545
43
ภารกิจหลักของกรมการประกันภัย กระทรวงพาณิชย์
ภาระกิจหลักตามกฏหมาย กำกับดูแลฐานะการเงินและการประกอบธุระกิจของบริษัทประกันภัย ตัวแทนและนายหน้าประกันภัย คุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้เอาประกันภัยและประชาชน ส่งเสริมพัฒนาให้ธุระกิจประกันภัยมีความเจริญก้าวหน้าอย่างมีประสิทธิภาพเป็นกลไกสำคัญต่อการพัฒนารวมของประเทศ กำกับดูแลให้มีการปฎิบัติตามกฏหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ภาระกิจหลักที่ได้รับมอบหมาย ส่งเสริมพัฒนาธุระกิจประกันภัยทั้งประกันชีวิตและประกันวินาศภัยให้เจริญก้าวหน้ามั่นคง และเติบโตที่เหมาะสม มีเสถียรภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรับของประชาชนและสังคม จัดให้มีปัจจัยพื้นฐานที่จำเป็นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันของธุระกิจประกันภัย พัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับการเปิดเสรีธุรกิจประกันภัยและด้านอื่นๆ การให้ธุระกิจประกันภัยร่วมสนับสนุนและสร้างมาตรฐานการจูงใจต่อลดความถี่และความร้ายแรงของการเกิดอุบัติเหตุและอุบัติภัย ภาระกิจหลักที่สาธารณะมุ่งหมาย ผู้ประกอบการดำเนินการตามกฏหมายอย่างเคร่งครัด มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีการบริหารจัดการที่ดีมีมาตรฐานสากล ประชาชนได้รับบริการที่ดีได้รับสิทธิประโยชน์จากระบบประกันภัยครบถ้วนรวดเร็วเป็นธรรม ธุรกิจประกันภัยเติบโตอย่างมั่นคงมีเสถียรถาพ มีขีดความสามารถพร้อแข่งขัน การติดต่อประสานงานไม่ยุ่งยากซับซ้อน
44
ร่างพันธกิจสมมุติ ของกรมการประกันภัย กระทรวงพาณิชย์
“กำกับดูแลฐานะการเงินและการประกอบธุระกิจของบริษัทประกันภัย ตัวแทนและนายหน้า ประกันภัย ให้ดำเนินการตามกฏหมาย อย่างเคร่งครัดมีวินัย มีความรับผิดชอบต่อสังคมมีการ บริหารจัดการที่ดีมีมาตรฐานสากล มีเสถียรถาพและขีดความสามารถพร้อมแข่งขันตลอดจน พัฒนาบุคลากร ให้สามารถรองรับการเปิดเสรีธุรกิจ ร่วมสนับสนุนและสร้างมาตรฐานการจูง ใจต่อลดความถี่และความร้ายแรงของการเกิดอุบัติเหตุและอุบัติภัย ควบคู่การส่งเสริมพัฒนา ให้เจริญก้าวหน้ามั่นคงและเติบโต อย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพมีเสถียรภาพเป็นที่ยอมรับ ของประชาชนและสังคมเป็นกลไกสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ คุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้เอาประกันภัยและประชาชน ให้ได้รับบริการที่ดี ได้รับสิทธิ ประโยชน์จากระบบประกันภัยครบถ้วนรวดเร็วอย่างเป็นธรรมตามกฏหมายไม่ยุ่งยากซับซ้อน” (สัญญลักษณ์ ; ต้องรบ ให้ชนะ อย่างกล้าหาญ )
45
แผนฯกาชาด ร่างพันธกิจสมมุติ “สภากาชาดจักรักษาพยาบาล และ บรรเทาทุกข์ในทุกวิกฤติการณ์มีการจัดเตรียมสถานที่ และ เวชภัณฑ์ ยา โลหิต และ สร้างเสริมองค์ความรู้ด้านการแพทย์ และ พยาบาลเพื่อสั่งสอนบุคลากรที่ทำหน้าที่ทั้งปวงในเรื่องนี้ ตลอดจนให้บริการ และ สนองความต้องการสาธารณะชนเพื่อยกระดับคุณค่าชีวิตแก่ทุกหมู่เหล่าทั้งในยามสงบ และ เวลาสงครามตามหลักการของกาชาดสากล”
46
พันธกิจสมมุติ สวพ.ทร. “สำนักงานวิจัยและพัฒนาการทางทหารกองทัพเรือ เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่อำนวยการ ประสานงาน แนะนำ กำกับการ รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล ดำเนินงานวิจัย และประเมินค่าผลการวิจัยในกองทัพเรือ ตลอดจน สรรหา ขยายความร่วมมือด้านงานวิจัยกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก เพื่อเพิ่มขีดความสามารถและยกระดับงานวิจัย ต่อการนำไปใช้หรือนำสู่สายการผลิตเพื่อการพึ่งพาตนเอง”
47
“เรา-เขา” หรือคือใคร? ตัวแปร ; สิ่งมีอิทธิพลที่สำคัญต่อองค์กรให้เกิดความสำเร็จและหรือความล้มเหลว ตัวแปร “เรา”ที่มีอยู่ ของ องค์กร(ภายใน) (องค์กร หรือประชาคม ผู้ที่ต้องรับผิดชอบการพัฒนาโดยตรงของการพัฒนาระดับนั้นๆ(แผนพัฒนาระดับนั้น) ภาครัฐ กระทรวง มหาวิทยาลัย กรมที่เกี่ยวข้อง รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน วิสาหกิจ บริษัท มูลนิธิ มหาวิทยาลัย) โดยทั่วไป พิจารณาตัวแปร “เรา”ที่เป็นปัจจัยทั้ง ตัวแปร ที่เป็น ปัจจัยพื้นฐานการประกอบการ คน เงิน ข่าว วัตถุดิบ ตัวแปร ในการดำเนินการ การบริหาร การผลิต ขาย วัฒนธรรม ตัวแปร ที่เป็นผลผลิต คุณภาพสินค้า-บริ การ ภาพลักษณ์ ฯลฯ ตัวแปร “เขา” ของภาวะภายนอก(สิ่งที่องค์กรควบคุมมิได้) โดยทั่วไป พิจารณาตัวแปร “เขา”ทั้ง ตัวแปรที่เป็น(จะเป็น)สภาวะที่มีอิทธิพล (ตลาด) เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโน ตัวแปรที่เป็น(จะเป็น)ลูกค้า ประชาชน ผู้ประกอบการ ตัวแปรที่เป็น(จะเป็น)คู่แข่ง ประชาคมต่างประเทศ ฯลฯ อุทิศ เม.ย 2544
48
สภาวะแวดล้อมที่ชัดเจน = ตัวแปร + บทบาทตัวแปร
บทบาทตัวแปร ; มีบทบาทและหรือคุณลักษณ์ทั้ง ทางบวกและลบต่อการพัฒนา สภาวะแวดล้อมที่ชัดเจน = ตัวแปร + บทบาทตัวแปร (โดยอาจมีปรากฏการณ์หรือผลกระทบเป็นสิ่งยืนยันความเป็นอยู่จริงของภาวะได้) ตัวแปร บทบาทตัวแปร เหนือพันธกิจสมมุติ เขา/เรา บวก/ลบ เขา/เรา บวก/ลบ พันธกิจสมมุติ เขา/เรา บวก/ลบ ต่ำกว่าพันธกิจสมมุติ สภาวะแวดล้อม อุทิศ เม.ย 2544
49
? ตัวแปรอาจเปลี่ยนจาก “เขา” เป็น “เรา” ได้
หากสถานะของตัวแปรและระดับของแผนฯที่วางเปลี่ยน (ต.ย. รัฐบาลเป็น “เรา” ในแผนฯระดับชาติ และอาจ เป็น “เขา”ในแผนระดับจังหวัด) บทบาทตัวแปรอาจเปลี่ยนสลับ ระหว่าง “บวก”และ “ลบ” ได้ หาก เวลา – สถานที่ –ความสัมพันธ์ ฯลฯ ของสถานการณ์เปลี่ยนแปลง ? ...then who know อุทิศ เม.ย 2544
50
โอกาส ภาวะคุกคาม จุดแข็ง จุดอ่อน ตัวแปร บทบาท และ สภาวะแวดล้อมที่เกิด
บวก ที่มีบทบาทเป็น ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม กำกับไม่ได้ เขา ภาวะคุกคาม ลบ ที่มีบทบาทเป็น ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม จุดแข็ง บวก ที่มีบทบาทเป็น ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม กำกับได้ เรา จุดอ่อน ลบ ที่มีบทบาทเป็น ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม อุทิศ ขาวเธียร กค.2545
51
กรณีเฉพาะ(คน)เกี่ยวโดยอ้อม
ตัวแปร บทบาท และ สภาวะแวดล้อมตัวอย่าง เกี่ยวโดยอ้อม นโยบายลดกำลังคนของประเทศสวนทางกับความต้องการของวิทยาลัยฯ ระเบียบการเงินของกองทัพจำกัดความคล่องตัวของวิทยาลัยฯ ประมาณขอบข่าย พันธกิจสมมุติ การบริหารบุคลากรของวิทยาลัยเสริมความก้าวหน้าของบุคลากรฝ่ายฯ ข้อจำกัดการคัดเลือกที่กำหนดทำให้ผู้สมัครส่วนใหญ่ไม่เลือกเข้าเรียน กรณีเฉพาะ(คน)เกี่ยวโดยอ้อม อุทิศ ขาวเธียร กค.2545
52
การวิเคราะห์ภาวะแวดล้อมภายนอก
53
วิเคราะห์ภาวะแวดล้อมภายนอก Issue,Situation,Technique
ภาวะแวดล้อมภายนอกนั้นองค์กรควบคุมไม่ได้และหรือไม่ได้ควบคุม การพิจารณา โอกาส ด้านต่างๆอาทิ -การแข่งขันและการลงทุนใหม่ -การหาแนวร่วม -การเข้าสู่ยุทธศาสตร์ที่ดีกว่าได้เปรียบกว่า -การชิงแนวทาง(ภายนอก)ที่ดีกว่า -ฯลฯ Issue,Situation,Technique การพิจารณา ภาวะคุกคาม ด้านต่างๆอาทิ -คู่แข่งและการลงทุนของฝ่ายตรงข้ามขยายตัว -มีสิ่งทดแทนใหม่ต่อทรัพยากรที่มีอยู่ของเรา -บรรยากาศที่เป็นอุปสรรค(ตลาดไม่ขยายตัว) -อำนาจการต่อรองจากภายนอก -การเปลี่ยนท่าทีกลุ่ม -ฯลฯ สรุป: วิเคราะห์แนวโน้ม คู่แข่ง/ลูกค้า การแข่งขัน/ความร่วมมือ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เมษายน/2542
54
เป็นส่วนที่จะต้องคำนึงถึงในการติดตามประเมินผล
ตัวอย่าง ตารางการวิเคราะห์ โอกาสและอุปสรรค-คุกคามขององค์กร การวิเคราะห์ภาวะแวดล้อมภายนอก(โอกาส/ข้อจำกัด)ของพันธกิจด้าน……… (องค์ประกอบภาวะแวดล้อมภายนอกครอบคลุม…………………) เป็นส่วนที่จะต้องคำนึงถึงในการติดตามประเมินผล การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พ.ค./2543
55
การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พ.ค./2543
โดยปกติควรสรุปได้ว่าตัวแปรใดมีผลเป็นบวกหรือลบ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พ.ค./2543
56
การวิเคราะห์ภาวะแวดล้อมภายใน
57
วิเคราะห์ภาวะแวดล้อมภายใน Issue,Situation,Technique
ศึกษา-ตรวจสอบทรัพยากรปัจจัยหลัก“ที่มีอยู่”ขององค์กร ทั้ง (input) มาตรการและกระบวนการทำงาน ( process) ผลงานขององค์กร (out put) จุดแข็งขององค์กร:- -สมรรถนะองค์กร(การบริหาร บุคลากร ประสบการณ์การแข่งขัน) -ความพร้อมทางการเงิน -ความพร้อมทางเทคนิค วิชาการ -ความคิดสร้างสรร -ฯลฯ Issue,Situation,Technique จุดอ่อนขององค์กร:- -ขาดแผนงาน ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี -เทคนิค เครื่องมือ อุปกรณ์ล้าสมัย -การบริหาร บุคลากร ไร้ฝีมือ -ขาดค่านิยมร่วม สิ่งจูงใจ -ขาดทรัพยากร -ฯลฯ สรุป: วิเคราะห์ ทรัพยากร การบริหาร/กลไก การประกอบการและผลลัพธ์ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เมษายน/2542
59
ตัวอย่าง ตารางการวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง ภายในองค์กร(ต่อ)
หมายเหตุ; ข้อมูลสภาวะแวดล้อมและสมมุติฐานตลอดจนเหตุ-ผล เบื้องหลัง ควรจะสท้อนความจริงและมีความชัดแจ้ง ทั้งในแง่ความ สัมพันธ์และผลกระทบ เพราะจะเป็นข้อมูลที่ใช้และกำกับ การกำหนด กลยุทธและแผนงาน ในการวางแผนขั้นต่อไปด้วย การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พ.ค./2543
60
สรุป เป็นอุปสรรค “คณะทำงานภายนอกสร้างความสับสน”
ตัวอย่าง การบรรจุข้อมูลสภาวะแวดล้อมในตาราง (กรณี ถูก-ผิด ;มองต่างมุม) พันธกิจ ; การปราบปรามคอรัปชั่น ภาวะแวดล้อมภายนอก ; ด้านการเมืองการบริหาร องค์ประกอบ/ตัวแปร ภาวะคุกคาม โอกาส สรุปผลกระทบ ด้าน กลไกสนับสนุน การตัดสินใจล่าช้า และสับสนในหลายกรณี คณะกรรมการสอบสวน ของรัฐทำงานซ้ำซ้อน รัฐบาลสนับสนุนการทำงาน โดยตั้งกรรมการช่วยงานสอบ สวน มีคณะทำงานเพิ่มขึ้น มีการกระจายงานสอบสวน แต่ข้อมูล และประเด็นชี้นำ การตัดสินใจแก่ กก.ปปช. สับสนและต้องมีการตรวจ สอบซ้ำ (ความสัมพันธ์ระหว่างพันธกิจและผู้ บริหารมีจุดอ่อน อะไร อย่างไร แค่ไหน) “ตัวอย่าง สภาวะแวดล้อม สำนักงาน ปปป.มีภาระกิจมากเกินกว่าพนักงานขององค์กรจะสามารถดำเนินการสะสางได้ทันปัญหาการเพิ่มขึ้นของคดีและข้อเรียกร้องด้านทุจริตประพฤติมิชอบของวงการข้าราชการ รัฐบาล ได้มีการดำเนินการช่วยเหลือโดยมีการแต่งตั้งบุคลากรจากภายนอกเป็นคณะกก. และหรือคณะทำงานพิเศษเพื่อผ่อนคลายงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการสืบสวนสอบสวนที่ให้เวลามาก (สรุปผลกระทบต่อพันธกิจ) สรุป เป็นอุปสรรค “คณะทำงานภายนอกสร้างความสับสน” การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มี.ค./2545
61
พันธกิจ ; การให้บริการฯ
ตัวอย่าง การบรรจุข้อมูลสภาวะแวดล้อมในตาราง(กรณีตัวแปรมีบททั้งบวกและลบ) พันธกิจ ; การให้บริการฯ ภาวะแวดล้อมภายใน ; กำหนดให้ครอบคลุม สถาบันในเครือ องค์ประกอบ/ตัวแปร จุดอ่อน จุดแข็ง สรุปบทบาทหลัก บุคลากร ด้าน ระดับผู้บริหาร ผู้บริหารในองค์กรด้อยประสบ การณ์เพราะมีการโยกย้ายบ่อย การตัดสินใจล่าช้า ในบางกรณี การบริการเป็นที่พอใจของลูกค้า เพราะส่วนใหญ่ผู้บริหารมีพื้นฐาน ด้านการศึกษาและได้ผ่านการอบรม มีความคิดริเริ่มสูง และลูกค้าพอใจ มีการสั่งการล่าช้าบ้าง แต่องค์กรสามารถปรับ แนวทางการให้บริการ ใหม่ๆเพื่อสนองความ ต้องการได้ “ตัวอย่าง สภาวะแวดล้อม ; บุคลากรระดับบริหารด้านการบริการฯ ถูกเปลี่ยนแปลงบ่อยเพราะ ปัญหาการเมืองภายในองค์กร และระเบียบขององค์กรที่กำหนดช่วงเวลาการบริหารไว้เพียงไม่เกินสองปีซึ่งระยะเวลาสั้นเกินกว่าจะมีความชำนาญในงานบริการได้ อย่างไรก็ตามองค์กรสามารถสรรหาบุคคลากรที่มีการศึกษาระดับสูงและสามารถจัดการฝึกอบรมทักษะตลอดจนมีการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อปรับปรุงมาตรฐานการบริการฯได้อย่างต่อเนื่อง” การประเมินผลที่ผ่านมาลูกค้ายังพอใจการบริการขององค์กรอยู่อย่างมาก (สรุปผลกระทบระดับพันธกิจ) สรุป เป็นจุดแข็ง“ผู้บริหารการศึกษาสูงมีความริเริ่มลูกค้าพอใจ” การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พ.ค./2543
62
SWOT Analysis “วิเคราะห์บนความเป็นจริง-ให้ใกล้ความเป็นจริงที่สุด”
คาดการณ์(แนวโน้ม)บนฐานข้อมูล-ข้อเท็จจริง ที่มีอยู่และมีความเป็นไปได้สูง ( ที่คาดว่าจะเกิดในช่วงที่จะใช้แผนฯ อาจพลาดได้ แต่ในอัตราส่วนที่ต่ำ ) หลัก-เหตุผลที่ใช้เป็นทฤษฎี-ปรากฏการณ์ที่พิสูจน์แล้ว ไม่ใช้จินตนาการและสมมุติฐานที่ขัดแย้งกับความจริงไม่ใช้อารมณ์-ความรู้สึกส่วนตัว เป็นการประเมิณสถานะการณ์ให้ทราบข้อเท็จจริงโดยวินิจฉัยที่ถูกต้องไม่มีอคติ ไม่มองฝ่ายเดียว(ขาดงบฯ หรือขาดแผนและไม่จัดลำดับความสำคัญ ขาดคนหรือไม่อบรมให้เพิ่มสมรรถนะ หน่วยงานเป็นเลิศเมื่อเทียบกับใครคู่แข่งหรือ? บุคคลารับผิดชอบใครตัดสิน? ) เป็นความพยายามกำหนดประเด็นเพื่อประโยชน์การชี้นำ(มีแรงงานมากเป็นประโยชน์การกำหนดยุทธ์หรือไม่ หรือประเด็นที่เป็นประโยชน์กว่าคือแรงงานส่วนใหญ่ขาดฝีมือ) การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/สค./2544
63
การวางแผนกลยุทธ์ ; อุทิศ/พ.ย../2545
Systematic thinking Outside -in Scope Cause SWOT Effect Scan Inside -Out การวางแผนกลยุทธ์ ; อุทิศ/พ.ย../2545
64
ข้อผิดพลาดการวิเคราะห์ SWOT
1 เรา-เขา ; บวก-ลบ สับสน 2 มองข้ามตัวแปรที่มีอิทธิพล 3 แปลบทบาทหลักของตัวแปรผิด 4 ขาดความครอบคลุม ลึกซึ้ง อุทิศ มีค. 45
65
ตรวจสอบผลการระดมสมอง SWOT
ตัวแปรที่มีอิทธิพล สำคัญและมีอิทธิผลมากพอให้เกิดผลสำเร็จ/ล้มเหลวจริงหรือไม่ บทบาทตัวแปร เป็นบทบาทที่สำคัญที่สุด จริงหรือไม่ (ควรมีที่สำคัญเพียง1หรือ2) กำหนดสภาวะถูกต้องหรือไม่ เป็นจุดแข็งหรือโอกาส เป็นจุดอ่อนหรือภาวะคุกคาม เป็นจุดอ่อน หรือ จุดแข็ง เป็นโอกาส หรือภาวะคุกคาม (เขา หรือเรา//บวก หรือลบ) จุดอ่อนขัดแย้งจุดแข็ง โอกาสขัดแย้งภาวะคุกคามหรือไม่ ภาวะใดเท็จจริงอะไรถูก สาระสมบูรณ์หรือไม่ (ตัวแปรและบทบาท) ขยายสถานการณ์เกิน เท็จจริง เพียงไร สาระยาวเกินไป วกวน เป็นการเล่าเรื่อง ขาดประเด็นหรือไม่ อะไรเป็นประเด็นหลัก สาระเท็จจริงเพียงไร กลุ่มย่อยได้หารือ และ เห็นพ้องร่วมกันจริงหรือไม่ มีสภาวะแวดล้อมครอบคลุม ลึก-ชัดพอ ยังมีประเด็นที่มีความสำคัญอื่นอีกหรือไม่ ทุกสภาวะแวดล้อมอยู่ในขอบข่าย ที่อยู่ในขอบข่ายของพันธกิจสมมุติแค่ไหน เพียงไร
66
การพัฒนาผังSWOT ประเด็นกลยุทธ
67
O W S T 2.จัดลำดับความสำคัญ สภาวะแวดล้อม
การวิเคราะห์ และจัดลำดับความสำคัญสภาวะแวดล้อม O 1.กำหนดเกณท์ เกี่ยวข้องการสร้างผลสัมฤทธิ์ (Balance score card) กระทบอย่างรุนแรงเด่นชัด เด็จขาด กระทบระดับแข่งขันเชิงยุทธ์ แผนฯยุทธ์ฯ เลือกรบ ไม่รบทุกด้าน W S ปรากฏการณ์ เริ่มต้น-ไม่รุนแรง 2.จัดลำดับความสำคัญ สภาวะแวดล้อม 3.ปรับลำดับความสำคัญ ให้สอดคล้องกับข้อมูล(สถิติ) T เป็นแนวคิด-ข้อคำนึงหลัก สิ่งท้าทายที่องค์กรจะต้องพิจารณาในการเผชิญสภาวะแวดล้อม ช่วงแผนฯ(ทั้งทางบวกและลบ) ได้ตลอดรอดฝั่งโดยอาจเกี่ยวข้องกับ ประเด็นสถานะการณ์และปัจจัยหลักที่ต้องการ และหรือสิ่งที่จำเป็นต้องคำนึงถึงในการ ขับเคลื่อนจาก จุดที่องค์กรเป็นอยู่ไปสู่จุอที่องค์กรอยากจะบรรลุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการชี้นำจุดเริ่มการดำเนินการที่เหมาะสม การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มีนาคม/2543
68
ปัจจัยการวิเคราะห์ และจัดลำดับความสำคัญสภาวะแวดล้อม
1/ สภาวะแวดล้อมที่เกี่ยวข้องการสร้างผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิภาพ/ผลการใช้งบประมาณในทางการลงทุน-ปฏิบัติ การบริหารจัดการที่ดีเพื่อความยุติธรรมและยั่งยืน การสนองความต้องการประชาชนเพื่อการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง การมีนวตกรรมเพื่อเสริมสมรรถนะการแข่งขัน การสนองความต้องการประชาชน (External Perspective) นวตกรรมและสมรรถนะการแข่งขัน (Innovation Perspective) ปฏิบัติ-บริหาร การบริหารจัดการที่ดี (Internal Perspective) ประสิทธิภาพ/ผล การทำงาน (Financial Perspective) สร้างสรรค์-ฟื้นฟู ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่กระทบลำดับความสำคัญสภาวะแวดล้อม *Balanced Scorecard ; R. Kaplan & D. Norton 1992 การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มีนาคม/2545
69
2/ เป็นสภาวะแวดล้อมที่กระทบอย่างมีเงื่อนไข รุนแรงเด่นชัด
ปัจจัยการวิเคราะห์ และจัดลำดับความสำคัญสภาวะแวดล้อม 2/ เป็นสภาวะแวดล้อมที่กระทบอย่างมีเงื่อนไข รุนแรงเด่นชัด เป็นต้นเหตุที่สำคัญ มีผลที่แตกหัก ชนะได้ แพ้ได้ อย่างมีนัยยะสำคัญตามหลักการ อย่างสอดรับกับข้อคำนึงของนโยบาย การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มีนาคม/2545
70
“ผังSWOTสามารถฉายสภาวะรวมได้ชัดเจนขึ้น” อุทิศ/แผนกลยุทธ์/มิถุนายน/2543
-1โอกาส จากภายนอกที่มีความเด่นชัดสูงสุด -2โอกาส จากภายนอกที่มีความเด่นชัดปานกลาง -3โอกาส จากภายนอกที่เด่นชัดน้อยกว่า -1 จุดอ่อน ภายในองค์กรที่รุนแรงมากที่จุด -2จุดอ่อน ภายในองค์กรที่รุนแรงปานกลาง -3จุดอ่อน ภายในองค์กรที่รุนแรงน้อยกว่า W S -1จุดแข็ง ภายในองค์กรที่มีอยู่ลำดับสูง -2จุดแข็ง ภายในองค์กรระดับปานกลาง -3จุดแข็ง ภายในองค์กรที่ไม่ชัด -1อุปสรรค จากภายนอกที่คุกคามมากที่สุด -2อุปสรรค จากภายนอกที่คุกคามปานกลาง -3อุปสรรค จากภายนอกที่คุคามน้อยกว่า T “ผังSWOTสามารถฉายสภาวะรวมได้ชัดเจนขึ้น” อุทิศ/แผนกลยุทธ์/มิถุนายน/2543
71
O W S T ร่าง SWOT ก่อนจัดลำดับความสำคัญสภาวะแวดล้อม
1. โครงสร้างองค์กรใหญ่และปฏิบัติงานซ้ำซ้อน มีความล่าช้าด้านการเงิน 2. วัฒนธรรมสถาบันนิยมทำให้ขาดความสามัคคีและเป็นอุปสรรคการประสานงาน 3. ขาดการบริหารข้อมูลที่ทันสมัย การประชาสัมพันธ์อ่อน 4. มีระบบอุปถัมภ์ ภายในองค์กร บทลงโทษไม่ชัดเจน 5. ขาดการประเมินผล และการตรวจสอบภายในที่ชัดเจน ไม่เข้มแข็ง 6. ไม่มีคู่มือในการปฏิบัติงาน 7. ขาดการสนับสนุนด้าน R&D 8. ขาดการฝึกอบรมบุคลากรอย่างต่อเนื่อง 9. การคัดเลือกและจัดสรรบุคลากรไม่เหมาะสม กระทบขวัญกำลังใจ 10. กฎระเบียบไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน การบริหารเป็นแบบสั่งการจากส่วนบน 1. ประมุขให้ความสนใจการพัฒนาแหล่งน้ำและนโยบายรัฐทุกระดับตอบสนองด้วยดี 2. ประชาชนส่วนใหญ่ตระหนักความสำคัญการพัฒนาระบบชลประทาน 3. รัฐบาลมีความเห็นชอบต่อทิศทางการพัฒนาที่องค์กรเสนอ 4. กระแสสังคม รัฐธรรมนูญและแผนฯชาติเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมแบ่งเบางาน 5. การพัฒนาทางเกษตรมีการขยายพื้นที่และต้องการระบบชลประทานเป็นปัจจัยหลักการเกษตร 6. ความก้าวหน้าทาง IT มีส่วนสนับสนุนประสิทธิภาพการบริหารทางชลประทาน 7. การปฏิรูประบบราชการเป็นโอกาสการปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กร 8. รัฐบาลมีเสถียรภาพมากขึ้นทำให้มีโอกาสพัฒนาโครงการต่อเนื่อง 9. สถานการณ์ช่วยให้เกิดการกำกับระบบบริหารด้านการลงทุนพัฒนา 10. บทบาทกรมฯเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นในปัจจุบันเนื่องจากสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง 11. มีแผนงาน โครงการพัฒนาพื้นที่(25)ลุ่มน้ำที่กรรมการดูแล W S 1. นโยบายรัฐไม่สะท้อนความเป็นจริงในพื้นที่ 2. NGOs ต่อต้านการพัฒนาแหล่งน้ำ และสังคมขาดความเข้าใจ 3. มีการแทรกแซงทางการเมืองและอิทธิพลของท้องถิ่น 4. กฎหมายล้าสมัยไม่สอดรับความต้องการ 5. ขาดกฏหมายกำหนดสิทธิการใช้น้ำ 6. ขาดการประสานงานระหว่างกรมชลฯและท้องถิ่น ประชาชนไม่ร่วมมือ 7. มีการแสวงหาผลประโยชน์ของกลุ่มนายทุนและราษฏร 8. ขาดการพิจารณาผลกระทบด้านชลประทานที่มีต่อสุขภาพประชาชน 9. การพัฒนาพื้นที่ต้นน้ำยุ่งยากต้องขออนุมัติ ครม. 10. มีข้อจำกัดด้านงบประมาณมากขึ้น 11. การพิจารณาหน่วยงานภาครัฐด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมล่าช้า 12. ปัจจุบันยังมีปัญหาขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน 13. รัฐมีนโยบายปรับกำลังพลที่คู่กระทบการปฏิบัติการโครงการ 1. บุคลากรมีพื้นฐานทางวิชาการในการประกอบวิชาชีพและมีความชำนาญ 2. การบริหารได้รับการสนับสนุนจากรัฐอย่างต่อเนื่อง 3. มีการบริหารอย่างกระจายอำนาจ 4. มีกฎหมายรองรับอำนาจหน้าที่ 5. มีกลไกสนับสนุนงานในทุกระดับพื้นที่ 6. องค์กรมีประสพการณ์สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 7. องค์กรมีความพร้อมด้านเครื่องจักรและเครื่องมือ 8. มีความสามัคคีและมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน 9. มีบทบาทที่สร้างสายสัมพันธ์กับประชาคมท้องถิ่นด้วยดี T การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2544
72
เกณฑ์การจัดลำดับความสำคัญสภาวะแวดล้อม ด้านการพัฒนาระบบชลประทาน
1.เป็นสภาวะแวดล้อมที่เกี่ยวข้องและมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพ-ผลการพัฒนาระบบและโครงการ ชลประทานโดยตรงด้านการ เสริมมาตรฐานการพัฒนาและจัดสรรแหล่งน้ำ สร้างคุณภาพของโครงสร้างพื้นฐานของแหล่งน้ำ 2. เป็นสภาวะแวดล้อมที่มีผลต่อการบริการเพื่อสนองตามความต้องการประชาชน ด้าน การจัดสรรน้ำอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน การมีส่วนร่วมของประชาชน การป้องกันภัยทางน้ำ 3.เป็นสภาวะแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนาสมรรถนะการบริหารจัดการของกรมชลประทาน เสริมความชัดเจนนโยบาย และจัดระบบแผนงาน พัฒนาความสามารถการติดตามประเมินผล การ Reengineering การกระจายอำนาจ 4. เป็นสภาวะแวดล้อมที่จำเป็นต่อการพัฒนาบุคลากรและความรู้เพื่อการแข่งขันด้านการพัฒนาชล ประทานของประเทศไทย การปฏิรูประบบราชการ การฝึกอบรมการใช้เทคโนโลยี การพัฒนาข้อมูลสารสนเทศ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2544
73
ใบงาน(Worksheet)ที่ 4 การพิจารณาคะแนน SWOT กับเกณฑ์องค์ประกอบความสำคัญ
ของสภาวะแวดล้อมการพัฒนา สศช.(เป็นการให้คะแนนของแต่ละคน) 2 1 2 1 2 3 2 3 2 1 4 1 2 1 4
74
ตัดคะแนนต่ำสุดออกหนึ่งหน่วย ตัดคะแนนสูงสุดออกหนึ่งหน่วย
การคำนวณลำดับความสำคัญเฉพาะกลุ่ม (จุดแข็งข้อที่11 และสมาชิกกลุ่มย่อย 10 ท่าน) ตัดคะแนนต่ำสุดออกหนึ่งหน่วย ตัดคะแนนสูงสุดออกหนึ่งหน่วย = 21 / 8 S11 มีคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มย่อยเป็น = 2.625 การวางแผนกลยุทธ์;อุทิศ; พย.2545
75
การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2544
76
การจัดกลุ่มและวัดความไม่เห็นพ้อง
Standard deviation 2 ( Xi – X ) S = i N ระดับความไม่เห็นพ้องของในกลุ่ม Class interval Max - Min I = N การจัดกลุ่มลำดับความสำคัญ A,B,C,D (4เกรด) ; N=4 A,B,C,D,E (5เกรด) ; N=5 A,B,C,D,E,F (6เกรด) ; N=6 การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ก.พ../2546
77
การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2544
A=Max-(1) I=2.60-(1) 0.40= = A B=Max-(2) I=2.60-(2) 0.40= = B C=Max-(3) I=2.60-(3) 0.40= = C D=Max-(4) I=2.60-(4) 0.40= = D การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2544
78
A=Max-(1)I=2.45-(1) 0.23= 2.22=A B=Max-(2)I=2.45-(2) 0.23= 1.99=B
C=Max-(3)I=2.45-(3) 0.23= 1.69=C การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2544
79
การตรวจข้อเท็จจริงเชิงสถิติ
(สภาวะที่มีลำดับความสำคัญสูง) การตรวจสอบเชิงสถิติ (การรวบรวม-สำรวจข้อมูลเพิ่มเติม) สภาวะ/มีหรือไม่ ขนาดสภาวะ เหตุ-ผลลัพธ์ แนวโน้ม อื่นๆ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2544
80
O W S T การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2544
1. โครงสร้างองค์กรใหญ่และปฏิบัติงานซ้ำซ้อน มีความล่าช้าด้านการเงิน 2. ขาดการประเมินผล และการตรวจสอบภายในที่ชัดเจน ไม่เข้มแข็ง 3. การคัดเลือกและจัดสรรบุคลากรไม่เหมาะสม กระทบขวัญกำลังใจ 4. ขาดการบริหารข้อมูลที่ทันสมัย การประชาสัมพันธ์อ่อน 5. ขาดการสนับสนุนด้าน R&D 6. ขาดการฝึกอบรมบุคลากรอย่างต่อเนื่อง 7. ไม่มีคู่มือในการปฏิบัติงาน 8. กฎระเบียบไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน การบริหารเป็นแบบสั่งการจากส่วนบน 9. มีระบบอุปถัมภ์ ภายในองค์กร บทลงโทษไม่ชัดเจน 10. วัฒนธรรมสถาบันนิยมทำให้ขาดความสามัคคีและเป็นอุปสรรคการประสานงาน 1. รัฐบาลมีความเห็นชอบต่อทิศทางการพัฒนาที่องค์กรเสนอ 2. ความก้าวหน้าทาง IT มีส่วนสนับสนุนประสิทธิภาพการบริหารทางชลประทาน 3. ประมุขให้ความสนใจการพัฒนาแหล่งน้ำและนโยบายรัฐทุกระดับตอบสนองด้วยดี 4. การพัฒนาทางเกษตรมีการขยายพื้นที่และต้องการระบบชลประทานเป็นปัจจัยหลักการเกษตร 5. มีแผนงาน โครงการพัฒนาพื้นที่(25)ลุ่มน้ำที่กรรมการดูแล 6. กระแสสังคม รัฐธรรมนูญและแผนฯชาติเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมแบ่งเบางาน 7. รัฐบาลมีเสถียรภาพมากขึ้นทำให้มีโอกาสพัฒนาโครงการต่อเนื่อง 8. การปฏิรูประบบราชการเป็นโอกาสการปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กร 9. บทบาทกรมฯเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นในปัจจุบันเนื่องจากสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง 10. ประชาชนส่วนใหญ่ตระหนักความสำคัญการพัฒนาระบบชลประทาน 11. สถานการณ์ช่วยให้เกิดการกำกับระบบบริหารด้านการลงทุนพัฒนา W S 1. มีการแทรกแซงทางการเมืองและอิทธิพลของท้องถิ่น 2. ขาดการประสานงานระหว่างกรมชลฯและท้องถิ่น ประชาชนไม่ร่วมมือ 3. กฎหมายล้าสมัยไม่สอดรับความต้องการ 4. มีข้อจำกัดด้านงบประมาณมากขึ้น 5. NGOs ต่อต้านการพัฒนาแหล่งน้ำ และสังคมขาดความเข้าใจ 6. นโยบายรัฐไม่สะท้อนความเป็นจริงในพื้นที่ 7. ขาดกฏหมายกำหนดสิทธิการใช้น้ำ 8. มีการแสวงหาผลประโยชน์ของกลุ่มนายทุนและราษฏร 9. การพิจารณาหน่วยงานภาครัฐด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมล่าช้า 10. ปัจจุบันยังมีปัญหาขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน 11. รัฐมีนโยบายปรับกำลังพลที่คู่กระทบการปฏิบัติการโครงการ 12. การพัฒนาพื้นที่ต้นน้ำยุ่งยากต้องขออนุมัติ ครม. 13. ขาดการพิจารณาผลกระทบด้านชลประทานที่มีต่อสุขภาพประชาชน 1. บุคลากรมีพื้นฐานทางวิชาการในการประกอบวิชาชีพและมีความชำนาญ 2. การบริหารได้รับการสนับสนุนจากรัฐอย่างต่อเนื่อง 3. มีกลไกสนับสนุนงานในทุกระดับพื้นที่ 4. มีความสามัคคีและมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน 5. มีการบริหารอย่างกระจายอำนาจ 6. องค์กรมีประสพการณ์สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 7. มีกฎหมายรองรับอำนาจหน้าที่ 8. องค์กรมีความพร้อมด้านเครื่องจักรและเครื่องมือ 9. มีบทบาทที่สร้างสายสัมพันธ์กับประชาคมท้องถิ่นด้วยดี T การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2544
81
ผังร่าง SWOT หลังการจัดลำดับความสำคัญ ของสภาวะแวดล้อมกระบวนการยุติธรรม
Opportunity 1.ความยุติธรรมเป็นที่พึงปรารถนาของบุคคลทุกชนรุ่น ทุกเพศวัย ทำให้งานของกระบวนการยุติธรรม ได้รับความตระหนักและยอมรับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง A 2.ในยุคโลกาภิวัตน์ประเทศไทยต้องปรับตัวในทุกด้านเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงซึ่งไม่ยกเว้นแม้แต่กระบวนการยุติธรรมต้องปรับตัวให้ทัดเทียมนานาอารยประเทศ A 6.การปฏิรูปทางการเมืองจะทำให้ประชาชนมีความสนใจและตื่นตัวทางการเมืองสูงขึ้น เป็นแรงผลักดันให้มีการปรับเปลี่ยนในเรื่องสิทธิ เสรีภาพมากขึ้น C Strength 1. บุคลากรส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถ ทักษะ ในการปฏิบัติงานวิชาชีพและความรู้เฉพาะด้านของตนในการประสานงานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดี A 2. บทบัญญัติกฎหมายที่กำหนดกระบวนการดำเนินคดีที่ชัดเจนเป็นขั้นตอนสร้างความรู้สึกมั่นคงและมั่นใจในการปฏิบัติ B 3. กระบวนการยุติธรรมมีระบบและอำนาจในการรักษาความสงบเรียบร้อยและความยุติธรรมให้กับประชาชนและสังคม B 5.กระบวนการยุติธรรมที่มีรูปแบบและมาตรฐานระดับสากลมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ เช่น ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศทำให้นานาอารยประเทศยอมรับสร้างความมั่นใจให้นักลงทุนชาวต่างชาติ C
82
Opportunity 7.ความก้าวหน้าทางวิทยาการมีส่วนผลักดันและเอื้ออำนวยต่อการพัฒนากระบวนการยุติธรรมอย่างเป็นองค์รวม D การปฏิรูประบบราชการเอื้ออำนวยต่อลักษณะของการคัดสรรผู้บังคับบัญชาสูงสุดของแต่ละส่วน ทำให้ภาระกิจของกระบวนการยุติธรรมมีคุณลักษณะตรงกับความคาดหวังของประชาชน D 9.ผู้นำทางการเมืองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมซึ่งเป็นโอกาสดีที่จะพัฒนากระบวนการยุติธรรมให้มีความเป็นสากล E 10.การปฏิรูประบบงบประมาณช่วยเร่งการเปลี่ยนแปลงระบบ และพฤติกรรมการทำงานของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม E Strength 6. ระบบงานของหน่วยงานในกระทรวงยุติธรรมในภาพรวมมีลักษณะที่ปรับตัวก่อนวัตกรรมมีระเบียบวินัยกระตือรือร้นมีลักษณะเอื้ออำนวยต่อการเปลี่ยนแปลง C 9. หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายเพื่อป้องกันปราบปรามอาชญากรรมและอำนวยความยุติธรรม ทำให้ประชาชนยอมรับและยำเกรง D 10. การมีศาลปกครองเป็นที่พึ่งพิงทำให้ประชาชนมีความรู้สึกอบอุ่นใจ และข้าราชการมีความรู้สึกมั่นคงต่อการปฏิบัติหน้าที่ของมากขึ้น D 13.กระบวนการยุติธรรมของไทยในปัจจุบันกล่าวได้ว่าเป็นระบบที่ปราศจากคู่แข่งขัน E 14. ความเป็นวิชาชีพในการทำงานของบางหน่วยงานเช่น ศาลยุติธรรม ทำให้การเมืองไม่สามารถแทรกแซง E
83
Weakness 1.ขาดนโยบายระดับชาติ,เป้าหมาย และทิศทางการพัฒนางานอย่างมีเอกภาพแบบองค์รวม A 2.โครงสร้างมีรูปแบบที่เป็นทางการมากเกินไป B 3.ขาดองค์กรกลาง และองค์กรอิสระในการประสานงาน B 4.ระบบการสอบสวน การฟ้องร้อง การกลั่นกรอง และการดำเนินคดีความของแต่ละองค์กรที่รับผิดชอบขาดการทำงานแบบเชื่อมโยงทำให้ขาดประสิทธิภาพและความเป็นธรรมในสังคม C 5.ขาดระบบและกลไกที่จะขยายโอกาสสงเคราะห์คนยากจน ผู้ด้อยโอกาสที่จะเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม C 11.กลไกการอำนวยความยุติธรรมละเลยบทบาทชุมชน D 20.ขาดทักษะการคิด การวางแผนกลไกและวิธีการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ในเชิงรุก E 21.ยึดค่านิยมขององค์กรที่บุคลากรสังกัดเป็นหลักจึงขาดการปฏิบัติงานร่วมกัน E Threat 1.การปฏิรูปการเมืองตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันทำให้เกิดความคาดหวังและความตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนสูงมากจนอาจนำไปสู่การพิพาทขัดแย้งที่จะมีปริมาณคดีเพิ่มขึ้น A 2.ระบบการศึกษาในสาขานิติศาสตร์ทำให้ได้นักกฎหมายที่มีลักษณะใช้กฎหมายเชิงเทคนิคและขาดการมองกระบวนการยุติธรรมในลักษณะ สหวิทยาการ A 3.ขาดเจตจำนงทางการเมืองที่จะพัฒนากระบวนการยุติธรรม B 4.สังคมไทยขาดจิตสำนึกเรื่องความยุติธรรม C 5.ระบบการศึกษาเรียนรู้ของไทยขาดการปลูกฝังจิตสำนึกด้านรักความยุติธรรมทั้งทางตรงและทางอ้อม C 9.การพัฒนาประเทศ ที่เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจกระทบเงื่อนไขพื้นฐานทางสังคมที่เป็นกติการักษาความสงบและอำนวยความยุติธรรมของชุมชน D 10.ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำก่อให้เกิดข้อจำกัดด้านงบประมาณของประเทศส่งผลต่อการดำเนินงานของกระบวนยุติธรรม D 12.ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทำให้เกิดปัญหาอาชญากรรมมากขึ้น E 13.ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทำให้มีปัญหาอาชญากรรมเกิดมากขึ้นและซับซ้อนมากขึ้น E
84
ประเด็นที่เป็นโอกาส (Opportunity)
ลำดับ ความสำคัญ การขยายตัวทางเศรษฐกิจเพิ่มโอกาสการขยายงานบริจาคได้มากขึ้น A ความก้าวหน้าทางการแพทย์และเทคโนโลยีเป็นโอกาสในการพัฒนาการบริการให้ทันสมัยได้ มีอาสาสมัครและผู้บริจาคประจำช่วยสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง การปฏิรูประบบราชการเป็นโอกาสการปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กร ข้าราชการระดับผู้บริหารในภูมิภาคส่วนใหญ่เป็นพันธมิตรของกาชาด พันธกิจ/เครือข่าย B องค์กรนานาชาติให้การสนับสนุนด้านการวิจัยทางโรคเอดส์ ประชาชนส่วนใหญ่มีความศรัทธาต่อสภากาชาดไทย เครือข่ายกาชาดสากลที่เป็นสมาชิกอยู่มีบุคลากรที่มีความรู้และประสบการณ์จากทั่วโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอาจเปลี่ยนสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับรัฐ ทำให้ รพ.จุฬาฯ ต้องเน้นประสิทธิภาพมากขึ้น สภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงก่อเกิดภัยทางธรรมชาติรุนแรงมากขึ้นอันเป็นหน้าที่ของกาชาดสากล C สื่อสารมวลชนช่วยเผยแพร่กระแสการสร้างเสริมสุขภาพแก่สาธารณะ การปฏิรูประบบงบประมาณเกิดงบบูรณาการและช่องทางการระดมทรัพยากรจากรัฐ การกระจายอำนาจเป็นโอกาสแก่เหล่ากาชาดสามารถระดมทุนได้มากขึ้น ประชาชนมีความรู้มากขึ้นและแสวงหาบริการทางสุขภาพและความรู้ที่เชื่อถือได้มากขึ้น การระบาดของโรคที่เคยควบคุมและการเกิดโรคใหม่เป็นไปได้สูงกาชาดต้องสร้างความพร้อม งานกาชาดยังเป็นที่นิยมและเป็นแหล่งหารายได้จากสาธารณะได้ทุกปี พื้นฐานสิทธิของคนด้านสุขภาพที่ระบุในรัฐธรรมนูญเปิดโอกาสการให้บริการอย่างหลากหลาย วัฒนธรรมไทยมีพื้นฐานค่านิยมในการทำบุญทำทานสามารถเป็นปัจจัยสนับสนุนกาชาดได้ ผู้มีศักยภาพในการบริจาคทุนทรัพย์ยังมีอยู่สูง แต่ขาดความเชื่อมโยงกับกาชาด แผนฯกาชาด
85
การบ้าน;การระดมสมองกลุ่มย่อย
ยกร่างพันธกิจสมมุติ พันธกิจกิจสมมุติ ภาระกิจหลักตามกม. ภาระกิจหลักที่มอบ. ภาระกิจหลักที่คาด. พิจารณา สภาวะแวดล้อมที่องค์กรต้องเผชิญเมื่อต้องดำเนินการตามพันธกิจสมมุติ อิทธพล/เรา สภาวะแวดล้อม ; จุดแข็ง สภาวะแวดล้อม ; จุดอ่อน ตัวแปรที่สำคัญขององค์กรและบทบาท-คุณสมบัติตัวแปร ตัวแปรที่สำคัญขององค์กรและบทบาท-คุณสมบัติตัวแปร อิทธพล/เขา สภาวะแวดล้อม ; โอกาส สภาวะแวดล้อม ; อุปสรรค/ภาวะคุกคาม ตัวแปรที่สำคัญนอกองค์กรและบทบาท-คุณสมบัติตัวแปร ตัวแปรที่สำคัญนอกองค์กรและบทบาท-คุณสมบัติตัวแปร การวางแผนกลยุทธ์ ; อุทิศ/พ.ย../2546
86
การระดมสมองกลุ่มย่อยเพื่อจัดลำดับความสำคัญสภาวะแวดล้อม
กำหนดเกณท์การจัดลำดับความสำคัญสภาวะแวดล้อม (SWOT) เกณท์ที่สำคัญที่สุด ไม่เกิน 5 เกณท์ แต่ละสมาชิกของกลุ่มย่อยพิจารณาผลกระทบสภาวะแวดล้อมและให้คะแนน รวมคะแนนของสภาวะแวดล้มของกลุ่มยอ่ยและคำนวนคะแนนเฉลี่ยของทุกกลุ่มย่อย เรียงคะแนนรวมของสภาวะแวดล้อมและเรียงลำดับ แล้วคำนวนแบ่งเกรดสภาวะฯ (A,B,C,…..) อิทธพล/เรา สภาวะแวดล้อม ; จุดแข็ง สภาวะแวดล้อม ; จุดอ่อน ตัวแปรที่สำคัญขององค์กรและบทบาท-คุณสมบัติตัวแปร ตัวแปรที่สำคัญขององค์กรและบทบาท-คุณสมบัติตัวแปร อิทธพล/เขา สภาวะแวดล้อม ; โอกาส สภาวะแวดล้อม ; อุปสรรค/ภาวะคุกคาม ตัวแปรที่สำคัญนอกองค์กรและบทบาท-คุณสมบัติตัวแปร ตัวแปรที่สำคัญนอกองค์กรและบทบาท-คุณสมบัติตัวแปร การวางแผนกลยุทธ์ ; อุทิศ/พ.ย../2546
87
การยกร่างเป้าประสงค์
“สัญญาประชาคมขององค์กร” ( Public Service Agreements ; PSA. ) การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/พ.ค./2544
88
กระบวนการงบประมาณเชิงกลยุทธ์ ตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
(Performance Based Budgeting System : Strategic Budget Process) แผนพัฒนา ประเทศ วิเคราะห์ผลลัพธ์ ติดตามประเมินผล เทียบกับ PSA ความต้องการประชาชน นโยบายรัฐตามรัฐธรรมนูญ 11 ภารกิจหลัก ของประเทศ ผลสำเร็จ นโยบาย รัฐบาล EvMIS เป้าหมายของชาติ นรม. รายงานผล ครม. จัดทำ(ลักษณะ)งบประมาณ แปลงนโยบาย-แปลงแผนฯ รายงานผลการดำเนินงาน กระทรวงเสนอ ของบประมาณ กรรมการติดตามและ ประเมินผลระดับชาติ แผนงบประมาณเชิงกลยุทธ์ ทบทวน พันธกิจ ภาระกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ โครงสร้างแผนงาน กลุ่มผลผลิต ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด ตรวจสอบภายใน กรรมการนโยบาย งบประมาณ (สำนักงบประมาณ) ติดตามประเมิณผล บริหารงบประมาณและดำเนินการ ขออนุมัติ จัดสรร(ทำ) งบประมาณ บริหารงบประมาณ กรอบวงเงิน 1+3 ปี (MTEF) อนุมัติ ข้อตกลงการให้บริการสาธารณะ ระหว่างรัฐมนตรีและคณะกรรมการฯ (PSA –Public Service Agreement) เบิกจ่ายเงิน งบประมาณ วิเคราะห์ผลผลิต จัดลำดับความสำคัญ กำหนดงบประมาณ จัดทำร่าง PSA วงงินรายจ่ายประจำปี รัฐสภาอนุมัติ ยืนยัน งปม. Block Allocation. พรบ. งปม. รายจ่ายประจำปี ร่าง PSA ( Block Allocation) ร่าง พรบ. รายจ่าย ประจำปี โอนเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงค่าใช้จ่าย ปรับ PSA บริหารเงิน งบกลาง หน่วยงาน ขออนุมัติ PSA. แผนปฏิบัติงาน แผนใช้จ่ายเงิน สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี : 6 ธันวาคม 2544
89
(การกำหนดวิสัยทัศน์)
สาระอ้างอิงอื่นๆ องค์ประกอบพื้นฐานของวิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์คืออะไร “วิสัยทัศน์”คือ ภาพในอนาคตขององค์กรที่ผู้นำและสมาชิกในองค์กรร่วมกันวาดฝันหรือ จินตนาการขึ้น โดยมีพื้นฐานอยู่บนความจริงในปัจจุบัน เชื่อมโยง วัตถุประสงค์ ภารกิจ ค่านิยม และความเชื่อมั่นเข้าด้วยกัน พร้อมทั้งพรรณาให้เห็นทิศทางขององค์กรอย่างชัดเจน มีพลัง ท้าทาย ทะเยอทะยาน มีความเป็นไปได้ เน้นถึงความมุ่งมั่น ที่จะนำสิ่งที่ยิ่งใหญ่ หรือดีที่สุด ให้กับลูกค้าหรือสังคม VISION/วิสัยทัศน์ Guiding Philosophy ปรัชญานำทาง Tangible Image ภาพในอนาคต จุดมุ่ง หมาย Purpose ค่านิยม ความเชื่อ Core Value and Beliefs ภารกิจ Mission ความ ชัดเจน งาน Vivid Description ที่มา; รุ่ง แก้วแดง รีเอ็นจิเนียริ่งระบบราชการไทย ภาค2 ; 2539 การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เมษายน/2542
90
นิยามของ “วิสัยทัศน์”
วิสัยทัศน์ เป็นภาพหมายในอนาคตของการพัฒนา ที่จินตนาการ ให้เห็นภาวะที่วาดหวังไว้ โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหลักขององค์กรร่วมกัน ระดมสมองกำหนดตามการคาดหมาย อย่างสมเหตุสมผลและมีส่วนร่วม เพื่อเป็นสิ่งชี้นำทิศทางการพัฒนาบนพื้นฐานของการวิเคราะห์ที่มีความ เป็นจริงในปัจจุบัน และมีส่วนสัมพันธ์กับพันธกิจและวัตถุประสงค์หลัก โดยต่างเป็นส่วนหนึ่งของเป้าประสงค์ของแผนฯ วิสัยทัศน์จะระบุสาระที่ชี้ให้เห็นทิศทางและปรากฏการตามความ ปรารถนาที่ชัดเจน และ สมเหตุสมผล อันเป็น สิ่งท้าทายที่องค์กรจะต้อง พัฒนาไปตามทางดังกล่าวให้ได้ เพราะ เป็นสิ่งที่ประเสริฐ ที่ดีงาม เป็น สัมฤทธิผลที่เกิดประโยชน์แก่ประชาชน(ลูกค้า)และสังคม อุทิศ/มกราคม/2546
91
การยกร่างวิสัยทัศน์ ร่างวิสัยทัศน์ที่สมเหตุสมผล
-คาดหมายตามสภาวะเงื่อนไขและศักยภาพที่เป็นไปได้ -พิจารณาอย่างหลากหลายด้านและมีขั้นตอน/เหตุ-ผล -ผ่านการใช้วิจารญาณของผู้มีประสบการณ์(จำเป็น,คุ้ม,ควร) วิสัยทัศน์และแนวคิดอื่นที่มี การถกแถลง (ปัจจัยและอิทธิพลของปัจจัย) (ภาพการเปลี่นยแปลงสภาวะกาล) การวิเคราะห์/คาดการณ์ สถานการณ์และแนวโน้ม (Scenario assumptions) ร่างวิสัยทัศน์ ข้อมูลจากส่วนอื่นของแผนฯ (การติดตาม ประเมินผล) (ศักยภาพ/ความต้องการ/คาดหวังฯลฯ) ร่างวิสัยทัศน์นี้สัมพันธ์กับการวางแผนส่วนอื่นโดยเป็นทั้ง -เป็นข้อคำนึงเพื่อชี้แนะแนวคิด-ชี้นำแก่ส่วนอื่นของแผน และ -เป็นผลที่เกิดจากการตรวจสอบกับส่วนอื่นของแผน การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เมษายน/2542
92
การกำหนดพันธกิจ และ ค่านิยมหลัก
“เป็นการกำหนดบทบาทหลักที่ต้องทำและเงื่อนไขสัมค่านิยมที่สนับสนุนการทำการดังกล่าว (ที่กำหนดโดยผู้มี่ส่วนได้เสียและเกี่ยวข้อง)(Stakeholder)” -โดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ (ให้เกิดกรอบชี้นำระดับธรรมนูญองค์การ) -วิเคราะห์/กำหนดบทบาทหลัก สิ่งที่ต้องทำ ให้เกิดวิสัยทัศน์ (จากสาระชี้นำ อทิ SWOT) -พิจารณาความเป็นได้และความสมเหตุสมผล -กำหนดเงื่อนไขและค่านิยมหลักขององค์กร (เป็นการหลอมภารกิจที่สำคัญที่สุด(เพื่อลูกค้า)ให้สอดรับวิสัยทัศน์และวัตถุประสงค์และอาณัติที่ได้รับมอบหมายโดยคำนึงถึงเจตนคติและหรือค่านิยมที่จะทำเช่นใดด้วย) การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เมษายน/2542
93
การกำหนดวัตถุประสงค์หลัก
เป็นวัตถุประสงค์ที่(เป็นประชามติ) ต้องบรรลุ ให้ได้ เป็นความต้องการของสาธารณะ -พิจารณาอย่างเจาะจงชัดเจน,และมีทิศทางที่ชัดเพื่อหนุน:- -อาณัติ/ความรับผิดชอบสูงสุด(Mandates)ที่ต้องรับ -วัตถุประสงค์ที่ต้องบรรลุเพื่อความอยู่รอด(รับ) -วัตถุประสงค์ที่หนุน การขยายตัว/เสถียรภาพ(รุก) - -อำนาจ/ผลประโยชน์ที่ต้องรักษาไว้ -เป้าหมายในอนาคตที่ชัดวัดได้ (5-10ปี;ช่วงเวลาชัด) -สามารถกำหนดเงื่อนไข-ตรวจสอบวัดได้ และอย่างสอดรับกับวัตถุประสงค์ของ แผนงาน โครงการ ที่จะกำหนดภายหลัง ฯลฯ สรุป เสมือนเป็นธงชัยที่ต้องบรรลุของแผนฯ เป็น OUT COMES ของการพัฒนา การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เมษายน/2542
94
วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์
การปรับร่างเป้าประสงค์ การบริหารเชิงยุทธในภาวะที่ผันผวน; องค์กรอาจจะต้องมีวิสัยทัศน์ แบบภาพ สถานการณ์เลือก ที่มีภาพอนาคตหลายรูป (Dynamic development scenario) “เป้าประสงค์เป็นจุดอ้างอิงของแผนฯ และต้องเจียรนัยให้ทันสมัย ตามขั้นตอนการวางแผนฯ” กลุ่มเป้าหมาย แนวโน้ม/แรงกดดัน ศึกษาวิจัยคู่แข่ง ศึกษาวิจัยพันธ์มิคร ภาวะภายนอก โอกาส ภาวะคุกคาม องค์กร กลไก ขบวนการ อาณัติ/ประสงค์หลัก ยุทธวิธี ดำเนินการ ร่าง เป้าประสงค์1 ร่าง เป้าประสงค์2 วิสัยทัศน์ แนวการวางแผน ยุทธศาสตร์หลัก วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ จุดอ่อน จุดแข็ง บทบาท/ภารกิจ/ค่านิยม ภาวะภายใน ศึกษาวิจัยทรัพยากร ศึกษาผลงาน ยุทธวิธี/กฏที่มีอยู่ ร่างวิสัยทัศน์1=ก่อน SWOT analyses (จินตนาการได้หลากหลาย/แล้วปรับเจียรนัยอย่างต่อเนื่องเป็นวิสัยทัศน์2 ,3, ฯลฯ) ร่างวิสัยทัศน์2=หลัง SWOT analyses (จินตนาการได้สมเหตุสมผลมากขึ้นและชัดเจนขึ้น/ การวางแผนระดับท้องถิ่นอาจเริ่มที่วิสัยทัศน์2ได้) “การเจียรนัยวิสัยทัศน์ให้กระจ่างแม่นยำขึ้นทุกขั้นตอนของแผนฯเป็นสิ่งจำเป็นของประเทศกำลังพัฒนาที่ข้อมูลยังขาดประสิทธิภาพ” การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/กรกฏาคม/2542
95
ความสัมพันธ์ภายในและระหว่างเป้าประสงค์(วิสัยทัศน์)แผนฯพัฒนา(ระยะยาว)
(“ตารางแสดงการประเมินผล และการปรับเป้าประสงค์ของแต่ละแผนฯให้ทันสมัย”) วัตถุประสงค์ หลัก พันธกิจ พันธกิจ วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ แผนฯ9 วิสัยทัศน์ ประเมินและวางแผน พันธกิจ ติดตาม SWOT ประเมิน วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ ยุทธ ศาสตร? กลไก ยุทธ วิธี ระเบียบ แผนฯ10 ประเมินและวางแผน พันธกิจ วิสัยทัศน์ “เป้าประสงค์ของ แต่ละแผนควรปรับ ให้ทันสมัยโดย การ ประเมินผลของแต่ละแผนฯ” วัตถุประสงค์ แผนฯ11 ประเมินและวางแผน วิสัยทัศน์ 2570+ แผนฯลฯ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พค./2543
96
(เรียนรู้เชิงนามธรรม)
ผังแนวคิดและจินตนาการร่างวิสัยทัศน์ แนวคิดเชิงบวก (เรียนรู้เชิงนามธรรม) คาดการณ์การใช้ประโยชน์จากโอกาศ SWOT สังคม ประชาชน O องค์กร จาก คาดการณ์การขยายตัวจากจุดแข็ง เป้าประสงค์ อนาคต W S คาดการณ์การแก้ไขจุดอ่อน คาดการณ์การป้องกันภาวะคุกคาม T อนาคต ปัจจุบัน การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/กค./2544
97
การจินตนาการในกรอบ HYPOTHESIS
98
Creativity by learning
การจินตนาการนอกกรอบ S O W Creativity by learning rebeling thinking practicing วิวัฒนาการของ เทคโนโลยี discussing ตัวอย่าง ความสำเร็จ W S W O T T แนวโน้มและ ความคาดหวัง ที่สมเหตุสมผล O T S เจตนาและความมุ่งมั่นที่ตกลงกันไว้ ฯลฯ
99
การจินตนาการ อนาคต จากSWOT
Future Scenarios Strategic-Thinging S W O T SWOT Culture Knowledge limitations Etc. Mind-set การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/กค./2546
100
ขั้นตอนการกำหนดเป้าประสงค์
ภาพหมาย วิสัยทัศน์ ภาพ S O O SWOT เงื่อนไขที่ต้องทำ พันธ์กิจ W S ภาพอนาคตจาก T เรื่องที่ต้องบรรลุ (ความต้องการสาธารณะ) วัตถุประสงค์หลัก ภาพ W T แค่ไหน ?
101
O W S T การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2544
1. โครงสร้างองค์กรใหญ่และปฏิบัติงานซ้ำซ้อน มีความล่าช้าด้านการเงิน 2. ขาดการประเมินผล และการตรวจสอบภายในที่ชัดเจน ไม่เข้มแข็ง 3. การคัดเลือกและจัดสรรบุคลากรไม่เหมาะสม กระทบขวัญกำลังใจ 4. ขาดการบริหารข้อมูลที่ทันสมัย การประชาสัมพันธ์อ่อน 5. ขาดการสนับสนุนด้าน R&D 6. ขาดการฝึกอบรมบุคลากรอย่างต่อเนื่อง 7. ไม่มีคู่มือในการปฏิบัติงาน 8. กฎระเบียบไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน การบริหารเป็นแบบสั่งการจากส่วนบน 9. มีระบบอุปถัมภ์ ภายในองค์กร บทลงโทษไม่ชัดเจน 10. วัฒนธรรมสถาบันนิยมทำให้ขาดความสามัคคีและเป็นอุปสรรคการประสานงาน 1. รัฐบาลมีความเห็นชอบต่อทิศทางการพัฒนาที่องค์กรเสนอ 2. ความก้าวหน้าทาง IT มีส่วนสนับสนุนประสิทธิภาพการบริหารทางชลประทาน 3. ประมุขให้ความสนใจการพัฒนาแหล่งน้ำและนโยบายรัฐทุกระดับตอบสนองด้วยดี 4. การพัฒนาทางเกษตรมีการขยายพื้นที่และต้องการระบบชลประทานเป็นปัจจัยหลักการเกษตร 5. มีแผนงาน โครงการพัฒนาพื้นที่(25)ลุ่มน้ำที่กรรมการดูแล 6. กระแสสังคม รัฐธรรมนูญและแผนฯชาติเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมแบ่งเบางาน 7. รัฐบาลมีเสถียรภาพมากขึ้นทำให้มีโอกาสพัฒนาโครงการต่อเนื่อง 8. การปฏิรูประบบราชการเป็นโอกาสการปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กร 9. บทบาทกรมฯเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นในปัจจุบันเนื่องจากสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง 10. ประชาชนส่วนใหญ่ตระหนักความสำคัญการพัฒนาระบบชลประทาน 11. สถานการณ์ช่วยให้เกิดการกำกับระบบบริหารด้านการลงทุนพัฒนา W S 1. มีการแทรกแซงทางการเมืองและอิทธิพลของท้องถิ่น 2. ขาดการประสานงานระหว่างกรมชลฯและท้องถิ่น ประชาชนไม่ร่วมมือ 3. กฎหมายล้าสมัยไม่สอดรับความต้องการ 4. มีข้อจำกัดด้านงบประมาณมากขึ้น 5. NGOs ต่อต้านการพัฒนาแหล่งน้ำ และสังคมขาดความเข้าใจ 6. นโยบายรัฐไม่สะท้อนความเป็นจริงในพื้นที่ 7. ขาดกฏหมายกำหนดสิทธิการใช้น้ำ 8. มีการแสวงหาผลประโยชน์ของกลุ่มนายทุนและราษฏร 9. การพิจารณาหน่วยงานภาครัฐด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมล่าช้า 10. ปัจจุบันยังมีปัญหาขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน 11. รัฐมีนโยบายปรับกำลังพลที่คู่กระทบการปฏิบัติการโครงการ 12. การพัฒนาพื้นที่ต้นน้ำยุ่งยากต้องขออนุมัติ ครม. 13. ขาดการพิจารณาผลกระทบด้านชลประทานที่มีต่อสุขภาพประชาชน 1. บุคลากรมีพื้นฐานทางวิชาการในการประกอบวิชาชีพและมีความชำนาญ 2. การบริหารได้รับการสนับสนุนจากรัฐอย่างต่อเนื่อง 3. มีกลไกสนับสนุนงานในทุกระดับพื้นที่ 4. มีความสามัคคีและมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน 5. มีการบริหารอย่างกระจายอำนาจ 6. องค์กรมีประสพการณ์สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 7. มีกฎหมายรองรับอำนาจหน้าที่ 8. องค์กรมีความพร้อมด้านเครื่องจักรและเครื่องมือ 9. มีบทบาทที่สร้างสายสัมพันธ์กับประชาคมท้องถิ่นด้วยดี T การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2544
102
1. รัฐบาลมีความเห็นชอบต่อทิศทางการพัฒนาที่องค์กรเสนอ
2. ความก้าวหน้าทาง IT มีส่วนสนับสนุนประสิทธิภาพการบริหารทางชลประทาน 3. ประมุขให้ความสนใจการพัฒนาแหล่งน้ำและนโยบายรัฐทุกระดับตอบสนองด้วยดี 4. การพัฒนาทางเกษตรมีการขยายพื้นที่และต้องการระบบชลประทานเป็นปัจจัยหลักการเกษตร 5. มีแผนงาน โครงการพัฒนาพื้นที่(25)ลุ่มน้ำที่กรรมการดูแล 6. กระแสสังคม รัฐธรรมนูญและแผนฯชาติเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมแบ่งเบางาน 7. รัฐบาลมีเสถียรภาพมากขึ้นทำให้มีโอกาสพัฒนาโครงการต่อเนื่อง 8. การปฏิรูประบบราชการเป็นโอกาสการปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กร 9. บทบาทกรมฯเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นในปัจจุบันเนื่องจากสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง 10. ประชาชนส่วนใหญ่ตระหนักความสำคัญการพัฒนาระบบชลประทาน 11. สถานการณ์ช่วยให้เกิดการกำกับระบบบริหารด้านการลงทุนพัฒนา 1. บุคลากรมีพื้นฐานทางวิชาการในการประกอบวิชาชีพและมีความชำนาญ 2. การบริหารได้รับการสนับสนุนจากรัฐอย่างต่อเนื่อง 3. มีกลไกสนับสนุนงานในทุกระดับพื้นที่ 4. มีความสามัคคีและมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน 5. มีการบริหารอย่างกระจายอำนาจ 6. องค์กรมีประสพการณ์สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 7. มีกฎหมายรองรับอำนาจหน้าที่ 8. องค์กรมีความพร้อมด้านเครื่องจักรและเครื่องมือ 9. มีบทบาทที่สร้างสายสัมพันธ์กับประชาคมท้องถิ่นด้วยดี o S ระบบชลประทานของประเทศเป็นปัจจัยหลักด้านแหล่งน้ำที่สนับสนุนการพัฒนาเกษตร โดยมีการปฏิรูประบบบริหารจัดการให้ทันสมัยและมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีICTด้าน ชลประทานอย่างหลากหลาย ตลอดจนมีกลไกสนับสนุนที่กระจายอำนาจอย่างทั่วถึงทุกพื้นที่ ประชาชนมีส่วนร่วมการพัฒนาโครงการทุกขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง โดยกรมชลประทานมีบท บาทเพิ่มเติมเพื่อให้สามารถผลักดันการพัฒนาอย่างยั่งยืนให้เกษตรกรพ้นสภาพความยากจน โดยมีกฏหมายที่มีประสิทธิภาพรองรับ
103
1. มีการแทรกแซงทางการเมืองและอิทธิพลของท้องถิ่น
2. ขาดการประสานงานระหว่างกรมชลฯและท้องถิ่น ประชาชนไม่ร่วมมือ 3. กฎหมายล้าสมัยไม่สอดรับความต้องการ 4. มีข้อจำกัดด้านงบประมาณมากขึ้น 5. NGOs ต่อต้านการพัฒนาแหล่งน้ำ และสังคมขาดความเข้าใจ 6. นโยบายรัฐไม่สะท้อนความเป็นจริงในพื้นที่ 7. ขาดกฏหมายกำหนดสิทธิการใช้น้ำ 8. มีการแสวงหาผลประโยชน์ของกลุ่มนายทุนและราษฏร 9. การพิจารณาหน่วยงานภาครัฐด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมล่าช้า 10. ปัจจุบันยังมีปัญหาขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน 11. รัฐมีนโยบายปรับกำลังพลที่คู่กระทบการปฏิบัติการโครงการ 12. การพัฒนาพื้นที่ต้นน้ำยุ่งยากต้องขออนุมัติ ครม. 13. ขาดการพิจารณาผลกระทบด้านชลประทานที่มีต่อสุขภาพประชาชน 1. โครงสร้างองค์กรใหญ่และปฏิบัติงานซ้ำซ้อน มีความล่าช้าด้านการเงิน 2. ขาดการประเมินผล และการตรวจสอบภายในที่ชัดเจน ไม่เข้มแข็ง 3. การคัดเลือกและจัดสรรบุคลากรไม่เหมาะสม กระทบขวัญกำลังใจ 4. ขาดการบริหารข้อมูลที่ทันสมัย การประชาสัมพันธ์อ่อน 5. ขาดการสนับสนุนด้าน R&D 6. ขาดการฝึกอบรมบุคลากรอย่างต่อเนื่อง 7. ไม่มีคู่มือในการปฏิบัติงาน 8. กฎระเบียบไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน การบริหารเป็นแบบสั่งการจากส่วนบน 9. มีระบบอุปถัมภ์ ภายในองค์กร บทลงโทษไม่ชัดเจน 10. วัฒนธรรมสถาบันนิยมทำให้ขาดความสามัคคีและเป็นอุปสรรคการประสานงาน W T ลดปัญหาความซ้ำซ้อน ควบคู่กับการตรวจสอบติดตามประเมินผล ให้กรมฯมีการพัฒนาบุคลากร และมาตรฐานงานที่มีผลสัมฤทธิ์สามารถแข่งขันระดับสากล โดยมีการศึกษาวิจัยและการฝึกอบรมบุค คลากรอย่างต่อเนื่อง และการติดตามประเมินผลที่โปร่งใสเป็นธรรมเพื่อลดการแทรกแซงทางการเมือง และปัญหาการต่อต้านตลอดจนเสริมการจัดการและประสานงานจากทุกฝ่าย
104
ร่างอนาคตจากSWOT ระบบชลประทานของประเทศเป็น ปัจจัยหลัก ด้านแหล่งน้ำที่สนับสนุนการพัฒนาการเกษตร โดยมีการปฏิรูประบบบริหารจัดการและบริการให้ทันสมัย มีกลไกบริหารและองค์กรสนับสนุนที่กระจายอำนาจอย่างทั่วถึงทุกพื้นที่ ประชาชนมีส่วนร่วมการพัฒนาโครงการทุกขั้นตอน มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ICT ด้านชลประทานอย่างหลากหลาย รวมทั้งมีการติดตามประเมินผลที่โปร่งใสเพื่อลดการแทรกแซงทางการเมืองและปัญหาการต่อต้าน ตลอดจนเสริมการจัดการและประสานงานจากทุกฝ่าย โดยกรมชลประทานมีบทบาทเพิ่ม และมีมาตรฐานงานที่มีผลสัมฤทธิ์สามารถแข่งขันระดับสากล มีการศึกษาวิจัยและการฝึกอบรมบุคคลากรอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีกฏหมายที่มีประสิทธิภาพรองรับการพัฒนาระบบชลประทาน ลดปัญหาความซ้ำซ้อนการปฏิบัติงาน ให้สามารถผลักดันการพัฒนาอย่างยั่งยืน ให้เกษตรกรสามารถเพิ่มผลผลิตเต็มศักยภาพของพื้นที่สู่ความหลุดพ้นสภาพความยากจน 4 มกราคม 2545
105
ร่างวิสัยทัศน์ ระบบชลประทานของประเทศเป็น ปัจจัยหลัก ด้านแหล่งน้ำที่สนับสนุนการพัฒนาการเกษตร มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ICT ด้านชลประทานอย่างหลากหลาย โดยกรมชลประทานมีบทบาทเพิ่ม และมีมาตรฐานงานที่มีผลสัมฤทธิ์สามารถแข่งขันระดับสากล มีการศึกษาวิจัยและการฝึกอบรมบุคคลากรอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีกฏหมายที่มีประสิทธิภาพรองรับการพัฒนาระบบชลประทาน ลดปัญหาความซ้ำซ้อนการปฏิบัติงาน ให้สามารถผลักดันการพัฒนาอย่างยั่งยืน ให้เกษตรกรสามารถเพิ่มผลผลิตเต็มศักยภาพของพื้นที่สู่ความหลุดพ้นสภาพความยากจน ร่างพันธกิจ (ประเด็นจากบทบาทที่ต้องทำในการเสริมระดับวิสัยทัศน์ที่พึงปรารถนา) เร่งปฏิรูประบบบริหารและบริการทางชลประทานทุกระดับให้เป็นระบบก้าวหน้าที่เป็นธรรมและยั่งยืน และให้ประชาชนมีส่วนร่วมการพัฒนาระบบชลประทานทุกขั้นตอน รวมทั้งมีการติดตามประเมินผลที่โปร่งใสเพื่อลดการแทรกแซงทางการเมืองและปัญหาการต่อต้าน 4 มกราคม 2545
106
ข้อสังเกตุ ; วัตถุประสงค์เหล่านี้ เป็น Outcomes
ร่างวัตถุประสงค์ (จากการจำแนกAreas of concernของวิสัยทัศน์) ขยายการเก็บกักและการพัฒนาพื้นที่ชลประทานให้เต็มตามศักยภาพและเพียงพอต่อความต้องการ เสริมการจัดการโครงการชลประทานที่มีอยุ่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง ปฏิรูปองค์กรกลไกและระเบียบในทุกระดับโครงการชลประทาน ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ พัฒนาความร่วมมือการจัดการใช้น้ำระหว่างภาครัฐและประชาคมท้องถิ่น ข้อสังเกตุ ; วัตถุประสงค์เหล่านี้ เป็น Outcomes และสามรถกำหนดดัชนีและหรือตัวแปรเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนในภายหลังได้ 4 มกราคม 2545
107
SO1 การจินตนาการภาพ อนาคตจาก SO
S a มีหน่วยงานของ กสอ.ที่รับผิดชอบในพื้นที่เป้าหมายทุกจังหวัด O a ภาครัฐมีกลไกสนับสนุนการพัฒนาธุระกิจชุมชนในทุกพื้นที่ O a ชุมชนมีการเรียนรู้ด้านต่างๆ S b มีงบประมาณที่ได้รับจัดสรรจาก กสอ.เพื่อโครงการนี้อย่างเพียงพอและต่อเนื่อง S b มีหน่วยงานให้การสนับสนุนด้านเงินทุนหมุนเวียนเพื่อช่วยในการดำเนินการ O b รัฐบาลสนับสนุนการส่งเสริมอุตสาหกรรมรวมทั้งการพัฒนาธุระกิจการท่องเที่ยว O b เกิดการนำเทคโนโลยีสมัยใหมม่มาประยุกต์ใช้และผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่น O b องค์กรชุมชนมีความสามารถในการประสานงานกับเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น SO1 “หน่วยงานของ กสอ. และกลไกสนับสนุนภาครัฐช่วยผลักดันให้เกิดการพัฒนาธุระกิจชุมชนรวมทั้งการ พัฒนาธุระกิจการท่องเที่ยวในทุกพื้นที่ โดยสนับสนุนให้ชุมชนมีการเรียนรู้ด้านต่างๆควบคู่กับการจัดสรร งบประมาณอย่างต่อเนื่องทั้งโดยตรงและในรูปของเงินทุนหมุนเวียน ตลอดทั้งการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่ มาประยุกต์ใช้และผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเสริมสมรรถนะขององค์กรชุมชนที่มีความสามารถ ในการประสานงานกับเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นแก่การพัฒนาการท่องเที่ยว”
108
SO2 การจินตนาการภาพ อนาคตจาก SO (ต่อ)
S c บุคลากรของกสอ.ส่วนใหญ่มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาองค์กรชุมชนอย่างมีระบบ S c การส่งเสริมอุตสาหกรรมของ กสอ.มีระบบการส่งเสริมอุตสาหกรรมที่มีรูปแบบชัดเจน S c แผนปฏิบัติงานมีการบูรณาการกับ ททท.เป็นอย่างดี S d บุคลากรของโครงมีความมุ่งมั่นตั้งใจปฏิบัติงานของโครงการ O c ชุมชนมีความต้องการโครงการเพราะช่วยให้มีโอกาสในการสร้างอาชีพเพิ่มมากขึ้น O c เกิดเทคโนโลยีด้าน IT สามารถช่วยประชาสัมพันธ์ในด้านแนะนำผลิตภัณท์และแหล่งท่องเที่ยว O c การศึกษาเป็นตัวกระตุ้นทำให้โครงการสามารถพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เช่นการปรับกรรมวิธีการผลิตใหม่ๆ O c โครงสร้างองค์กรชุมชนมีความชัดเจน ด้านกลไกการบริหารเพื่อดำเนินโครงการตามนิตินัย O d การปฏิรูประบบราชการลดความซ้ำซ้อนของหน่วยราชการ SO2 O d ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นยุทธศาสตร์ที่ทำให้เจ้าหน้าที่โครงการสามารถกำหนดแผนการพัฒนาได้อย่างดี O d โครงการเป็นตัวกระตุ้นให้มีการท่องเที่ยวในประเทสเพิ่มขึ้น “ชุมชนสามารถสร้างอาชีพจากพัฒนาอุตสาหการท่องเที่ยว โดยบุคลากรของกสอ.ช่วยให้ความ รู้ด้านการพัฒนาอย่างเป็นระบบ ควบคู่กับมีแผนบูรณาการการปฏิบัติงานร่วมกับ ททท.และการ ใช้เทคโนโลยีIT ช่วยประชาสัมพันธ์ทั้งผลิตภัณท์และแหล่งท่องเที่ยว ภายใต้การปรับกลไกการ บริหารโครงการขององค์กรชุมชนอย่างสอดรับกับการปฏิรูประบบราชการให้เกิดผลต่อการกระ ตุ้นการพัฒนาการท่องเที่ยวทั่งประเทศในที่สุด”
109
SO1 + SO2 การจินตนาการภาพอนาคต จาก SO (ต่อ)
“หน่วยงานของ กสอ. และกลไกสนับสนุนภาครัฐช่วยผลักดันให้เกิดการพัฒนาธุระกิจชุมชนรวมทั้งการพัฒนาธุระกิจการท่องเที่ยว ในทุกพื้นที่ โดยสนับสนุนให้ชุมชนมีการเรียนรู้ด้านต่างๆควบคู่กับการจัดสรรงบประมาณอย่างต่อเนื่องทั้งโดยตรงและในรูปของเงิน ทุนหมุนเวียน ตลอดทั้งการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้และผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเสริมสมรรถนะขององค์กร ชุมชนที่มีความสามารถในการประสานงานกับเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นแก่การพัฒนาการท่องเที่ยว” “ชุมชนสามารถสร้างอาชีพจากพัฒนาอุตสาหการท่องเที่ยว โดยบุคลากรของกสอ.ช่วยให้ความรู้ด้านการพัฒนาอย่างเป็นระบบ ควบคู่ กับมีแผนบูรณาการการปฏิบัติงานร่วมกับ ททท.และการใช้เทคโนโลยี Itช่วยประชาสัมพันธ์ทั้งผลิตภัณท์และแหล่งท่องเที่ยว ภายใต้ การปรับกลไกการบริหารโครงการขององค์กรชุมชนอย่างสอดรับกับการปฏิรูประบบราชการให้เกิดผลต่อการกระตุ้นการพัฒนาการ ท่องเที่ยวทั่งประเทศในที่สุด” SO1 + SO2 “ชุมชนสามารถสร้างอาชีพจากการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว โดย กสอ.และกลไกสนับ สนุนต่างๆของภาครัฐมีส่วนช่วยให้ชุมชนในทุกพื้นที่มีการเรียนรู้ควบคู่กับการสนับสนุนด้าน งบประมาณในรูปของทุนหมุนเวียน ตลอดจนการแนะนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ อย่างผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่น มีแผนบูรณาการปฏิบัติการร่วมกับททท. ทั้งด้านการ ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณท์และแหล่งท่องเที่ยว ควบคู่กับการปรับกลไกการบริหารโครงการของ องค์กรชุมชนและการประสานงานกับเครือข่ายอย่างสอดรับกับการปฏิรูประบบราชการให้เกิด ผลต่อการกระตุ้นการพัฒนาการท่องเที่ยวทั่วประเทศในที่สุด”
110
การจินตนาการภาพอนาคตจาก WT
W a บุคลากรระดับพื้นที่ยังขาดทักษะด้านการบริหาร W a โครงการขาดการสนับสนุนด้านอุปกรณ์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ T a ชีวิตชนบทมีความคุ้นเคยต่อการเกษตรกรรมมากกว่าอุตสาหกรรม W b เจ้าหน้าที่ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคขาดการประสานงานที่ดี T b องค์กรท้องถิ่นมีการขัดแย้งกันของความเป็นเจ้าของโครงการและความรับผิดชอบในพื้นที่ WT1 “บุคลากรในระดับพื้นที่ได้รับการพัฒนาทักษะด้านการบริหารจัดการและมีการสนับสนุน ด้านอุปกรณ์และการฝึกอบรมให้สามารถใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ภายใต้การปรับปรุงแนว ทางการประสานงานระหว่างส่วนกลางและภูมิภาคควบคู่กับการทำความตกลงขอบข่าย ความรับผิดชอบในพื้นที่ขององค์กรท้องถิ่นที่ชัดเจนไม่ขัดแย้งกันในการบริหาร ตลอดจน การทำความเข้าใจให้ประชาชนเห็นผลลัพธ์ที่พึงได้โดยทั่วกันจากการพัฒนาอุตสาหกรรม ท่องเที่ยว”
111
การจินตนาการภาพอนาคตจาก WT (ต่อ)
W c เจ้าหน้าที่รับผิดชอบมีไม่เพียงพอ W c เจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติต้องรับผิดชอบงานหลายด้าน W c ระบบบริหารบุคลากรมีการสับเปลี่ยนอัตรากันบ่อย W c คณะกรรมการของโครงการยังแยกกลุ่มกันปฏิบัติงาน T c การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองทำให้นโยบายด้านส่งเสริมอุตสาหกรรมไม่ต่อเนื่อง T c อิทธิพลของท้องถิ่นสามารถเบี่ยงเบนเป้าประสงค์ของโครงการ T c แรงงานส่วนใหญ่อายุมากและมีข้อจำกัดด้านคุณภาพเป็นอุปสรรคต่อการเร่งรัดพัฒนา T c วัฒนธรรมชุมชนติดยึดกับการทำพออยู่พอกินที่มีผลต่อการเข้าร่วมพัฒนา WT2 T c ชาวบ้านยังขาดทักษะด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้าน ไอที “พัฒนาระบบการบริหารระดับท้องถิ่นให้มีหลักประกันความก้าวหน้าและมีเสถียรภาพด้าน การทำงานที่ชัดเจนและสามารถกระตุ้นความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ควบ คู่กับการพัฒนาระบบกลไกการประสานงานระดับท้องถิ่นให้เกิดการบริหารที่ดีมีความโปร่ง ใสปราศจากการแทรกแซงด้านการเมืองละอิทธิพลท้องถิ่น เกิดการพัฒนาที่ให้ประโยชน์ อย่างแท้จริงและทั่วถึงแก่ขุมชนอันจะมีผลต่อการกระตุ้นความสนใจในการขยายโอกาสการ ประกอบอาชีพที่เดิมจำกัดอยู่เฉพาะในด้านเกษตรกรรม และกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงด้าน วัฒนธรรมและความสนใจในการนำเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนการพัฒนาชุมชนมากขึ้น”
112
การจินตนาการภาพอนาคตจาก WT (ต่อ)
“บุคลากรในระดับพื้นที่ได้รับการพัฒนาทักษะด้านการบริหารจัดการและมีการสนับสนุนด้านอุปกรณ์และการฝึกอบรมให้สามารถ ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ภายใต้การปรับปรุงแนวทางการประสานงานระหว่างส่วนกลางและภูมิภาคควบคู่กับการทำความตกลงขอบ ข่ายความรับผิดชอบในพื้นที่ขององค์กรท้องถิ่นที่ชัดเจนไม่ขัดแย้งกันในการบริหาร ตลอดจนการทำความเข้าใจให้ประชาชนเห็นผล ลัพธ์ที่พึงได้โดยทั่วกันจากการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว” “พัฒนาระบบการบริหารระดับท้องถิ่นให้มีหลักประกันความก้าวหน้าและมีเสถียรภาพด้านการทำงานที่ชัดเจนและสามารถกระตุ้น ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ควบคู่กับการพัฒนาระบบกลไกการประสานงานระดับท้องถิ่นให้เกิดการบริหารที่ ดีมีความโปร่งใสปราศจากการแทรกแซงด้านการเมืองละอิทธิพลท้องถิ่น เกิดการพัฒนาที่ให้ประโยชน์อย่างแท้จริงและทั่วถึงแก่ขุม ชนอันจะมีผลต่อการกระตุ้นความสนใจในการขยายโอกาสการประกอบอาชีพที่เดิมจำกัดอยู่เฉพาะในด้านเกษตรกรรม และกระทบ ต่อการเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรมและความสนใจในการนำเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนการพัฒนาชุมชนมากขึ้น” WT1 + WT2 “ปฏิรูประบบบริหารระดับพื้นที่ให้บุคลากรมีหลักประกันความก้าวหน้าทางอาชีพการงานอย่างสอดรับ กับความรับผิดชอบควบคู่กับการพัฒนาทักษะด้านการบริหาร การพัฒนากลไกการประสานงานโดยเน้น ให้เกิดการบริหารจัดการที่ดีมีความโปร่งใสให้การส่งเสริมพัฒนาของรัฐมีประโยชน์อย่างแท้จริงต่อชุมชน ได้รับการสนับสนุนทั้งด้านอุปกรณ์และการฝึกอบรมทั้งแก่กลุ่มสมาชิกของโครงการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ให้กระตุ้นความเข้าใจและความสนใจจากการขยายโอกาสการประกอบอาชีพจากการพัฒนาอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวของชุมชน โดยมีการชี้นำแนวทางและขอบข่ายความรับผิดชอบของแต่ละพื้นที่แต่และองค์กร ท้องถิ่นที่ชัดเจนเกิดการประสานงานทั้งระหว่างท้องถิ่นเองและระหว่างส่วนกลางและส่วนภูมิภาคอีกด้วย”
113
+ SO การจินตนาการภาพอนาคต จาก SWOT WT
“ชุมชนสามารถสร้างอาชีพจากการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว โดย กสอ.และกลไกสนับสนุนต่างๆของภาครัฐมีส่วนช่วยให้ชุมชนในทุกพื้นที่มีการ เรียนรู้ควบคู่กับการสนับสนุนด้านงบประมาณในรูปของทุนหมุนเวียน ตลอดจนการแนะนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้อย่างผสมผสานกับภูมิ ปัญญาท้องถิ่น มีแผนบูรณาการปฏิบัติการร่วมกับททท. ทั้งด้านการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณท์และแหล่งท่องเที่ยว ควบคู่กับการปรับกลไกการบริหาร โครงการขององค์กรชุมชนและการประสานงานกับเครือข่ายอย่างสอดรับกับการปฏิรูประบบราชการให้เกิดผลต่อการกระตุ้นการพัฒนาการท่องเที่ยว ทั่วประเทศในที่สุด” + WT “ปฏิรูประบบบริหารระดับพื้นที่ให้บุคลากรมีหลักประกันความก้าวหน้าทางอาชีพการงานอย่างสอดรับกับความรับผิดชอบควบคู่กับการพัฒนาทักษะด้านการบริหาร การ พัฒนากลไกการประสานงานโดยเน้นให้เกิดการบริหารจัดการที่ดีมีความโปร่งใสให้การส่งเสริมพัฒนาของรัฐมีประโยชน์อย่างแท้จริงต่อชุมชนได้รับการสนับสนุนทั้งด้าน อุปกรณ์และการฝึกอบรมทั้งแก่กลุ่มสมาชิกของโครงการและเจ้าหน้าที่ของรัฐในกระตุ้นความเข้าใจและความสนใจจากการขยายโอกาสการประกอบอาชีพจากการพัฒนา อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของชุมชน โดยมีการชี้นำแนวทางและขอบข่ายความรับผิดชอบของแต่ละพื้นที่แต่และองค์กรท้องถิ่นที่ชัดเจนเกิดการประสานงานทั้งระหว่างท้อง ถิ่นเองและระหว่างส่วนกลางและส่วนภูมิภาคอีกด้วย” SWOT อนาคต “ชุมชนสามารถสร้างเสริมอาชีพและรายได้จากการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวระดับท้องถิ่น โดยภาครัฐให้ การสนับสนุนด้านการแนะนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยทั้งด้านการบริหารจัดการและการผลิต การบริหารแหล่งท่อง เที่ยวตลอดจนการประชาสัมพันธ์ ที่มีการประยุกต์จากฐานภูมิปัญญาของชุมชนท้องถิ่น มีแผนบูรณาการจาก ทุกภาคีทุกเครือข่าย ตลอดทั้งมีการปฏิรูประบบการจัดการระดับพื้นที่ให้มีหลักประกันและเสถียรภาพการทำ งานของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย พัฒนากลไกการประสานงานโดยเน้นให้เกิดการบริหารจัดการที่ดีมีความ โปร่งใสให้การส่งเสริมพัฒนาของรัฐมีประโยชน์อย่างแท้จริงต่อชุมชนได้รับการสนับสนุนทั้งด้านอุปกรณ์และ การฝึกอบรมทั้งแก่กลุ่มสมาชิกของโครงการและเจ้าหน้าที่ของรัฐในกระตุ้นความเข้าใจและความสนใจจากการ ขยายโอกาสการประกอบอาชีพจากการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของชุมชน โดยมีการชี้นำแนวทางและขอบ ข่ายความรับผิดชอบของแต่ละพื้นที่แต่และองค์กรท้องถิ่นที่ชัดเจนเกิดการประสานงานทั้งระหว่างท้องถิ่นเอง และระหว่างส่วนกลางและส่วนภูมิภาคอีกด้วย”
114
การกำหนดร่างวิสัยทัศน์
“ชุมชนสามารถสร้างเสริมอาชีพและรายได้จากการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวระดับท้องถิ่น โดยภาครัฐให้การสนับสนุนด้านการ แนะนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยและกระบวนการเรียนรู้ทั้งด้านการบริหารจัดการและการผลิต การบริหารแหล่งท่องเที่ยวตลอดจนการ ประชาสัมพันธ์ ที่มีการประยุกต์จากฐานภูมิปัญญาของชุมชนท้องถิ่น มีแผนบูรณาการจากทุกภาคีทุกเครือข่าย ตลอดทั้งมีการปฏิรูป ระบบการจัดการระดับพื้นที่ให้มีหลักประกันและเสถียรภาพการทำงานของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย พัฒนากลไกการประสานงาน โดยเน้นให้เกิดการบริหารจัดการที่ดีมีความโปร่งใสให้การส่งเสริมพัฒนาของรัฐมีประโยชน์อย่างแท้จริงต่อชุมชนได้รับการสนับสนุน ทั้งด้านอุปกรณ์และการฝึกอบรมทั้งแก่กลุ่มสมาชิกของโครงการและเจ้าหน้าที่ของรัฐในกระตุ้นความเข้าใจและความสนใจจากการขยาย โอกาสการประกอบอาชีพจากการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของชุมชน โดยมีการชี้นำแนวทางและขอบข่ายความรับผิดชอบของแต่ ละพื้นที่แต่และองค์กรท้องถิ่นที่ชัดเจนเกิดการประสานงานทั้งระหว่างท้องถิ่นเองและระหว่างส่วนกลางและส่วนภูมิภาคอีกด้วย” “ชุมชนสามารถสร้างเสริมอาชีพ ขยายโอกาสและรายได้จาการการพัฒนาอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวระดับท้องถิ่น ที่สอดรับและประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาและแรงงานท้องถิ่นเป็นหลัก มีการบริหารจัดการที่ดีมีความโปร่งใสเกิดประโยชน์จากการพัฒนาการท่องเที่ยวสู่ชุมชน อย่างแท้จริงและทั่วถึง กลไกภาครัฐมีการปฏิรูปให้เกิดระบบการจัดการที่มีหลักประกัน และเสถียรภาพการทำงานของบุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง”
115
การยกร่างพันธกิจ “ชุมชนสามารถสร้างเสริมอาชีพและรายได้จากการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวระดับท้องถิ่น โดยภาครัฐให้การสนับสนุนด้านการ แนะนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยและกระบวนการเรียนรู้ทั้งด้านการบริหารจัดการและการผลิต การบริหารแหล่งท่องเที่ยวตลอดจนการ ประชาสัมพันธ์ ที่มีการประยุกต์จากฐานภูมิปัญญาของชุมชนท้องถิ่น มีแผนบูรณาการจากทุกภาคีทุกเครือข่าย ตลอดทั้งมีการปฏิรูป ระบบการจัดการระดับพื้นที่ให้มีหลักประกันและเสถียรภาพการทำงานของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย พัฒนากลไกการประสานงาน โดยเน้นให้เกิดการบริหารจัดการที่ดีมีความโปร่งใสให้การส่งเสริมพัฒนาของรัฐมีประโยชน์อย่างแท้จริงต่อชุมชนได้รับการสนับสนุน ทั้งด้านอุปกรณ์และการฝึกอบรมทั้งแก่กลุ่มสมาชิกของโครงการและเจ้าหน้าที่ของรัฐในกระตุ้นความเข้าใจและความสนใจจากการขยาย โอกาสการประกอบอาชีพจากการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของชุมชน โดยมีการชี้นำแนวทางและขอบข่ายความรับผิดชอบของแต่ ละพื้นที่แต่และองค์กรท้องถิ่นที่ชัดเจนเกิดการประสานงานทั้งระหว่างท้องถิ่นเองและระหว่างส่วนกลางและส่วนภูมิภาคอีกด้วย” กสอ.ต้องเร่งพัฒนาสมรรถนะด้านการบริหารจัดการโครงการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแก่ ชุมชนโดยแนะนำเทคโนโลยีและกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนการมีส่วนร่วมในแผน บูรณาการการท่องเที่ยว ตลอดจนเป็นผู้ประสานงานหลักในการวางแนวทางและขอบข่าย ความรับผิดชอบร่วมกันของโครงการในแต่ละพื้นที่ในรูปของการประสานงานทุกขั้นตอน ของการพัฒนาที่ชัดเจน
116
การกำหนดวัตถุประสงค์/เป้าหมายหลักการพัฒนาฯ
“ชุมชนสามารถสร้างเสริมอาชีพและรายได้จากการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวระดับท้องถิ่น โดยภาครัฐให้การสนับสนุนด้านการ แนะนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยและกระบวนการเรียนรู้ทั้งด้านการบริหารจัดการและการผลิต การบริหารแหล่งท่องเที่ยวตลอดจนการ ประชาสัมพันธ์ ที่มีการประยุกต์จากฐานภูมิปัญญาของชุมชนท้องถิ่น มีแผนบูรณาการจากทุกภาคีทุกเครือข่าย ตลอดทั้งมีการปฏิรูป ระบบการจัดการระดับพื้นที่ให้มีหลักประกันและเสถียรภาพการทำงานของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย พัฒนากลไกการประสานงาน โดยเน้นให้เกิดการบริหารจัดการที่ดีมีความโปร่งใสให้การส่งเสริมพัฒนาของรัฐมีประโยชน์อย่างแท้จริงต่อชุมชนได้รับการสนับสนุน ทั้งด้านอุปกรณ์และการฝึกอบรมทั้งแก่กลุ่มสมาชิกของโครงการและเจ้าหน้าที่ของรัฐในกระตุ้นความเข้าใจและความสนใจจากการขยาย โอกาสการประกอบอาชีพจากการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของชุมชน โดยมีการชี้นำแนวทางและขอบข่ายความรับผิดชอบของแต่ ละพื้นที่แต่และองค์กรท้องถิ่นที่ชัดเจนเกิดการประสานงานทั้งระหว่างท้องถิ่นเองและระหว่างส่วนกลางและส่วนภูมิภาคอีกด้วย” พัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวระดับชุมชนให้เกิดการเสริมอาชีพและเพิ่มรายได้ แก่ชาวชุมชนโดยตรง สร้างระบบการสนับสนุนแก่ชุมชนให้สามารถบริหารและจัดการธุระกิจด้านการ ท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐที่โปร่งใสมีแนวทางประสานงานที่ชัดเจน ตลอดจนมีการประกันความก้าวหน้าและเสถียรภาพการทำงานของบุคลากรทุกฝ่าย
117
เป็นวิสัยทัศน์ และ พันธกิจ
แปลงภาพอนาคตจาก SWOT เป็นวิสัยทัศน์ และ พันธกิจ วพม./รพ.รร.6 เป็นสถาบันผลิตแพทย์ทหารเพื่อสนับสนุนภารกิจของกองทัพและของประเทศซึ่งขาดแคลนแพทย์ โดยพัฒนาการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับพรบ.การศึกษาแห่งชาติ และระบบสุขภาพของชาติ จัดให้มีการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ที่มีนักเรียนแพทย์ทหารเป็นศูนย์กลาง เพื่อให้ได้แพทย์ทหารที่มีความรู้ ความสามารถ ดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม ตอบสนองต่อชุมชน มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และแก้ปัญหาต่างๆได้อย่างเป็นระบบ โครงสร้างและระบบการบริหารของ วพม. และ รพ.รร.6 ให้มีเอกภาพ มีความโปร่งใส มีฐานข้อมูล และทำงานเป็นทีม อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ศักยภาพของอาจารย์ ทรัพยากร สถานที่ เทคโนโลยี และการเป็นศูนย์การแพทย์ของกองทัพ ให้เป็นศูนย์กลางด้านวิชาการและการรักษาพยาบาลด้านเวชศาสตร์ทหาร สาธารณภัยและอุบัติภัย เพิ่มผลงานวิจัยที่ได้มาตรฐานสากล เป็นประโยชน์แก่วงการแพทย์ การทหาร มีการพัฒนางานจนเกิดเครือข่ายด้านนโยบายและแผน ด้านแพทยศาสตรศึกษา ด้านการวิจัย ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการบริการวิชาการต่อสังคม ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านการจัดหารายได้ ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการพัฒนากิจกรรมของนักเรียนแพทย์ทหาร แพทย์ประจำบ้าน และบัณฑิตศึกษา พร้อมทั้งมีหน่วยงานและอัตรารองรับ เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ และต่อเนื่อง พัฒนาและธำรงรักษาบุคลากร มีระบบการจูงใจทั้งด้านความก้าวหน้าทางวิชาชีพและด้านการเงิน และบรรยากาศของการทำงานที่ดี ให้เกิดขวัญและกำลังใจ มีการกำหนดภาระงานของบุคลากรทุกระดับ รวมทั้งการประเมินผลลัพธ์ของงานอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้มีการปฏิบัติงานอย่างเต็มศักยภาพ สปค.วพพม. ๑๒ มี.ค. ๔๖
118
ร่างวิสัยทัศน์ วพม./รพ.รร.6 เป็นศูนย์การแพทย์ของกองทัพ มีโครงสร้างและระบบการบริหารที่มีเอกภาพ ผลิตแพทย์ทหารที่มีความรู้ ความสามารถ เพื่อสนับสนุนภารกิจของกองทัพและประเทศ มีผลงานวิจัยที่ได้มาตรฐานสากล เป็นประโยชน์แก่วงการแพทย์ การทหาร สปค.วพพม. ๑๒ มี.ค. ๔๖
119
พันธกิจสมมุติ ร่างพันธกิจ
พัฒนาการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับพรบ.การศึกษาแห่งชาติ และระบบสุขภาพของชาติ ปรับโครงสร้างและระบบการบริหารของ วพม. และ รพ.รร.6 ให้มีเอกภาพ มีความโปร่งใส มีฐานข้อมูล และทำงานเป็นทีม มีหน่วยงานและอัตรารองรับด้านนโยบายและแผน ด้านแพทยศาสตรศึกษา ด้านการวิจัย ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการบริการวิชาการต่อสังคม ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านการจัดหารายได้ ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการพัฒนากิจกรรมของนักเรียนแพทย์ทหาร แพทย์ประจำบ้าน และบัณฑิตศึกษา มีระบบการจูงใจ มีการกำหนดภาระงานของบุคลากรประเมินผลลัพธ์ของงานอย่างเป็นรูปธรรม 1. จัดการศึกษาอบรมนักเรียนแพทยทหารให้เป็นนายทหารสัญญาบัตรและนายแพทย์ทหารที่มีคุณลักษณะของทหารอาชีพ มีความเป็นผู้นำ มีสุขภาพแข็งแรง เป็นคนดี มีวินัย มีคุณธรรม และจริยธรรม มีจรรยาแพทย์ มีสติปัญญา มีความรู้ มีวิสัยทัศน์ เพื่อทำงานให้กับกองทัพและประชาชน มีความคิดริเริ่มคิดเป็นทำเป็น สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ เพื่อนำมาพัฒนาสังคมได้ 2. พัฒนาระบบและกลไกการศึกษาให้ได้มาตรฐานคุณภาพสอดคล้องกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางการแพทย์ เพื่อนำมาประกอบใช้ในการสอน การวิจัย และการให้บริการทางวิชาการแก่นักเรียนแพทย์ทหาร กองทัพ และสังคม สปค.วพพม. ๑๒ มี.ค. ๔๖
120
ร่างพันธกิจ พัฒนาการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับพรบ.การศึกษาแห่งชาติ และระบบสุขภาพของชาติ ปรับโครงสร้างและระบบการบริหารของ วพม. และ รพ.รร.6 ให้มีเอกภาพ มีความโปร่งใส มีฐานข้อมูล และทำงานเป็นทีม มีหน่วยงานและอัตรารองรับด้านนโยบายและแผน ด้านแพทยศาสตรศึกษา ด้านการวิจัย ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการบริการวิชาการต่อสังคม ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านการจัดหารายได้ ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการพัฒนากิจกรรมของนักเรียนแพทย์ทหาร แพทย์ประจำบ้าน และบัณฑิตศึกษา มีระบบการจูงใจ มีการกำหนดภาระงานของบุคลากรประเมินผลลัพธ์ของงานอย่างเป็นรูปธรรม สปค.วพพม. ๑๒ มี.ค. ๔๖
121
แปลงภาพอนาคตจาก SWOT เป็น วัตถุประสงค์
วพม./รพ.รร.6 เป็นสถาบันผลิตแพทย์ทหารเพื่อสนับสนุนภารกิจของกองทัพและของประเทศซึ่งขาดแคลนแพทย์ โดยพัฒนาการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับพรบ.การศึกษาแห่งชาติ และระบบสุขภาพของชาติ จัดให้มีการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ที่มีนักเรียนแพทย์ทหารเป็นศูนย์กลาง เพื่อให้ได้แพทย์ทหารที่มีความรู้ ความสามารถ ดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม ตอบสนองต่อชุมชน มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และแก้ปัญหาต่างๆได้อย่างเป็นระบบ โครงสร้างและระบบการบริหารของ วพม. และ รพ.รร.6 ให้มีเอกภาพ มีความโปร่งใส มีฐานข้อมูล และทำงานเป็นทีม อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ศักยภาพของอาจารย์ ทรัพยากร สถานที่ เทคโนโลยี และการเป็นศูนย์การแพทย์ของกองทัพ ให้เป็นศูนย์กลางด้านวิชาการและการรักษาพยาบาลด้านเวชศาสตร์ทหาร สาธารณภัยและอุบัติภัย เพิ่มผลงานวิจัยที่ได้มาตรฐานสากล เป็นประโยชน์แก่วงการแพทย์ การทหาร มีการพัฒนางานจนเกิดเครือข่ายด้านนโยบายและแผน ด้านแพทยศาสตรศึกษา ด้านการวิจัย ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการบริการวิชาการต่อสังคม ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านการจัดหารายได้ ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการพัฒนากิจกรรมของนักเรียนแพทย์ทหาร แพทย์ประจำบ้าน และบัณฑิตศึกษา พร้อมทั้งมีหน่วยงานและอัตรารองรับ เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ และต่อเนื่อง พัฒนาและธำรงรักษาบุคลากร มีระบบการจูงใจทั้งด้านความก้าวหน้าทางวิชาชีพและด้านการเงิน และบรรยากาศของการทำงานที่ดี ให้เกิดขวัญและกำลังใจ มีการกำหนดภาระงานของบุคลากรทุกระดับ รวมทั้งการประเมินผลลัพธ์ของงานอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้มีการปฏิบัติงานอย่างเต็มศักยภาพ สปค.วพพม. ๑๒ มี.ค. ๔๖
122
ร่างวัตถุประสงค์ 1. ผลิตแพทย์ทหารที่มีคุณภาพ
2. พัฒนาการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ พรบ.การศึกษา และเกณฑ์ของแพทยสภา 3. พัฒนาวพม./รพ.รร.6ให้เป็นศูนย์กลางด้านเวชศาสตร์ทหาร การบรรเทาวินาศภัยและ อุบัติภัย 4. เพิ่มปริมาณผลงานวิจัย ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล 5. ปรับ อฉก. ให้มีหน่วยงานด้านนโยบายและแผน แพทยศาสตรศึกษา การวิจัย เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริการวิชาการต่อสังคม การประกันคุณภาพการศึกษา การ จัดหารายได้ การประชาสัมพันธ์ การพัฒนากิจกรรมของนักเรียนแพทย์ทหาร แพทย์ ประจำบ้าน และบัณฑิตศึกษา 6. จัดทำระบบพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากร สร้างระบบการจูงใจทั้งด้านความก้าวหน้า ทางวิชาชีพ การเงิน และบรรยากาศของการทำงานที่ดี เพื่อให้เกิดขวัญและกำลังใจ 7. ส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างเต็มศักยภาพ โดยกำหนด และประเมิน ภาระงาน อย่างเป็นรูปธรรม ข้อสังเกตุ ; วัตถุประสงค์เหล่านี้ เป็น Outcomes และสามรถกำหนดดัชนีและหรือตัวแปรเพื่อประเมินผลสัมฤทธของแผนในภายหลังได้ สปค.วพพม. ๑๒ มี.ค. ๔๖
123
แผนฯกาชาด การจำแนก วิสัยทัศน์และพันธกิจสภากาชาดไทย
จากจินตนาการอนาคตของสภากาชาดไทย “สภากาชาดไทยคงความเป็นองค์กรที่เป็นกลางและมีชื่อเสียงด้านการให้บริการทางการแพทย์อย่างครบวงจรและมีคุณภาพ สามารถฝึกอบรมแพทย์และผลิตพยาบาลที่มีความเชี่ยวชาญ มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทั้งการแพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์ทางเลือก ตลอดจนเป็นศูนย์การบริการโลหิต การบรรเทาทุกข์ ที่โดดเด่นมีมนุษยธรรม โดยปรับแก้ระบบบริหารและการจัดการที่ดีตลอดจนมีการวางแผนและการติดตามประเมินผล การควบคุมภายในให้เกิดทิศทางและวัฒนธรรมค่านิยมการทำงานตามหลักกาชาดสากล บทบาทของกาชาดไทยเป็นไปอย่างมีบูรณาการ สู่ผลสัมฤทธ์ อย่างคล่องตัว และทั่วถึงจากการกระจายอำนาจอย่างเหมาะสมทั้งในด้านบริการ การวิจัยและกิจกรรมที่หลากหลาย อันมีผลต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของชนทุกชั้น มีการชี้นำและสนองความต้องการสาธารณะมากขึ้น สามารถใช้ศักยภาพของทรัพยากรภายในและรับการสนับสนุนจากเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกประเทศทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจนประชาชนผู้มีจิตศรัทธาและสื่อมวลชนสาขาต่างๆ ทำให้เกิดการสนับสนุนและบริจาดด้านการเงินอย่างต่อเนื่อง ควบคู่การระดมทุนจากการผลิต การบริการ และจากการเพิ่มแหล่งรายได้และสินทรัพย์ หน่วยงานภายในได้รับการปรับให้มีการประสานงานและบูรณาการระหว่างกัน มีการลงทุนด้านบุคลากร ให้มีความสามารถ และความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์และภักดีต่อกาชาดไทย ผลสัมฤทธ์ที่ได้มีต้นทุนที่สมเหตุสมผลและคุ้มค่า ตลอดจนเพียงพอแก่การให้ความช่วยเหลืออย่างทั่วถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งแก่ผู้ด้อยโอกาส” แผนฯกาชาด
124
แผนฯกาชาด ประเด็นเพื่อการผนวกร่างวิสัยทัศน์
สภากาชาดไทยคงความเป็นองค์กรที่เป็นกลางและมีชื่อเสียงด้านการให้บริการทางการแพทย์อย่างครบวงจรและมีคุณภาพ เป็นศูนย์การบริการโลหิต การบรรเทาทุกข์ ที่โดดเด่นมีมนุษยธรรม ระบบบริหารและการจัดการที่ดี บทบาทของกาชาดไทยเป็นไปอย่างมีบูรณาการ สู่ผลสัมฤทธ์ ยกระดับคุณภาพชีวิตของชนทุกชั้น ผลสัมฤทธ์ที่ได้มีต้นทุนที่สมเหตุสมผลและคุ้มค่า ตลอดจนเพียงพอแก่การให้ความช่วยเหลืออย่างทั่วถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งแก่ผู้ด้อยโอกาส ร่าง วิสัยทัศน์ ของสภากาชาดไทย “สภากาชาดไทยเป็นองค์กรที่คงความเป็นกลาง มีระบบการบริหารจัดการที่ดี มีบูรณาการสู่ผลสัมฤทธ์ สามารถให้บริการทางการแพทย์อย่างครบวงจรและมีคุณภาพ เป็นศูนย์กลางการบริการโลหิต การบรรเทาทุกข์ ที่โดดเด่นมีมนุษย์ธรรม ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของชนทุกชั้น ผลสัมฤทธิ์ที่ได้เพียงพอสามารถให้ความช่วยเหลืออย่างทั่วถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับผู้ด้อยโอกาส” 7 พย.‘46
125
วิสัยทัศน์ “สภากาชาดไทยเป็นองค์กรสาธารณะกุศลที่คงความเป็นกลางสามารถให้บริการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ อย่างครบวงจร และมีคุณภาพระดับสากล เป็นศูนย์กลางการบริการโลหิตการบรรเทาทุกข์ การยกระดับคุณภาพชีวิตของทุกชนชั้น ที่โดดเด่นมีมนุษยธรรม และประชาชนให้ความศรัทธาอย่างแรงกล้า” (5 กพ. 47)
126
แผนฯกาชาด ร่างพันธกิจของกาชาดไทย ประเด็นเพื่อการผนวกร่างพันธกิจ
ฝึกอบรมแพทย์และผลิตพยาบาลที่มีความเชี่ยวชาญ มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี วางแผนและการติดตามประเมินผล การควบคุมภายใน วัฒนธรรมค่านิยมการทำงานตามหลักกาชาดสากล กระจายอำนาจอย่างเหมาะสมทั้งในด้านบริการ การวิจัยและกิจกรรมที่หลากหลาย รับการสนับสนุนจากเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกประเทศ ระดมทุนจากการผลิต การบริการ และจากการเพิ่มแหล่งรายได้และสินทรัพย์ หน่วยงานภายในได้รับการปรับให้มีการประสานงานและบูรณาการระหว่างกัน มีการลงทุนด้านบุคลากร ร่างพันธกิจของกาชาดไทย (ร่างแผนยุทธศาสตร์ ) “สภากาชาดไทยจะต้องพัฒนาความสามารถการฝึกอบรมแพทย์และการผลิตพยาบาลที่มีความเชียวชาญ โดยพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีขององค์กร ปรับปรุงการบริหารจัดการให้มีกลยุทธ์การดำเนินการที่มีบูรณาการ มีการกระจายอำนาจ และลงทุนด้านบุคลากรตลอดจนปลุกฝั่งค่านิยมขององค์กรตามหลักกาชาดสากลให้เป็นที่ศรัทธาของสาธารณะ ทั้งนี้องค์กรต้องมีการบริหารทรัพยสินและเพิ่มแหล่งรายได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีการจัดการที่ดี” พย.‘46 (พันธกิจของแผนฯสอดคล้องกับพันธกิจสมมุติหรือไม่ ?) (ผู้บริหารจะแปลร่างวิสัยทัศน์และพันธกิจเป็นคำขวัญด้วยหรือไม่ ?)
127
พันธกิจ “สภากาชาดไทยจะต้องพัฒนาความสามารถในการ ให้บริการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ การบริการโลหิต การบรรเทาทุกข์ และการส่งเสริมคุณภาพชีวิต อย่างมีคุณภาพ และครบวงจร ตลอดจนการผลิตพยาบาล และบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่มีความเชียวชาญ โดยพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีขององค์กร ปรับปรุงการดำเนินงานให้มีการบริหารจัดการที่ดี มีกลยุทธ์ มีบูรณาการสู่ผลสัมฤทธิ์ มีการกระจายอำนาจ มีการลงทุนด้านบุคลากร และการปลุกฝั่งค่านิยมขององค์กรตามหลักกาชาดสากล ตลอดจนสร้างเสริมและดำรงรักษาภาพลักษณ์ให้เป็นที่ศรัทธาของสาธารณะ ทั้งนี้ต้องมีการบริหารทรัพยสิน และเพิ่มแหล่งรายได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีการจัดการที่ดีด้วย” 5 กพ. 47
128
แผนฯกาชาด การกำหนดวัตถุประสงค์หลักการพัฒนาสภากาชาดไทย
จากจินตนาการอนาคตของสภากาชาดไทย “สภากาชาดไทยคงความเป็นองค์กรที่เป็นกลางและมีชื่อเสียงด้านการให้บริการทางการแพทย์อย่างครบวงจรและมีคุณภาพ สามารถฝึกอบรมแพทย์และผลิตพยาบาลที่มีความเชี่ยวชาญ มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทั้งการแพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์ทางเลือก ตลอดจนเป็นศูนย์การบริการโลหิต การบรรเทาทุกข์ ที่โดดเด่นมีมนุษยธรรม โดยปรับแก้ระบบบริหารและการจัดการที่ดีตลอดจนมีการวางแผนและการติดตามประเมินผล การควบคุมภายในให้เกิดทิศทางและวัฒนธรรมค่านิยมการทำงานตามหลักกาชาดสากล บทบาทของกาชาดไทยเป็นไปอย่างมีบูรณาการ สู่ผลสัมฤทธ์ อย่างคล่องตัว และทั่วถึงจากการกระจายอำนาจอย่างเหมาะสมทั้งในด้านบริการ การวิจัยและกิจกรรมที่หลากหลาย อันมีผลต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของชนทุกชั้น มีการชี้นำและสนองความต้องการสาธารณะมากขึ้น สามารถใช้ศักยภาพของทรัพยากรภายในและ รับการสนับสนุนจากเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกประเทศทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจนประชาชนผู้มีจิตศรัทธาและสื่อมวลชนสาขาต่างๆ ทำให้เกิดการสนับสนุนและบริจาดด้านการเงินอย่างต่อเนื่อง ควบคู่การระดมทุนจากการผลิต การบริการ และจากการเพิ่มแหล่งรายได้และสินทรัพย์ หน่วยงานภายในได้รับการปรับให้มีการประสานงานและบูรณาการระหว่างกัน มีการลงทุนด้านบุคลากร ให้มีความสามารถ และความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์และภักดีต่อกาชาดไทย ผลสัมฤทธ์ที่ได้มีต้นทุนที่สมเหตุสมผลและคุ้มค่า ตลอดจนเพียงพอแก่การให้ความช่วยเหลืออย่างทั่วถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งแก่ผู้ด้อยโอกาส” แผนฯกาชาด
129
ร่างวัตถุประสงค์หลักของแผนฯ
แผนฯกาชาด ร่างวัตถุประสงค์หลักของแผนฯ พัฒนาการบริการด้านการแพทย์และสุขอนามัย ที่ครบวงจรและมีคุณภาพทางวิชาการและเทคโนโลยีระดับมาตรฐานสากล ยกระดับการบรรเทาทุกข์ ให้รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ และสมบทบาท พัฒนาการให้บริการโลหิต อย่างมีคุณภาพ เพียงพอ และทั่วถึง พัฒนาการผลิตพยาบาลและบุคลากรแพทย์ที่มีคุณภาพคุณภาพและเพียงพอ พัฒนาการเป็นผู้นำด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิตกลุ่มผู้ด้อยโอกาส พัฒนาบุคลากรให้มีความสามารถให้บริการที่มีคุณภาพและมีค่านิยมในหลักกาชาดสากล กระจายอำนาจและเสริมความเข้มแข็งของเครือข่าย ปรับระบบการบริหารจัดการให้มีการจัดการที่ดีและยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมทันสถานการณ์และมีประสิทธิภาพ บริหารทรัพยสินและเพิ่มแหล่งรายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 7 พย.‘46 ประเด็นเพื่อยกร่างวัตุถประสงค์หลักของแผนฯ บริการทางการแพทย์อย่างครบวงจรและมีคุณภาพ ฝึกอบรมแพทย์และผลิตพยาบาลที่มีความเชี่ยวชาญ มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทั้งการแพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์ทางเลือก เป็นศูนย์การบริการโลหิต การบรรเทาทุกข์ ที่โดดเด่นมีมนุษยธรรม ปรับแก้ระบบบริหารและการจัดการที่ดี เกิดทิศทางและวัฒนธรรมค่านิยมการทำงานตามหลักกาชาดสากล กระจายอำนาจอย่างเหมาะสม การสนับสนุนจากเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกประเทศทั้งภาครัฐและเอกชน เพิ่มแหล่งรายได้และสินทรัพย์ การลงทุนด้านบุคลากร ผลสัมฤทธ์ที่ได้มีต้นทุนที่สมเหตุสมผล ให้ความช่วยเหลืออย่างทั่วถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งแก่ผู้ด้อยโอกาส”
130
ร่างวัตถุประสงค์หลักของแผนฯ
แผนฯกาชาด ร่างวัตถุประสงค์หลักของแผนฯ พัฒนาการบริการด้านการแพทย์และสุขอนามัย ที่ครบวงจรและมีคุณภาพทางวิชาการ และเทคโนโลยีระดับมาตรฐานสากล พัฒนาการจัดการการบรรเทาทุกข์ ให้ครบวงจรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ พัฒนาการให้บริการโลหิต อย่างมีคุณภาพ เพียงพอ และทั่วถึง พัฒนาการเป็นผู้นำด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิตกลุ่มผู้ด้อยโอกาส พัฒนาการผลิตพยาบาล และบุคลากรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีคุณภาพและเพียงพอ พัฒนาบุคลากรให้สามารถบริการอย่างมีคุณภาพ และปลูกฝั่งให้มีค่านิยมในหลักการกาชาด ปรับระบบการบริหารจัดการให้มีการจัดการที่ดี และยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมทันสถานการณ์และมีประสิทธิภาพ บริหารทรัพยสิน และเพิ่มแหล่งรายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 5 กพ. 47
131
การเจียรนัยเป้าประสงค์
การวิเคราะห์สถานการณ์ในอนาคต การระดมความเห็นจากประชาชน การประเมินผลการพัฒนาที่ผ่านมา ร่างกรอบวิสัยทัศน์และทิศทาง การพัฒนา วัตถุประสงค์/ เป้าหมายหลัก พันธกิจ วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์&กลยุทธ์ แผนที่เกี่ยวข้อง ติดตาม ประเมิน SWOT กลยุทธ์ กลไก S W O T องค์กร ประชาชน สังคม วิสัยทัศน์ ความสัมพันธ์ของ องค์ประกอบหลัก ยุทธวิธี ระเบียบ ร่างวิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์และแนวคิดอื่นที่มี การวิเคราะห์/คาดการณ์ สถานการณ์และแนวโน้ม (Scenario assumptions) การถกแถลง (ปัจจัยและอิทธิพลของปัจจัย) (ภาพการเปลี่นยแปลงสภาวะกาล) ข้อมูลจากส่วนอื่นของแผนฯ (การติดตาม ประเมินผล) (ศักยภาพ/ความต้องการ/คาดหวังฯลฯ) ร่าง เป้าประสงค์ ข้อมูล&ข้อคำนึง การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/กันยายน/2544
132
รายการตรวจสอบเป้าประสงค์ (เบื่องต้น)
วิสัยทัศน์ เป็นการระบุ “สถานะภาพหมาย(Model)ที่ผู้มีส่วนเกี่ยวของและประชาคมปรารถนาที่สมเหตุสมผล”หรือไม่ เป็นการระบุ “สิ่งท้าทายที่ชี้นำให้เห็นถึงระดับการพัฒนาที่จะเกิดในอนาคต(10-15)”หรือไม่ เป็นการระบุ “สิ่งที่ฉายให้เห็นว่าอนาคตประชาชนและสังคมสาธารณะจะได้ประโยชน์อะไร”หรือไม่ พันธกิจ เป็นการระบุ “เงื่อนไขสำคัญยิ่งยวด(commitments)ที่ต้องทำซึ่งองค์กรคงอยู่เพื่อทำเงื่อนไขนี้ให้ได้”หรือไม่ เป็นการระบุ “กิจธุระที่ต้องทำร่วมกันอย่างมีบูรณาการเพื่อจะบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนด”หรือไม่ เป็นการระบุ “บรรดาเทคนิกหรือพิธีการหลักที่องค์กรต้องเสริมสมรรถนะให้ ทำเป็นทำได้ ในอนาคต”หรือไม่ เป็นการระบุ “ค่านิยมหลักและหรือวัฒนธรรมองค์กรที่สำที่สุดที่จะช่วนผลักดันองค์ไปสู่วิสัยทัศน์”หรือไม่ วัตถุประสงค์หลักของแผน เป็นเกณท์ที่ต้องบรรลุที่นำไปสู่การกำหนดดัชนีเพื่อการประเมิณผลได้อย่างชัดเจน แค่ไหนเพียงไร เป็นเกณท์ที่ต้องบรรลุที่สท้อนข้อคำนึงหลักในการปฏิรูประบบราชการที่เน้นผลสัมฤทธิ์แค่ไหนเพียงไร ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลด้านการเงิน การสนองความต้องการประชาชน สมรรถนะการบริหารจัดการที่ดี สมรรถนะการอยู่รอดและแข่งขันได้ เป็นการระบุเป้าหมาย/ผลลัพธ์(End)หรือเพียงระบุวิถีทาง(Mean)ไปสู่เป้าหมาย/ผลลัพธ์ที่ต้องการหรือไม่ เป็นการระบุ ให้เห็นผลกระทบของการใช้แผน ที่ก่อให้เกิดการพัฒนา(ด้านต่างๆ)ที่ดีกว่าปัจจุบันหรือไม่ การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/ธค./2546
133
การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/ก.ค./2544
การตรวจสอบคุณลักษณะของร่างเป้าประสงค์ที่ควรประกอบด้วย; เป็นภูมิปัญญา(Smarter) กระชับมีความหมาย-นัยยะสำคัญ มีฐานเป็นจริง(Realestic) ยอมรับได้(Acceptable) ผลตอบแทนจากการพัฒนาสู่สังคมระบุไว้ชัด(Rewarding) ประเมินค่าผลกระทบได้(ช่วยกระตุ้นและท้าทาย) (Extending) คำนึงถึงช่วงเวลาที่จะบรรลุไม่เกินที่ควร(Time frame) ชัดเจนจำเพาะเจาะจง(Specific) ตรวจสอบวัดได้(Mesurable) วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/ก.ค./2544
134
การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/ม.ค./2545
ตารางแสดงกระบวนการกำหนดและปรับเป้าประสงค์ของแผนกลยุทธ์ การจินตนาการสภาวะอนาคต กำหนดเป้าประสงค์ หมายเหตุ การวิเคราะห์ SWOT O + S ร่าง SWOT 1 สภาวะอนาคตที่เป็นบวก1 วัตถุประสงค์ หลัก ยกร่าง โดย ฝ่ายเลขาฯ สภาวะรวม 1 พันธกิจ (ตัวอย่าง) สภาวะที่ดีกว่า 1 วิสัยทัศน์ W + T ร่างเป้าประสงค์ 1 สัมนาฯ สัมนาฯ สัมนาฯ สัมนาฯ สัมนาฯ O + S ร่าง SWOT 2 สภาวะรวม 2 วัตถุประสงค์ หลัก สภาวะอนาคตที่เป็นบวก2 พันธกิจ ปรับร่าง ภายหลัง สัมมนา 1 (ตัวอย่าง) วิสัยทัศน์ สภาวะที่ดีกว่า 2 W + T ร่างเป้าประสงค์ 2 (ส่วนเพิ่ม) (ส่วนเพิ่ม) (ส่วนเพิ่ม) Program Projects’ Ideas ปรับ องค์กร กลไก NEXT งานขั้นต่อไป ร่างกลยุทธ์ ติดตาม ประเมิณผล การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/ม.ค./2545
135
การยกร่างยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี
HOW TO DO ? HOW TO DO ? WHAT TO DO ? HOW TO DO ?
136
กำหนดยุทธ์วิธีและแนวทางเลือกพัฒนา
เป็นการกำหนดแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมมีความเป็นไปได้ “พิจารณาทางเลือกในการดำเนินการ(Implementation)และการกำกับการดำเนินการ(Control)ขององค์กร” การดำเนินการที่สำคัญของขั้นตอน ทบทวนข้อมูลจากการติดตามประเมินผลปฏิบัติการและผลการวิเคราะห์ขั้นตอนที่ผ่านมา ทบทวนจัดลำดับความสำคัญของสภาวะที่เกี่ยวข้อง ประเมินความซ้ำซ้อนของประเด็นสถานการณ์ พิจารณาเป้าประสงค์โดยเฉพาะพันธกิจและวัตถุประสงค์หลักเพื่อพิจารณาหาแนวทางที่เกี่ยวข้อง-สนับสนุน วัตถุประสงค์จากสภาวะที่มีอยู่ตามผังSWOT กำหนดทางเลือกดำเนินการ แนวทางและยุทธวิธีและประเมินความเป็นไปได้ทางเทคนิคและการบริหารจัดการของแผนงานที่เหมาะสม มีนัยสำคัญทางกลยุทธ์ เสนอแนะแนวทางและแผนงาน(พร้อมสถิติหนุน)เพื่อกลไกบริหารตัดสินใจ การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/เมษายน/2542
137
กำหนดยุทธวิธีและทางเลือก(ต่อ) สรุปการกำหนดส่วนแนวทางดำเนินการ
ข้อคำนึงการกำหนดยุทธศาสตร์/ยุทธวิธี-แผนงาน/โครงการ การกำหนดยุทธศาสตร์/ยุทธวิธีเป็นเรื่องของการเลือกแนวทางปฎิบัติ (อย่างไร/HOW?)ทางการพัฒนาพันธกิจ การกำหนดยุทธฯศาสตร์ด้านโครงสร้าง(restructure)ต้องสมดุลย์กับ(reculture) คำนึงถึงความสมเหตุสมผลและผลลัพธ์ (Practicality,Affordability,Efficiency) ข้อจำกัดของทรัพยากรต่างๆ งบฯ คน วิทยาการ สมรรถนะการจัดการ ฯลฯ ข้อจำกัดของเวลา ผลกระทบข้างเคียง (ทุกอย่างไม่ได้มาโดยไม่จ่ายอะไร) พิจารณาความต่อเนื่องกับยุทธศาสตร์/ยุทธวิธีเดิม (ดูว่าเดิมมีจุดอ่อนอะไรปรับได้ส่วนใด) ยุทธวิธี-โครงการที่กำหนดมีเป้าซ้ำซ้อน/สนับสนุนกันหรือไม่ผนวกกันได้หรือไม่ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/กุมภาพันธ์/2543
138
กำหนดยุทธวิธีและทางเลือก
ยุทธวิธีแก้ไขปัญหา4รูปแบบขององค์กรภาครัฐ เสริมและใช้ โอกาส-จุดแข็ง (รุก) VENTURE PatternPreactive orientation (p - p - f +) PARLAY Pattern Inactive Orientation (p- p+ f-) QUEST PatternInteractive Orientation (p+ - p+ - f+ -) SAGA PatternReactive Orientation(p+ p- f-) โอกาส ข้อจำกัด จุดอ่อน จุดแข็ง (กลยุทธ์ประเภท ลองเสี่ยง-ปรับปรุง) (กลยุทธ์ประเภท ลุย-เร่งขยาย) ยุทธศาสตร์ ที่เหมาะสม แก้ไขและป้องกัน จุดอ่อน-อุปสรรค (รับ) (กลยุทธ์ประเภท ลด เลิก โอนย้าย) (กลยุทธ์ประเภท ไม่เสี่ยง-รักษาสภาพ) ช่วงสั้น ช่วง สั้น-ยาว ยุทธ/แผนงานที่น่าจะเป็น “องค์กรอาจต้องมีแนวทางและทางเลือกแก้ไขปัญหาหลายด้าน/ต้องพิจารณาหาลำดับความสำคัญแนวทางเลือก” (บันทึกจากประสบการณ์บรรยายที่มหาวิทยาลัยเกษตร อาจารย์ประจำวิชา วางแผนยุทธศาสตร์เมือง ) การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/กันยายน/2542
139
O W S T W+O=Off-set approach S+O=Matching approach
ความสัมพันธ์ผังSWOTและกลยุทธ์ ทางเลือก “การกำหนดกลยุทธที่เหมาะสมกับสภาวะแวดล้อม SWOT” O W+O=Off-set approach S+O=Matching approach กลยุทธ “ควรเสี่ยง” แก้ไขจุดอ่อน เพื่อใช้โอกาสที่มีอยู่ขององค์กร กลยุทธ “ขยายพลัง” ที่เน้นการใช้จุดแข็ง เพื่อเปิดโอกาสใหม่การแข่งขันขององค์กร W S W+T=Mitigation approach S+T=Covering approach กลยุทธ “ลด-เลิก” หาทางผ่านพ้นจุดอ่อน และเลี่ยงภาวะคุกคาม ที่ปดบังวัตถุประสงค์องค์กร กลยุทธ “ลดเสี่ยง”อาศัยจุดแข็ง ต้านและตรึง ภาวะคุกคาม ที่มีต่อวัตถุประสงค์ขององค์กร T การวางแผนกลยุทธ อุทิศ/เมษายน/2544
140
การกำหนดกลยุทธ์การพัฒนา
O W T S สภาวะใหม่ กลยุทธ์&กลวิธี ความคิดใหม่ หรือ ยุทธ์ศาสตร์ แผนงาน-โครงการ ประสพการณ์& ความชำนาญ การเรียนรู้ ความคิดริเริ่ม-ทางเลือก หลักการ-ทฤษฎี นโยบาย&การเมือง การวางแผนกลยุทธ อุทิศ/ธ.คม/2544
141
การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พค./2546
การกำหนดกลยุทธการพัฒนา วัตถุประสงค์หลัก VENTURE Pattern PARLAY Pattern QUEST Pattern SAGA Pattern โอกาส ข้อจำกัด จุดอ่อน จุดแข็ง ของแผนฯ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พค./2546
142
O W W S T T คาดการณ์จากผังSWOTและกลยุทธ์ ทางเลือก เพื่อสภาวะเฉพาะ
W+O=Off-set approach S+O=Matching approach กลยุทธ “ทดแทน” แก้ไขจุดอ่อน เพื่อใช้โอกาสที่มีอยู่ขององค์กร กลยุทธ “ผนึกพลัง” ที่เน้นการใช้จุดแข็ง เพื่อเปิดโอกาสใหม่การแข่งขันขององค์กร W Doomday Scenario S W+T=Mitigation approach S+T=Covering approach กลยุทธ “บรรเทา” หาทางผ่านพ้นจุดอ่อน และเลี่ยงภาวะคุกคาม ที่ปดบังวัตถุประสงค์องค์กร กลยุทธ “โอบล้อม”อาศัยจุดแข็ง ต้านและตรึง ภาวะคุกคาม ที่มีต่อวัตถุประสงค์ขององค์กร Approach T T การวางแผนกลยุทธ อุทิศ/เมษายน/2544
143
การปรับและผสมแนวคิดทางเลือก
สภาวะใหม่ แนวคิดใหม่ การวางแผนกลยุทธ อุทิศ/ตุลาคม/2544
144
ข้อคำนึงการยกร่างกลยุทธ์
-แปลกใหม่-สำคัญ เพียงใด ? -ก่อเกิดผลกระทบที่ดีกว่าเดิมหรือไม่ ? -ก่อเกิดความคุ้มค่าด้านงบฯ/การเงินหรือไม่ ? -มีนวตกรรม/ที่เสริมสมรรถนะการแข่งขันเพียงใด ? -สนองความต้องการ นโยบาย / สาธารณะหรือไม่ ? -สนับสนุนการบริหารจัดการที่ดีเพียงไรหรือไม่? -ขัดแย้งกับพันธกิจของแผนฯหรือไม่ ? -รองรับวัตถุประสงต์หลักของแผนฯข้อใด ? -ปฏิบัติได้ (เทคนิค/จัดการ) หรือไม่ ? -สาระชี้นำสู่แนวทางปฏิบัติและแผนงาน/โครงการได้หรือไม่? ฯลฯ แผนกลยุทธ์/อุทิศ/กย./46
145
“สาระชี้นำของกลยุทธ สื่อความหมายทางปฏิบัติ
ข้อคำนึงการยกร่างกลยุทธ์ “สาระชี้นำของกลยุทธ สื่อความหมายทางปฏิบัติ “ต้องทำอะไร อย่างมีบูรณาการ” ชัดเจนหรือไม่ รัดกุมเพียงไร ?” “ครอบคลุมการจัดลำดับความสำคัญของกลยุทธ และ การระบุความสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์หลักของแผน การระบุความสัมพันธ์กับนโยบายหลักของรัฐหรือไม่ ?” ฯลฯ แผนกลยุทธ์/อุทิศ/กย./46
146
(กลุ่มงาน/แผนฯชาติ) โอกาส จุดอ่อน จุดแข็ง ข้อจำกัด
1 คนส่วนใหญ่การศึกษา-สมรรถนะต่ำ 2 มีภาวะยากจน-เลื่อมล้ำรายได้-บริการสังคม 3 การทุจริตคอรัปชั่นรุนแรง 4 ทรัพยากรร่อยหลอ-ขัดแย้งเพิ่มขึ้น 5 ฐานวิทย์อ่อนแอกว่าต่างชาติ 6 เศรษฐกิจยังไม่ฟื้นเท่าที่ควร 7 งบฯจำกัด หนี้สาธารณะสูง 8 สมรรถนะการผลิตและแข่งขัน 9 กฎระเบียบไม่สอดรับกระจายอำนาจ-ส่วนร่วม 10 วิกฤติกระทบสังคม 11 ท้องถิ่น-ชุมชนขาดความพร้อม 12 สิ่งแวดล้อม-คุณภาพชีวิตเสื่อมโทรม 13 เมืองมีสมรรถนะด้อยลง (กลุ่มงาน/แผนฯชาติ) โอกาส 1 เศรษฐกิจใหม่เพิ่มประสิทธิภาพ-ผลิต/บริการประเทศ 2 การค้าเสรี/ว&ท เสริมสมรรถนะแข่งขันเอกชน 3 กระแสยั่งยืน-การมีส่วนร่วมเร่งปรับระบบรัฐ 4 ร่วมมือภูมิภาคขยายฐาน-ตลาดสากลได้ จุดแข็ง 1 ตื่นตัวประชาธิปไตย ปฎิรูปรัฐ กระจายอำนาจ 2 องค์กรชุมชน-เครือข่ายเข้มแข็ง 3 วัฒนธรรมหลากหลาย สมานฉันท์ ยืดหยุ่น 4 มีทุนเศรษฐกิจระดับหนึ่งเป็นฐานการพัฒนา 5 เป็นแหล่งอาหารโลก ท่องเที่ยว บริการสุขภาพ 6 ที่ตั้งเป็นศูนย์กลางภูมิภาค ปลอดจากภัยธรรมชาติ ข้อจำกัด 1 กระแสโลกเร็วกว่าตามทัน 2 การค้าโลก ไทยด้อยกว่า-ถูกกัน 3 ทุนต่างชาติเคลื่อนย้าย-จำกัด 4 นโยบายประเทศเพื่อนบ้านผันผวน การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ต.ค./2543
147
กำหนดยุทธศาสตร์(ทางเลือก)ที่เหมาะสมและขอบข่ายแนวทางหลัก
W (กลุ่มงาน/แผนฯชาติ) S O 1 คนส่วนใหญ่การศึกษา-สมรรถนะต่ำ 2 มีภาวะยากจน-เลื่อมล้ำรายได้-บริการสังคม 1 เศรษฐกิจใหม่เพิ่มประสิทธิภาพ-ผลิต/บริการประเทศ 1 ตื่นตัวประชาธิปไตย ปฎิรูปรัฐ กระจายอำนาจ 3 การทุจริตคอรัปชั่นรุนแรง 2 การค้าเสรี/ว&ท เสริมสมรรถนะแข่งขันเอกชน 2 องค์กรชุมชน-เครือข่ายเข้มแข็ง 4 ทรัพยากรร่อยหรอ-ขัดแย้งเพิ่มขึ้น 3 กระแสยั่งยืน-การมีส่วนร่วมเร่งปรับระบบรัฐ 3 วัฒนธรรมหลากหลาย สมานฉันท์ ยืดหยุ่น 5 ฐานวิทย์อ่อนแอกว่าต่างชาติ 4 ร่วมมือภูมิภาคขยายฐาน-ตลาดสากลได้ 4 มีทุนเศรษฐกิจระดับหนึ่งเป็นฐานการพัฒนา 6 เศรษฐกิจยังไม่ฟื้นเท่าที่ควร/ 5 เป็นแหล่งอาหารโลก ท่องเที่ยว บริการสุขภาพ T 7 งบฯจำกัด หนี้สาธารณะสูง 6 ที่ตั้งเป็นศูนย์กลางภูมิภาค ปลอดจากภัยธรรมชาติ 8 สมรรถนะการผลิตและแข่งขัน 1 กระแสโลกเร็วกว่าตามทัน 9 กฎระเบียบไม่สอfรับกระจายอำนาจ-ส่วนร่วม 2 การค้าโลก ไทยด้อยกว่า-ถูกกัน 10 วิกฤติกระทบสังคม 3 ทุนต่างชาติเคลื่อนย้าย-จำกัด 11 ท้องถิ่น-ชุมชนขาดความพร้อม 4 นโยบายประเทศเพื่อนบ้านผันผวน 12 สิ่งแวดล้อม-คุณภาพชีวิตเสื่อมโทรม 13 เมืองมีสมรรถนะด้อยลง กำหนดยุทธศาสตร์(ทางเลือก)ที่เหมาะสมและขอบข่ายแนวทางหลัก เปรียบเทียบกลุ่มยุทธศาสตร์และจัดดำลับความสำคัญ ตรวจสอบความสอดรับกับพันธกิจและวัตถุประสงค์หลัก ร่างผังความสัมพันธ์ของแผนงานทั้งหมดของแผนฯชาติ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ต.ค./2543
148
(อย่าลืม; ตรวจสอบความสอดรับกับพันธกิจและวัตถุประสงค์หลัก)
1 เศรษฐกิจใหม่เพิ่มประสิทธิภาพ-ผลิต/บริการประเทศ 2 การค้าเสรี/ว&ท เสริมสมรรถนะแข่งขันเอกชน 3 กระแสยั่งยืน-การมีส่วนร่วมเร่งปรับระบบรัฐ 4 ร่วมมือภูมิภาคขยายฐาน-ตลาดสากลได้ 1 กระแสโลกเร็วกว่าตามทัน 2 การค้าโลก ไทยด้อยกว่า-ถูกกัน 3 ทุนต่างชาติเคลื่อนย้าย-จำกัด 4 นโยบายประเทศเพื่อนบ้านผันผวน 1 ตื่นตัวประชาธิปไตย ปฎิรูปรัฐ กระจายอำนาจ 2 องค์กรชุมชน-เครือข่ายเข้มแข็ง 3 วัฒนธรรมหลากหลาย สมานฉันท์ ยืดหยุ่น 4 มีทุนเศรษฐกิจระดับหนึ่งเป็นฐานการพัฒนา 5 เป็นแหล่งอาหารโลก ท่องเที่ยว บริการสุขภาพ 6 ที่ตั้งเป็นศูนย์กลางภูมิภาค ปลอดจากภัยธรรมชาติ 9 กฎระเบียบไม่สอดรับกระจายอำนาจ-ส่วนร่วม 1 คนส่วนใหญ่การศึกษา-สมรรถนะต่ำ 2 มีภาวะยากจน-เลื่อมล้ำรายได้-บริการสังคม 3 การทุจริตคอรัปชั่นรุนแรง 4 ทรัพยากรร่อยหรอ-ขัดแย้งเพิ่มขึ้น 6 เศรษฐกิจยังไม่ฟื้นเท่าที่ควร/ 7 งบฯจำกัด หนี้สาธารณะสูง 8 สมรรถนะการผลิตและแข่งขัน 11 ท้องถิ่น-ชุมชนขาดความพร้อม 12 สิ่งแวดล้อม-คุณภาพชีวิตเสื่อมโทรม 5 ฐานวิทย์อ่อนแอกว่าต่างชาติ 10 วิกฤติกระทบสังคม 13 เมืองมีสมรรถนะด้อยลง S W O T เชิงรุก ระยะยาว 1 เศรษฐกิจใหม่เพิ่มประสิทธิภาพ-ผลิต/บริการประเทศ 4 มีทุนเศรษฐกิจระดับหนึ่งเป็นฐานการพัฒนา 2 การค้าเสรี/ว&ท เสริมสมรรถนะแข่งขันเอกชน 5 เป็นแหล่งอาหารโลก ท่องเที่ยว บริการสุขภาพ 4 ร่วมมือภูมิภาคขยายฐาน-ตลาดสากลได้ 6 ที่ตั้งเป็นศูนย์กลางภูมิภาค ปลอดจากภัยธรรมชาติ “เพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยใช้โอกาสระบบเศรษฐกิจใหม่การค้าเสรีและศักยภาพทางภูมิศาสตร์ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร การท่องเที่ยวการบริการ ต่างๆ ภายใต้การสนับสนุนของทุนเศรษฐกิจที่มีอยู่เดิม และความเข้มแข็งของเอกชน ตลอดจนความร่วมมือทางเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบ้าน” (อย่าลืม; ตรวจสอบความสอดรับกับพันธกิจและวัตถุประสงค์หลัก) (กลุ่มงาน/แผนฯชาติ) การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ต.ค./2543
149
1 เศรษฐกิจใหม่เพิ่มประสิทธิภาพ-ผลิต/บริการประเทศ
2 การค้าเสรี/ว&ท เสริมสมรรถนะแข่งขันเอกชน 3 กระแสยั่งยืน-การมีส่วนร่วมเร่งปรับระบบรัฐ 4 ร่วมมือภูมิภาคขยายฐาน-ตลาดสากลได้ 1 กระแสโลกเร็วกว่าตามทัน 2 การค้าโลก ไทยด้อยกว่า-ถูกกัน 3 ทุนต่างชาติเคลื่อนย้าย-จำกัด 4 นโยบายประเทศเพื่อนบ้านผันผวน 1 ตื่นตัวประชาธิปไตย ปฎิรูปรัฐ กระจายอำนาจ 2 องค์กรชุมชน-เครือข่ายเข้มแข็ง 3 วัฒนธรรมหลากหลาย สมานฉันท์ ยืดหยุ่น 4 มีทุนเศรษฐกิจระดับหนึ่งเป็นฐานการพัฒนา 5 เป็นแหล่งอาหารโลก ท่องเที่ยว บริการสุขภาพ 6 ที่ตั้งเป็นศูนย์กลางภูมิภาค ปลอดจากภัยธรรมชาติ 9 กฎระเบียบไม่สอดรับกระจายอำนาจ-ส่วนร่วม 1 คนส่วนใหญ่การศึกษา-สมรรถนะต่ำ 2 มีภาวะยากจน-เลื่อมล้ำรายได้-บริการสังคม 3 การทุจริตคอรัปชั่นรุนแรง 4 ทรัพยากรร่อยหรอ-ขัดแย้งเพิ่มขึ้น 6 เศรษฐกิจยังไม่ฟื้นเท่าที่ควร/ 7 งบฯจำกัด หนี้สาธารณะสูง 8 สมรรถนะการผลิตและแข่งขัน 11 ท้องถิ่น-ชุมชนขาดความพร้อม 12 สิ่งแวดล้อม-คุณภาพชีวิตเสื่อมโทรม 5 ฐานวิทย์อ่อนแอกว่าต่างชาติ 10 วิกฤติกระทบสังคม 13 เมืองมีสมรรถนะด้อยลง S W O T 3 กระแสยั่งยืน-การมีส่วนร่วมเร่งปรับระบบรัฐ 1 ตื่นตัวประชาธิปไตย ปฎิรูปรัฐ กระจายอำนาจ เชิงรุก 2 องค์กรชุมชน-เครือข่ายเข้มแข็ง 3 วัฒนธรรมหลากหลาย สมานฉันท์ ยืดหยุ่น “การบริหารจัดการที่ดี เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายอย่างสอดคล้องกับความตื่นตัวของระบบประชาธิปไตยและการปฎิรูปภาครัฐ ตลอดจนการกระจายอำนาจ โดยมีองค์กรชุมชนและเครือข่ายที่เข้มแข็งบนพื้นฐานวัฒนธรรมไทยที่สมานฉันท์และยืดหยุ่น” (กลุ่มงาน/แผนฯชาติ) การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ต.ค./2543
150
ยุทธ์ศาสตร์เร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถ ลำดับความสำคัญของกลยุทธ์
S O หน่วยงานต่างประเทศให้ความร่วมมือและสนับสนุนการเพิ่มขีด ความสามารถ 4 รัฐบาลให้ความสำคัญและเสริมการพัฒนาตามแผนฯ9 3 เอกชนและผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมต้องกรบริการระบบมาตร 3 องค์กรการค้าระหว่างประเทศผลักดันให้รัฐบาลสนับสนุนการพัฒนา ระบบ 3 โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศมีส่วนสำคัญการเสริมสมรรถนะ 3 มีข้อกำหนด MRA ที่เป็นข้อผูกพันให้รัฐบาลเร่งพัฒนาระบบมาตร 3 บุคลากรมีความรู้และประสบการณ์ด้านมาตรที่ยอบรับในสากล 4 มีทุนสนับสนุนด้านการศึกษาและอบรมในต่างประเทศ 4 เครื่องมือส่วนใหญ่มีมาตรฐานกว่าห้องปฏิบัติการอื่น 3 สถาบันให้บริการและใช้ระบบมาตรตามมาตรฐานสากล 2 ยุทธ์ศาสตร์เร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถ ; ใช้ทุนและการสนับสนุนจากรัฐบาลและเอกชน ตลอดจนเครือข่ายองค์กรต่างประเทศเพื่อเร่งเสริมสมรรถนะทั้งด้านบุคลากรและการปรับ มาตรฐานการบริการให้เกิดศูนย์กลางเทคโนโลยีการวัดระดับสากลและแหล่งข้อมูลทางมาตร วิทยาของภูมิภาค ในอันที่จะเสริมสมรรถนะการแข่งขันด้านการค้าและบริการให้ทันความ ต้องการของประเทศภายใน 5 ปีข้างหน้า 4 = 3, 3 = 6, 2 = 1, 1 = 0 ; n=10 ลำดับความสำคัญของกลยุทธ์ 4 = 30%,3 = 60%,2 = 10%,1 = 0%
151
ผังตรวจสอบความสัมพันธ์ของยุทธ์ศาสตร์ และมิติตาม BSC
ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่1 ยุทธศาสตร์ที่2 ยุทธศาสตร์ที่3 ยุทธศาสตร์ที่4 ยุทธศาสตร์ที่5 ยุทธศาสตร์ที่6 ยุทธศาสตร์ที่7 ยุทธศาสตร์ที่8 มิติ/มุมมอง สนองความต้องการสังคม -สู่วิสัยทัศน์ -ตามพันะกิจ วัตถุประสงค์หลัก ดัชนีผลลัพธ์ ประสิทธิผล-ภาพ คุ้มค่า งบฯ ตอบแทนสูง วัตถุประสงค์หลัก ดัชนีผลลัพธ์ วัตถุประสงค์หลัก ดัชนีผลลัพธ์ มิติ-มุมมอง ด้าน Balanced Scorecard บริหาร-จัดการดี -โปร่งใส -สวัสดิการ วัตถุประสงค์หลัก ดัชนีผลลัพธ์ วัตถุประสงค์หลัก ดัชนีผลลัพธ์ สมรรณนะการแข่งขัน นวตกรรม ขยายบริการ วัตถุประสงค์หลัก ดัชนีผลลัพธ์ วัตถุประสงค์หลัก ดัชนีผลลัพธ์ วัตถุประสงค์หลัก ดัชนีผลลัพธ์ วัตถุประสงค์หลัก ดัชนีผลลัพธ์ วัตถุประสงค์หลัก ดัชนีผลลัพธ์ มิติภายในอื่นๆ มิติภายนอก-ภายในอื่นๆ วัตถุประสงค์หลัก ดัชนีผลลัพธ์ มิติภายนอกอื่นๆ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2546
152
ด้วยหลักสูตรสนองท้องถิ่น เสริมการบริหารจัดการ
ขยายโอกาส การศึกษา เทคโนฯใหม่ ขยายการผลิตบัณฑิต ด้วยหลักสูตรสนองท้องถิ่น & ตลาดแรงงาน ขยายเทคโน เซรามิกส์ WO/30.00% Obj / Gov. 4 SO / 55.52% SO/37.50% Obj. 1 / Gov. 1, 6 พัฒนาขีดความ สามารถด้านวิจัย Obj. 3 / Gov. 2 พัฒนาความสามารถ ออกแบบผลิตภัณฑ์ SO/30.77% Obj / Gov. 4 ยุทธศาสตร์ปรับปรุง กระบวนและเครือข่าย การผลิตบัณฑิต WO/35.72% ST / 42.11% Obj. 2 / Gov. 4 Obj. 1, 5 / Gov. 2 เสริมการบริหารจัดการ ด้วยเทคโนโลยี เร่งสร้างอาคาร ทันสมัย WO / 54.55% WO/35.72% Obj. 5 / Gov. 3 ปรับรื้อระบบ ลดต้นทุน เพิ่มมูลค่า Obj. 5 / Gov. 5 WT/37.50% Obj. 5 / Gov. 2 ขวัญกำลังใจ สวัสดิการ Strategic’s road map. Obj. 4 / Gov. 5,3
153
ผังความสัมพันธ์ยุทธศาสตร์การพัฒนาหลักแผนฯ9
ชุมชนชนบท-เมือง พื้นที่ศักยภาพ > 25% 12% 63% 57% 43% คน-สังคมฯ ทรัพยากรฯ > 60% 20% 20% > 20% 20% 60% วิทย์-เทคโน > 57% 11% 29% การบริหาร จัดการที่ดี การป้อง-ปราม ทุจริตฯ สมรรถนะ การพัฒนา ความร่วมมือฯ 1-3 100% 33% 66% > 60% % 50% 50% เศรษฐกิจมหภาคฯ > 43% 29% 29% การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ต.ค./2543
154
ผลสัมฤทธิ-ธรรมาภิบาล วาระชาติสู่การปฏิบัติ
แผนยุทธศาสตร์ สศช. พัฒนาระบบบริหารสู่ ผลสัมฤทธิ-ธรรมาภิบาล A=15%,B=10%,C=30%D=30% เสริมสมรรถนะ บุคลากร-ภาวะผู้นำ ประสาน-ผลักดัน วาระชาติสู่การปฏิบัติ PSA. A=21.05%,B=26.32%,C=36.84%D=10.52% A=16.7%,B=22.2%,C=33.3%D=22.2% เสริมประสิทธิภาพ การวางแผน-บริการ A=20%,B=25.7%,C=31.4%D=17.1% แผนยุทธฯ สศช./อุทิศ /ก.พ.2546
155
ผังความสัมพันธ์ยุทธศาสตร์ ปปช.
1. สมรรถนะบุคลากร 4. เสริมสร้างประสิทธิภาพ A 40 B 20 C 20 D 20 3. สร้างขวัญกำลังใจ A B C 28.5 2. พัฒนาเครือข่าย A B 53.8 C 7.6 5. ปรับกลไกล่างขึ้นบน A 50 B C 12.5 A B C 25 6. เสริมบท บาทแกนนำ ปลุกจิตสำนึก A 50 B 25 C 25 อุทิศ ยุทธ์ ปปช. กค.’45
156
ผังความสัมพันธ์กลยุทธ์การพัฒนา วพม.
พัฒนาศูนย์การ แพทย์ทหาร นานาชาติ เพิ่มความ เป็นเลิศด้าน การวิจัย พัฒนาเพื่อความ ยั่งยืน ของ วพม. A=50% A=33.33% ผลิตบัญทิต แพทย์ที่มี คุณภาพ เสริมชื่อเสียง และ ศรัทธา A=0%,B=40% A=40% A=11.11% พัฒนาเทคโนโลยี และฐานข้อมูล เพื่อการบริหาร A=33.33% ปรับการบริหาร และ การจัดการ พัฒนาโครงสร้าง และระบบ บริหาร-จัดการ A =23.8% A=22.22% แผนยุทธ์/วพม./เม.ษ.46
157
ตชด. บังคับการฝึกอบรมฯ
พัฒนาเครือ ข่ายเรียนรู้ พัฒนาหลักสูตร A= 6.67% พัฒนา เครื่องมือฝึก พัฒนา ระบบบริหาร A= 10.0% A= 6.25% B=44.4 % พัฒนา โครงสร้างหน่วยฝึก พัฒนา บุคคลากร A= 8.33% A= 6.25% พัฒนาร่วม มวลชน พัฒนา-ขยาย มวลชน A=8.33 % A= 5.55% แผนกลยุทธ์/อุทิศ/กย./46
158
กลุ่มกลยุทธ์;กระบวนการดำเนินงาน
พัฒนาเครือ ข่ายเรียนรู้ กระบวนการ พัฒนาการฝึกอบรม พัฒนาหลักสูตร กระบวนการ พัฒนา การบริหารจัดการ พัฒนา เครื่องมือฝึก พัฒนา ระบบบริหาร พัฒนา โครงสร้าง พัฒนา บุคคลากร กระบวนการพัฒนาบุคลากร พัฒนาร่วม มวลชน พัฒนา-ขยาย มวลชน กระบวนการพัฒนากลุ่มเป้าหมายพิเศษ แผนกลยุทธ์/อุทิศ/กย./46
159
แผนฯกาชาด Red Cross Strategic Road Map
(ผังความสัมพันธ์ยุทธศาสตร์;ตัวอย่าง) บุกเบิกภารกิจ บรรเทาทุกข์ ที่ไม่ซ้ำช้อนรัฐ ผนึกพลังร่วมบรรเทาทุกข์ ขยายรูปแบบการระดมทุน WT/A=28.57% Obj 2/ Int.P.& F.P. SO/A=18.75% Obj 2/ Ext.P. เสริมคุณภาพชีวิตผู้ด้อยโอกาส อย่างต่อเนื่อง ศูนย์โลหิตแก่ทุกชนชั้น SO/A=36.36% Obj 8/ Int. P. & F.P. ST/A=23.08% ST/A=31.25% Obj 4/ Ext. P. ขยายบริการแพทย์ให้ ครบวงจร Obj 3 Ext. P. นำ/ข่าย ผลิต บุคลากรทาง ว.แพทย์ ปลูกฝังวัฒน ธรรมกาชาด & การเรียนรู้ WT/A=18.18% SO/A=33.3% SO/A=27.27% Obj 1 G&L P & Ext.P. Obj 5/ G&L P. Ext. P. Obj 6/ G&L P.& Int.P. ปรับกลไก-เทคนิค ทันสมัย ให้บริการทั่วถึง WO/A=16.67% Obj 7/ Int.P.& G&L P. แผนกลยุทธ์;กาชาด อุทิศ กพ. 47
160
บุกเบิกงานเครือข่ายการบรรเทาทุกข์ รวมทั้งขยายวิธีการ และรูปแบบระดมทุน
Red Cross Strategic Theme แผนฯกาชาด (แนวบูรณาการ // กระบวนการพัฒนา; ตัวอย่าง) บุกเบิกงานเครือข่ายการบรรเทาทุกข์ รวมทั้งขยายวิธีการ และรูปแบบระดมทุน ปรับภารกิจ บรรเทาทุกข์ ที่ซ้ำช้อน ขยายรูปแบบการระดมทุน SO/A=36.36% WT/A=28.57% Obj 8/ Int. P. & F.P. Obj 2/ Int.P.& F.P. เร่งเสริม บริการ และผลิตบุคลากร ทางวิทยาศาสตร์การ แพทย์ การบริการโลหิต การบรรเทาทุกข์และพัฒนาคุณภาพ ชีวิต ที่หลากหลายและทั่วถึง ขยายบริการแพทย์ให้ ครบวงจร เสริมคุณภาพชีวิตผู้ด้อยโอกาส อย่างต่อเนื่อง ศูนย์โลหิตแก่ทุกชนชั้น ผนึกพลังร่วมบรรเทาทุกข์ SO/A=33.3% ST/A=23.08% SO/A=18.75% Obj 1 G&L P & Ext.P. ST/A=31.25% Obj 4/ Ext. P. Obj 2/ Ext.P. Obj 3 Ext. P. ปลูกฝังวัฒน ธรรมกาชาด & การเรียนรู้ ปรับระบบ กลไก การบริหารที่ดีและพัฒนาบุคลากรอย่าง ต่อเนื่อง นำ/ข่าย ผลิต บุคลากรทาง ว.แพทย์ ปรับกลไก-เทคนิค ทันสมัย ให้บริการทั่วถึง SO/A=27.27% WT/A=18.18% WO/A=16.67% Obj 5/ G&L P. Obj 6/ G&L P.& Int.P. Obj 7/ Int.P.& G&L P. แผนกลยุทธ์;กาชาด อุทิศ กพ. 47
161
แนวทางการจัดสรรงบประมาณ
แผนงาน-โครงการ (ตามลำดับความสำคัญ) ขนาด งบฯที่มี น้อย ปานกลาง มาก แผนงาน-โครงการที่สำคัญมาก แผนงาน-โครงการที่สำคัญกลาง แผนงาน-โครงการที่สำคัญน้อย การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ก.ค./2545
162
o S ร่าง 1 (อันดับความสำคัญที่ 5)
1. รัฐบาลมีความเห็นชอบต่อทิศทางการพัฒนาที่องค์กรเสนอ 2. ความก้าวหน้าทาง IT มีส่วนสนับสนุนประสิทธิภาพการบริหารทางชลประทาน 3. ประมุขให้ความสนใจการพัฒนาแหล่งน้ำและนโยบายรัฐทุกระดับตอบสนองด้วยดี 4. การพัฒนาทางเกษตรมีการขยายพื้นที่และต้องการระบบชลประทานเป็นปัจจัยหลักการเกษตร 5. มีแผนงาน โครงการพัฒนาพื้นที่(25)ลุ่มน้ำที่กรรมการดูแล 6. กระแสสังคม รัฐธรรมนูญและแผนฯชาติเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมแบ่งเบางาน 7. รัฐบาลมีเสถียรภาพมากขึ้นทำให้มีโอกาสพัฒนาโครงการต่อเนื่อง 8. การปฏิรูประบบราชการเป็นโอกาสการปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กร 9. บทบาทกรมฯเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นในปัจจุบันเนื่องจากสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง 10. ประชาชนส่วนใหญ่ตระหนักความสำคัญการพัฒนาระบบชลประทาน 11. สถานการณ์ช่วยให้เกิดการกำกับระบบบริหารด้านการลงทุนพัฒนา 1. บุคลากรมีพื้นฐานทางวิชาการในการประกอบวิชาชีพและมีความชำนาญ 2. การบริหารได้รับการสนับสนุนจากรัฐอย่างต่อเนื่อง 3. มีกลไกสนับสนุนงานในทุกระดับพื้นที่ 4. มีความสามัคคีและมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน 5. มีการบริหารอย่างกระจายอำนาจ 6. องค์กรมีประสพการณ์สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 7. มีกฎหมายรองรับอำนาจหน้าที่ 8. องค์กรมีความพร้อมด้านเครื่องจักรและเครื่องมือ 9. มีบทบาทที่สร้างสายสัมพันธ์กับประชาคมท้องถิ่นด้วยดี o S ร่าง 1 (อันดับความสำคัญที่ 5) กลยุทธ์การขยายพื้นที่ชลประทานเพื่อการแข่งขัน “เร่งรัดพัฒนา แหล่งน้ำ และระบบชลประทาน ทุกระดับอย่างทั่วถึงให้การชลประทานเป็นปัจจัยหลักด้านการเกษตร และอุตสาหกรรม รวมทั้งเป็น พื้นฐานในการพัฒนาความเป็นอยู่ โดยเน้นการพัฒนาทางเทคโนโลยีที่เหมาะสม และเครื่องมือ เครื่องจักร และบุคคลากรผู้มีความชำนาญทุกฝ่ายให้เร่งรัดการพัฒนาแหล่งน้ำทุกขนาด ในทุกลุ่มน้ำ” 5 มกราคม 2545
163
T W ร่าง 4 (อันดับความสำคัญที่ 4)
1. มีการแทรกแซงทางการเมืองและอิทธิพลของท้องถิ่น 2. ขาดการประสานงานระหว่างกรมชลฯและท้องถิ่น ประชาชนไม่ร่วมมือ 3. กฎหมายล้าสมัยไม่สอดรับความต้องการ 4. มีข้อจำกัดด้านงบประมาณมากขึ้น 5. NGOs ต่อต้านการพัฒนาแหล่งน้ำ และสังคมขาดความเข้าใจ 6. นโยบายรัฐไม่สะท้อนความเป็นจริงในพื้นที่ 7. ขาดกฏหมายกำหนดสิทธิการใช้น้ำ 8. มีการแสวงหาผลประโยชน์ของกลุ่มนายทุนและราษฏร 9. การพิจารณาหน่วยงานภาครัฐด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมล่าช้า 10. ปัจจุบันยังมีปัญหาขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน 11. รัฐมีนโยบายปรับกำลังพลที่คู่กระทบการปฏิบัติการโครงการ 12. การพัฒนาพื้นที่ต้นน้ำยุ่งยากต้องขออนุมัติ ครม. 13. ขาดการพิจารณาผลกระทบด้านชลประทานที่มีต่อสุขภาพประชาชน 1. โครงสร้างองค์กรใหญ่และปฏิบัติงานซ้ำซ้อน มีความล่าช้าด้านการเงิน 2. ขาดการประเมินผล และการตรวจสอบภายในที่ชัดเจน ไม่เข้มแข็ง 3. การคัดเลือกและจัดสรรบุคลากรไม่เหมาะสม กระทบขวัญกำลังใจ 4. ขาดการบริหารข้อมูลที่ทันสมัย การประชาสัมพันธ์อ่อน 5. ขาดการสนับสนุนด้าน R&D 6. ขาดการฝึกอบรมบุคลากรอย่างต่อเนื่อง 7. ไม่มีคู่มือในการปฏิบัติงาน 8. กฎระเบียบไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน การบริหารเป็นแบบสั่งการจากส่วนบน 9. มีระบบอุปถัมภ์ ภายในองค์กร บทลงโทษไม่ชัดเจน 10. วัฒนธรรมสถาบันนิยมทำให้ขาดความสามัคคีและเป็นอุปสรรคการประสานงาน T W ร่าง 4 (อันดับความสำคัญที่ 4) กลยุทธ์การปฏิรูประเบียบการบริหารจัดการ “โดยเน้นแก้ไขและยกเลิก กฎหมาย และระเบียบด้านการเงิน พัสดุ และงบประมาณ ที่ไม่เอื้อต่อการเร่งรัดพัฒนาด้านชลประทาน ควบคู่กับการจัดระบบการติดตามประเมินผล ที่โปร่งใสและมีเทคนิคการบริหารข้อมูลที่ทันสมัย สะท้อนความเป็นจริง ทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมของพื้นที่ได้อย่างแท้จริง ทั้งนี้บุคลากร ทุกระดับจะต้องได้รับการฝึกอบรม อย่างต่อเนื่อง ให้สามารถพัฒนากรมชลประทานให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้” 5 มกราคม 2545
164
o W ร่าง 6 (อันดับความสำคัญที่ 6)
1. รัฐบาลมีความเห็นชอบต่อทิศทางการพัฒนาที่องค์กรเสนอ 2. ความก้าวหน้าทาง IT มีส่วนสนับสนุนประสิทธิภาพการบริหารทางชลประทาน 3. ประมุขให้ความสนใจการพัฒนาแหล่งน้ำและนโยบายรัฐทุกระดับตอบสนองด้วยดี 4. การพัฒนาทางเกษตรมีการขยายพื้นที่และต้องการระบบชลประทานเป็นปัจจัยหลักการเกษตร 5. มีแผนงาน โครงการพัฒนาพื้นที่(25)ลุ่มน้ำที่กรรมการดูแล 6. กระแสสังคม รัฐธรรมนูญและแผนฯชาติเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมแบ่งเบางาน 7. รัฐบาลมีเสถียรภาพมากขึ้นทำให้มีโอกาสพัฒนาโครงการต่อเนื่อง 8. การปฏิรูประบบราชการเป็นโอกาสการปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กร 9. บทบาทกรมฯเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นในปัจจุบันเนื่องจากสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง 10. ประชาชนส่วนใหญ่ตระหนักความสำคัญการพัฒนาระบบชลประทาน 11. สถานการณ์ช่วยให้เกิดการกำกับระบบบริหารด้านการลงทุนพัฒนา 1. โครงสร้างองค์กรใหญ่และปฏิบัติงานซ้ำซ้อน มีความล่าช้าด้านการเงิน 2. ขาดการประเมินผล และการตรวจสอบภายในที่ชัดเจน ไม่เข้มแข็ง 3. การคัดเลือกและจัดสรรบุคลากรไม่เหมาะสม กระทบขวัญกำลังใจ 4. ขาดการบริหารข้อมูลที่ทันสมัย การประชาสัมพันธ์อ่อน 5. ขาดการสนับสนุนด้าน R&D 6. ขาดการฝึกอบรมบุคลากรอย่างต่อเนื่อง 7. ไม่มีคู่มือในการปฏิบัติงาน 8. กฎระเบียบไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน การบริหารเป็นแบบสั่งการจากส่วนบน 9. มีระบบอุปถัมภ์ ภายในองค์กร บทลงโทษไม่ชัดเจน 10. วัฒนธรรมสถาบันนิยมทำให้ขาดความสามัคคีและเป็นอุปสรรคการประสานงาน o W ร่าง 6 (อันดับความสำคัญที่ 6) กลยุทธ์การเร่งรัดการจัดการสารสนเทศ “พัฒนาระบบสารสนเทศที่เหมาะสมแก่การพัฒนาการชลประทาน ทุกลุ่มน้ำ เพื่อสนับสนุนระบบการการบริหารจัดการและการประสานงานของกรม ชลประทาน ทุกด้าน ทั้งการวางแผน การติดตามประเมินผล การกำกับการดำเนินงาน การพัฒนากลไก และการฝึกอบรมบุคลากร การศึกษาวิจัย การประสานงานและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์” 5 มกราคม 2545
165
S T ร่าง 8 (อันดับความสำคัญที่ 7)
1. มีการแทรกแซงทางการเมืองและอิทธิพลของท้องถิ่น 2. ขาดการประสานงานระหว่างกรมชลฯและท้องถิ่น ประชาชนไม่ร่วมมือ 3. กฎหมายล้าสมัยไม่สอดรับความต้องการ 4. มีข้อจำกัดด้านงบประมาณมากขึ้น 5. NGOs ต่อต้านการพัฒนาแหล่งน้ำ และสังคมขาดความเข้าใจ 6. นโยบายรัฐไม่สะท้อนความเป็นจริงในพื้นที่ 7. ขาดกฏหมายกำหนดสิทธิการใช้น้ำ 8. มีการแสวงหาผลประโยชน์ของกลุ่มนายทุนและราษฏร 9. การพิจารณาหน่วยงานภาครัฐด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมล่าช้า 10. ปัจจุบันยังมีปัญหาขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน 11. รัฐมีนโยบายปรับกำลังพลที่คู่กระทบการปฏิบัติการโครงการ 12. การพัฒนาพื้นที่ต้นน้ำยุ่งยากต้องขออนุมัติ ครม. 13. ขาดการพิจารณาผลกระทบด้านชลประทานที่มีต่อสุขภาพประชาชน 1. บุคลากรมีพื้นฐานทางวิชาการในการประกอบวิชาชีพและมีความชำนาญ 2. การบริหารได้รับการสนับสนุนจากรัฐอย่างต่อเนื่อง 3. มีกลไกสนับสนุนงานในทุกระดับพื้นที่ 4. มีความสามัคคีและมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน 5. มีการบริหารอย่างกระจายอำนาจ 6. องค์กรมีประสพการณ์สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 7. มีกฎหมายรองรับอำนาจหน้าที่ 8. องค์กรมีความพร้อมด้านเครื่องจักรและเครื่องมือ 9. มีบทบาทที่สร้างสายสัมพันธ์กับประชาคมท้องถิ่นด้วยดี S T ร่าง 8 (อันดับความสำคัญที่ 7) กลยุทธการทำงานร่วมกับประชาชนและเสริมความเข้มแข็งขององค์กรบริหารจัดการน้ำ พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้ำในระดับลุ่มน้ำ เสริมความเข้มแข็งขององค์กรผู้ใช้น้ำและคณะกรรมการลุ่มน้ำ ควบคู่กับการกระจายอำนาจ อย่างมีขั้นตอน เป็นธรรม มีความโปร่งใส ให้มีความรับผิดชอบ สามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งลดอิทธิพลทางการเมือง และการแทรกแซงของกลุ่มผลประโยชน์เฉพาะฝ่าย 5 มกราคม 2545
166
ขยายบทบาทกรม เสริมประสิทธภาพ โครงการฯ กม.สิทธิผู้ใช้น้ำ ปรับโครงสร้าง ขยายที่ชลประทาน ปฏิรูประเบียบ ประสานประชาชน เร่งรัดสารสนเทศ
167
การกำหนด แผนงาน โครงการ
168
ความสัมพันธ์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ
จุดยืนการพัฒนา เกณท์-เพื่อแข่งขัน/อยู่รอด SWOT เป้าประสงค์ กลยุทธ์ เป้าหมาย หลักการ แนวทางการพัฒนา ประสบการณ์ แผน ยุทธ์ แผนงาน-โครงการ/เบื่องต้น ดัชนี รายละเอียด แผนงาน-โครงการ ขั้นปฏิบัติการ แผน ปฏิบัติ แผนกลยุทธ์ อุทิศ/ส.ค./2545
169
ดัชนี ความสัมพันธ์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ วัตถุประสงค์
(ผลลัพธ์) SWOT เป้าประสงค์ กลยุทธ์ หลักการ แนวทางการพัฒนา ประสบการณ์ แผน ยุทธ์ ดัชนี ผลผลิต แผนงาน-โครงการ/เบื่องต้น รายละเอียด แผนงาน-โครงการ ขั้นปฏิบัติการ แผน ปฏิบัติ แผนกลยุทธ์ อุทิศ/ส.ค./2545
170
ความสัมพันธ์ดัชนีของ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ
ดัชนีการบริหาร แบบมุ่งผลสัมฤิทธิ์ วัตถุประสงค์หลัก (ของแผนฯ) -ผลลัพธ์-ผลผลิต- ดัชนี วัตถุประสงค์หลัก (ผลลัพธ์) ประสิทธิภาพ/ผล (ตามแผนกลยุทธ์) (Financial Perspective) วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ฯ สมรรถนะการสนองความต้องการสาธารณะ (External (Customer) Perspective) วัตถุประสงค์ แผนงานฯ ยุ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดี (Internal process Perspective) ดัชนี ผลผลิต สมรรถนะความสามารถแข่งขัน-อยู่รอด (Innovation (Learning & Growth) Perspective) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย โครงการฯ แผนกลยุทธ์ อุทิศ/ก.ค./2545
171
ด้วยหลักสูตรสนองท้องถิ่น เสริมการบริหารจัดการ
ขยายโอกาส การศึกษา เทคโนฯใหม่ ขยายเทคโน เซรามิกส์ ขยายการผลิตบัณฑิต ด้วยหลักสูตรสนองท้องถิ่น & ตลาดแรงงาน WO/30.00% Obj / Gov. 4 SO/37.50% Obj. 1 / Gov. 1, 6 พัฒนาขีดความ สามารถด้านวิจัย SO / 55.52% Obj. 3 / Gov. 2 พัฒนาความสามารถ ออกแบบผลิตภัณฑ์ SO/30.77% Obj / Gov. 4 ยุทธศาสตร์ปรับปรุง กระบวนและเครือข่าย การผลิตบัณฑิต WO/35.72% ST / 42.11% Obj. 2 / Gov. 4 Obj. 1, 5 / Gov. 2 เสริมการบริหารจัดการ ด้วยเทคโนโลยี เร่งสร้างอาคาร ทันสมัย WO / 54.55% WO/35.72% Obj. 5 / Gov. 3 ปรับรื้อระบบ ลดต้นทุน เพิ่มมูลค่า Obj. 5 / Gov. 5 WT/37.50% Obj. 5 / Gov. 2 ขวัญกำลังใจ สวัสดิการ Strategic’s road map. Obj. 4 / Gov. 5,3
172
8 แนวทาง ที่เกี่ยวข้อง ประสบการณ์
วัตถุประสงค์หลัก การพัฒนาคุณภาพการบริการวิชาการด้านเทคโนโลยี อุตสาหกรรมให้สอดคล้องและสนับสนุนศักยภาพของ ท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ การขยายการเรียนรู้เทคโนโลยีเซรามิกส์... การเรียนรู้ พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) จิตพิสัย (Affective Domain) ทักษะพิสัย (Phycromotor Domain) วิชาความรู้ด้านทฤษฎีการผลิต วิชาด้านกระบวนการผลิต วิชาเลือกด้านมาตรการผลิต วิชาเลือกกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค การฝึก Studio ด้านการออกแบบ การฝึกปฏิบัติการด้านการผลิต 8 แนวทาง ที่เกี่ยวข้อง ความรู้ด้านการตลาด วิชาเลือกศาสนาสากล ประสบการณ์
173
ยุทธศาสตร์ Mind Mapping วัตถุประสงค์หลัก โครงการ โครงการ โครงการ
แผนงาน แผนงาน Mind Mapping โครงการ วัตถุประสงค์หลัก แผนงาน ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ โครงการ แผนงาน โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ แผนกลยุทธ์ อุทิศ/ม.ค./2547
174
ผังความสัมพันธ์ของพันธกิจ
การบริหาร จัดการที่ดี การป้อง-ปราม ทุจริตฯ 1-3 100% > 60% % พื้นที่ศักยภาพ คน-สังคมฯ วิทย์-เทคโน การพัฒนา ความร่วมมือฯ 57% 43% > 60% 20% 20% > 57% 11% 29% 50% 50% ชุมชนชนบท-เมือง ทรัพยากรฯ เศรษฐกิจมหภาคฯ สมรรถนะ > 25% 12% 63% > 20% 20% 60% > 43% 29% 29% 33% 66% การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ต.ค./2543
175
ทรัพยากรธรรมชาติ +สิ่งแวดล้อม
ขยายกิจกรรมแบบเกษตรยั่งยืน ชนบท+เมือง อนุรักษ์ฟื้นฟู บูรณะทรัพยากรธรรมชาติ สร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตภาพแวดล้อม พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง ควบคุมมลพิษ/รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ +สิ่งแวดล้อม พัฒนาความเชื่อมโยงเศรษฐกิจชนบทและเมือง สร้างความมั่นคงยั่งยืนทางรายได้ในภาคเกษตร พัฒนาสภาพแวดล้อมเมือง/ชุมชน ให้น่าอยู่ พัฒนาพื้นที่มีศักยภาพรองรับเศรษฐกิจยุคใหม่ พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของคนจน พัฒนาประสิทธิภาพตลาดสินเชื่อในชุมชน พัฒนาความพร้อมเมืองชุมชนรองรับเศรษฐกิจใหม่ ปฏิรูปสื่อ ปรับปรุงองค์กรและกฎหมาย พัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้เข้มแข้ง สร้างภูมิคุ้มกันระบบเศรษฐกิจระดับต่างๆ สร้างความต่อเนื่องนโยบายแก้ความยากจน ยกระดับทักษะฝีมือให้ได้มาตรฐาน พัฒนากระบวนการชุมชน/เครือข่ายประชาชน ปรับการบริหารจัดการพัฒนาเมืองและชุมชน ปรับปรุงการศึกษาเพื่อสร้าง พื้นฐานด้านวิทย์/เทคฯ ปรับระบบการศึกษาผลิตคนด้านวิทยาศาสตร์ ปรับการพัฒนาชนบท/เมืองอย่างบูรณาการ/AFP ปรับระบบบริหารภาครัฐและกฎระเบียบให้เอื้อต่อคนจน ว&ท ปรับกลไกการบริหารจัดการพื้นที่ ปฏิรูปการศึกษา / การเรียนรู้ตลอดชีวิต ปรับกระบวนทรรศน์การบริหารงานวิจัย/และจัดการ สร้างกลไก/เครือข่ายประชาชนทำงานกับรัฐ ส่งเสริมบทบาทบ้าน วัด โรงเรียน ชุมชน ปรับปรุงรูปแบบและแนวทางคุ้มครองคนยากจน พัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการบริการที่ดี เพิ่มขีดความสามารถเครือข่ายและชุมชน คน สังคม ปรับกระบวนทัศน์และวิธีปฏิบัติงาน สร้างหลักประกันแก่แรงงานนอกระบบ ส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้เข้มแข็ง เตรียมความพร้อมส่วนท้องถิ่นด้านบริการสังคม ปรับบทบาท/วิธีการบริหารงานภาครัฐ กระจายอำนาจการคลังและถ่ายโอนสู่ท้องถิ่น ปรับระบบบริหารจัดการหลักประกันทางสังคม เตรียมความพร้อมความเข้มแข็งท้องถิ่นชุมชน ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเพิ่มบทลงโทษ ปรับปรุงกฎหมาย/ระเบียบ จัดการเศรษฐกิจส่วนรวมเชื่อม เศรษฐกิจภายใน/ภายนอก ปฏิรูประบบสุขภาพ ปรับปรุงกลไกการบริการงบประมาณ สนับสนุนเครือข่ายองค์กรผู้บริหาร พัฒนาระบบข้อมูล ปรับระบบบริหารจัดการด้านความปลอดภัย ให้ท้องถิ่นมีรายได้พอเพียงพึ่งตนเองได้ สร้างมาตรการจูงใจภาคธุรกิจ/ประชาสังคม เศรษฐกิจ มหภาค พัฒนาระบบถ่ายโอนและบริหารงานบุคล สร้างจิตสำนึกใหม่ในการบริหารจัดการที่ดี ป้องปรามการทุจริต พัฒนากลไกกำกับ ติดตาม ประเมินผล พัฒนามาตรฐานภาคการผลิต บริหารจัดการ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ม.ค./2544 พัฒนากลไกตรวจสอบในทุกภาคส่วน ป้องกันการเคลื่อนย้ายเงินทุน แก้ไขข้อขัดแย้ง/ป้องกันการขัดแย้งในสังคม
176
ทรัพยากรธรรมชาติ +สิ่งแวดล้อม ขีดความสามารถ
ขยายกิจกรรมแบบเกษตรยั่งยืน เสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร รักษาที่ดินเพื่อเกษตรโดยมีกองทุนให้เกษตรกรกู้ ทรัพยากรธรรมชาติ +สิ่งแวดล้อม สร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตภาพแวดล้อม ขีดความสามารถ ดำเนินตามแผนยุทธศาสตร์เพิ่มผลผลิต กำหนดแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินตามสมรรถนะ นำทรัพยากรแร่มาใช้ประโยชน์เพื่อเพิ่มมูลค่า สร้างสมดุลระหว่างการผลิต/การอนุรักษ์ทรัพยากร พัฒนากลไกความร่วมมือรัฐและเอกชน พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง ใช้มาตรการภาษีกระจายสิทธิถือครองที่ดินเกษตรกรรม ชนบท +เมือง จัดหาเครื่องมือให้ท้องถิ่นดูแลทรัพยากรในท้องถิ่น อนุรักษ์ฟื้นฟู บูรณะทรัพยากรธรรมชาติ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพิ่มขีดความสามารถ ประสิทธิภาพการตลาด การกระจายผลผลิตสู่ตลาดใหม่ พัฒนากลไก/กระบวนการให้ทุกภาคมีส่วนร่วม การจัดหาแหล่งน้ำโดยกระบวนการมีส่วนร่วมตั้งเริ่มต้น พัฒนาระบบขนส่งเชื่อมโยงระหว่างกัน อนุรักษ์ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมและศิลปวัฒนธรรม พัฒนา/กลไก เพื่อให้รัฐได้รับประโยชน์จากทรัพยากร ชุมชน ท้องถิ่น ร่วมดูแลการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ พัฒนาเศรษฐกิจระยะเร่งด่วน ควบคุมมลพิษ/รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พัฒนาการท่องเที่ยวและกระจายรายได้สู่ชุมชน สร้างกลไกรักษาสมดุลการพัฒนา/การอนุรักษ์ สร้างจิตสำนึกและสิ่งแวดล้อมโดยบรรจุหลักสูตรการศึกษา พัฒนาด้านท่องเที่ยวกับอาเซียนและอินโดจีน พัฒนาสภาพแวดล้อมเมือง/ชุมชน ให้น่าอยู่ สนับสนุนความร่วมมือภายในและภายนอกประเทศ พัฒนาตลาดทุน พัฒนาเมืองชายแดนให้น่าอยู่/เป็นประตูเศรษฐกิจ ปฏิรูปสื่อ ปรับปรุงองค์กรและกฎหมาย เพิ่มศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้องกับการผลิต คน สังคม พัฒนากำลังคน นักวิจัย ด้านวิทย์/เทคฯ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้องกับภาคการผลิต สร้างภูมิคุ้มกันภาคการเงิน ว&ท ให้เป็นเครือมือกระจายความเจริญ/ความเป็นธรรม พัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษด้านวิทย์/เทคฯ เศรษฐกิจมหภาค กำกับดูแลสถาบันการเงิน ปรับระบบการศึกษา ผลิตคนด้านวิทยาศาสตร์ ปรับปรุงการศึกษาเพื่อสร้างพื้นฐานด้านวิทย์/เทคฯ เชื่อมวิทยาศาสตร์เข้ากับการปรับโครงสร้างการผลิต ปฏิรูประบบงบประมาณและการบริหารรายจ่าย ร่วมมือเพื่อการพัฒนากับนานาชาติ/กลุ่มความร่วมมือ ปรับกระบวนทรรศน์การบริหารงานวิจัย/และจัดการ พัฒนาระบบบริหารจัดการ ปรับกระบวนทัศน์และวิธีปฏิบัติงาน นโยบายการลงทุนระหว่างประเทศ จัดการด้านรายได้และนโยบายภาษี สนับสนุนการจัดทำแผนงานระดับชาติ/บุคลากรวิทย์ฯ พัฒนาธุรกิจที่มีศักยภาพ การค้าระหว่างประเทศ การบริหารหนี้สาธารณะ บริหารจัดการ สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ป้องกันการเคลื่อนย้ายเงินทุน ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม กระจายอำนาจการคลังและถ่ายโอนสู่ท้องถิ่น ปรับบทบาท/วิธีการบริหารงานภาครัฐ การเงินระหว่างประเทศภายใต้ระบบเสรีทางการเงิน แผนยุทธ์ อุทิศ/มี.ค./2544 ป้องปรามการทุจริต สร้างมาตรการจูงใจภาคธุรกิจ/ประชาสังคม จัดการเศรษฐกิจส่วนรวมเชื่อมเศรษฐกิจภายใน/ภายนอก
177
การแปลงกลยุทธเป็นโครงการ
1 กำหนดร่างแนวทางและขั้นตอนการดำเนินงาน , กำหนด แนวคิด-แนวทางที่เกี่ยวข้อง 2 จำแนกกลุ่มแนวทาง แผนงาน โครงการ กิจกรรม จัดกลุ่ม แนวคิด-แนวทางที่เกี่ยวข้อง 3จัดลำดับแผนงาน-โครงการ-กิจกรรม (1.1.1)------ (1.1.2)------ (1.2.1)….. (1.2.2)….. 3จัดลำดับแผนงาน-โครงการ-กิจกรรม (1.3.1)------ (1.3.2)------ (1.4.1)….. (1.4.2)….. แผนงาน จัดลำดับ โครงการ แนวคิด-แนวทางที่เกี่ยวข้อง โครงการเพิ่มเติม แผนกลยุทธ์ อุทิศ/ส.ค./2545
178
การแปลงกลยุทธเป็นโครงการ Review-ตรวจสอบโครงการที่กำหนด
ลำดับแผนงาน-โครงการ-กิจกรรม (1.1.1)------ (1.1.2)------ (1.2.1)….. (1.2.2)….. ลำดับแผนงาน-โครงการ-กิจกรรม (1.3.1)------ (1.3.2)------ (1.4.1)….. (1.4.2)….. แผนงาน จัดลำดับ โครงการ แนวคิด-แนวทางที่เกี่ยวข้อง โครงการเพิ่มเติม Review-ตรวจสอบโครงการที่กำหนด 1.โครงการรองรับกลยุทธ์และประสานกับโครงการอื่นในแผนงานสู่เป้าประสงค์ ของแผนได้อย่างสัมฤทธิ์ผล ดัชนีทุกระดับครบและสอดรับกัน หรือไม่ 2.โครงการมีเป้าหมายหลัก-รองชัดเจนไม่หลากหลายจนสับสน(เป็นแผนงาน) ไม่เล็กจำเพาะ(เป็นกิจกรรม) 3.โครงการมีขอบข่ายงานที่เหมาะสมกับสมรรถนะของกลไกที่รับผิดชอบ 4.ข้อเสนอโดยรวมควรผ่านการอนุมัติหรือไม่ แผนกลยุทธ์ อุทิศ/พ.ค./2546
179
ดัชนีเพื่อการประเมิน ดัชนีเพื่อการประเมิน
ความสัมพันธ์ยุทธศาสตร์และแผนงาน-โครงการ จากการเทียบดัชนีย์ระดับและมิติต่างๆ วัตถุประสงค์ ดัชนีเพื่อการประเมิน ผลลัพธ์ ดัชนีเพื่อการประเมิน ผลผลิต แผนงาน/โครงการ หมายเหตุ ยุทธศาสตร์ Impact/Effects Output ด้านความคุ้มค่างบ-แผนฯ แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ วัตถุประสงค์1 Impact Effect Output; Output; Output BM; BM; BM; BM; BM; ยุทธศาสตร์1 Output; Output; Output ยุทธศาสตร์2 BM; BM; BM; BM; BM; Output; Output; Output (มิติประสิทธิผลตามพันธกิจ) BM; BM; BM; BM; BM; วัตถุประสงค์2 ด้านจัดการภายใน Output; Output; Output แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ ยุทธศาสตร์3 ผลลัพธ์ที่ต้องการ Impact Effect ผลผลิตที่ต้องทำ BM; BM; BM; BM; BM; ยุทธศาสตร์4 Output; Output; Output ยุทธศาสตร์5 BM; BM; BM; BM; BM; Output; Output; Output (มิติประสิทธิภาพ-ราชการ) BM; BM; BM; BM; BM; การกำหนดแผนงาน / โครงการ ต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ของดัชนีย์ ระดับต่างๆ วัตถุประสงค์3 ด้านสนองสาธารณะ Output; Output; Output แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ ยุทธศาสตร์6 BM; BM; BM; BM; BM; Impact Effect Impact Effect ยุทธศาสตร์7 Output; Output; Output วัตถุประสงค์4 BM; BM; BM; BM; BM; ยุทธศาสตร์8 Output; Output; Output BM; BM; BM; BM; BM; ยุทธศาสตร์9 (มิติคุณภาพการให้บริการ) ด้านพัฒนา-แข่งขันฯ วัตถุประสงค์5 Output; Output; Output แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ Impact Effect BM; BM; BM; BM; BM; ยุทธศาสตร์10 Output; Output; Output ยุทธศาสตร์11 BM; BM; BM; BM; BM; ยุทธศาสตร์12 Output; Output; Output (มิติด้านพัฒนาองค์กร) BM; BM; BM; BM; BM; การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธค./2546
180
ดัชนีผลลัพธ์-ผลผลิต%%
ผังความสัมพันธ์ ยุทธ์ศาสตร์-แผนงาน-โครงการ และมิติตาม BSC ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่1 ยุทธศาสตร์ที่2 ยุทธศาสตร์ที่3 ยุทธศาสตร์ที่4 ยุทธศาสตร์ที่5 ยุทธศาสตร์ที่6 ยุทธศาสตร์ที่7 ยุทธศาสตร์ที่8 มิติ/มุมมอง สนองความต้องการสังคม -สู่วิสัยทัศน์ -ตามพันะกิจ วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์โครงการ ดัชนีผลลัพธ์-ผลผลิต ประสิทธิผล-ภาพ คุ้มค่า งบฯ ตอบแทนสูง วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์โครงการ ดัชนีผลลัพธ์-ผลผลิต วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์โครงการ ดัชนีผลลัพธ์-ผลผลิต มิติ-มุมมอง ด้าน Balanced Scorecard บริหาร-จัดการดี -โปร่งใส -สวัสดิการ วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์โครงการ ดัชนีผลลัพธ์-ผลผลิต%% วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์โครงการ ดัชนีผลลัพธ์-ผลผลิต สมรรณนะการแข่งขัน นวตกรรม ขยายบริการ วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์โครงการ ดัชนีผลลัพธ์-ผลผลิต วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์โครงการ ดัชนีผลลัพธ์-ผลผลิต วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์โครงการ ดัชนีผลลัพธ์-ผลผลิต วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์โครงการ ดัชนีผลลัพธ์-ผลผลิต วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์โครงการ ดัชนีผลลัพธ์-ผลผลิต มิติภายในอื่นๆ มิติภายนอก-ภายในอื่นๆ วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์โครงการ ดัชนีผลลัพธ์-ผลผลิต มิติภายนอกอื่นๆ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2546
181
ลำดับความสำคัญของกลยุทธ์
S O บุคลากรมีความรู้และประสบการณ์ด้านมาตรที่ยอบรับในสากล 4 มีทุนสนับสนุนด้านการศึกษาและอบรมในต่างประเทศ 4 เครื่องมือส่วนใหญ่มีมาตรฐานกว่าห้องปฏิบัติการอื่น 3 สถาบันให้บริการและใช้ระบบมาตรตามมาตรฐานสากล 2 หน่วยงานต่างประเทศให้ความร่วมมือและสนับสนุนการเพิ่มขีด ความสามารถ 4 รัฐบาลให้ความสำคัญและเสริมการพัฒนาตามแผนฯ9 3 เอกชนและผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมต้องกรบริการระบบมาตร 3 องค์กรการค้าระหว่างประเทศผลักดันให้รัฐบาลสนับสนุนการพัฒนา ระบบ 3 โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศมีส่วนสำคัญการเสริมสมรรถนะ 3 มีข้อกำหนด MRA ที่เป็นข้อผูกพันให้รัฐบาลเร่งพัฒนาระบบมาตร 3 ยุทธ์ศาสตร์เร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถ ; ใช้ทุนและการสนับสนุน จากรัฐบาลและเอกชนตลอดจนเครือข่ายองค์กรต่างประเทศเพื่อเร่ง เสริมสมรรถนะทั้งด้านบุคลากรและการปรับมาตรฐานการบริการให้ เกิดศูนย์กลางเทคโนโลยีการวัดระดับสากลและแหล่งข้อมูลทางมาตร วิทยาของภูมิภาค ในอันที่จะเสริมสมรรถนะการแข่งขันด้านการค้า และบริการให้ทันความต้องการของประเทศภายใน 5 ปีข้างหน้า 4 = 3, 3 = 6, 2 = 1, 0 = 0 ; n=10 ลำดับความสำคัญของกลยุทธ์ 4 = 30%,3 = 60%,2 = 1%,0 = 0%,
182
ยุทธ์ศาสตร์เร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถ
แผนงาน/โครงการ ภายใต้ ยุทธ์ศาสตร์เร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถ แผนงานพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการกับหน่วย มาตรวิทยาต่างประเทศ โครงการพัฒนางานวิจัยร่วม โครงการเปรียบเทียบผลการวัด โครงการแลกเปลี่ยนนักมาตรวิทยา โครงการให้ความช่วยเหลือประเทศเพื่อนบ้าน แผนงานพัฒนาบุคลากร โครงการจัดหาผู้เชี่ยวชาญเพื่ออบรมในประเทศ โครงการอบรมในต่างประเทศ แผนงานพัฒนามาตรฐานการวัด โครงการจัดหาเครื่องมือมาตรฐานวัสดุอ้างอิง โครงการจัดหามาตรฐานระดับปฐมภูมิ โครงการพัฒนามาตรฐานด้านนาโนเทคโนโลยี แผนงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านมาตรวิทยา โครงการสำรวจผลกระทบมาตรวิทยาต่ออุตสาหกรรม และการส่งออก โครงการสำรวจบริการระบบและความต้องการสอบ เทียบในประเทศ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านมาตรวิทยา แผนงานเข้าร่วมกิจกรรมมาตรวิทยาระหว่างประเทศ โครงการติดตามประเมิณระดับความสามารถบริการ ระดับภูมิภาค โครงการสัมนาเชิงวิชาการระดับภูมิภาคและนานาชาติ โครงการนำเสนอผลงานวิจัยในเวทีมาตรวิทยานานาชาติ แผนงานพัฒนางานวิจัย เครื่องมือและเทคนิคการวัด โครงการพัฒนาและสร้างเครื่องมือวัด โครงการพัฒนาเทคนิกวิธีการวัด
183
การบริการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตัวอย่างจาก; ประสบการณ์จากการวางแผนยุทธ์-ปฏิบัติการ ด้านการศึกษาพื้นฐาน ; กระทรวงศึกษา แผนงานฯทั่วถึง ยุทธฯรุก-เงื่อนไข งานขยาย-ภาคบังคับ โครงการจัดการศึกษาภาคบังคับ9ปี(วัยเรียน) งานขยายการศึกษามัธยมปลาย โครงการขยายการศึกษามัธยมปลาย(วัยเรียน) งานขยายศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อ ผู้พิการ ผู้ด้อยฯ สามารถพิเศษ (ภิกษุ/สามเณร) โครงการ9-12ปีเพื่อผู้พิการ เพื่อผู้ด้อยโอกาส เพื่อผู้มีความสามารถพิเศษ งานขยายการศึกษากลุ่มนอกระบบ โครงการขยายการศึกษาฯเพื่อกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ (งานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อภิกษุ-สามเณร) การบริการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พันธกิจ1 แผนงานฯคุณภาพ งานพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ โครงการส่งเสริมและพัฒนา กระบวนการเรียนการสอน งานพัฒนาเด็กปฐมวัย โครงการบริการเตรียมความพร้อม(0-5) โครงการส่งเสริม(0-5) โครงการพัฒนาบุคลากรฯ โครงการเตรียมความพร้อม องค์กรปกครองท้องถิ่น โครงการส่งเสริมพัฒนาเครื่อข่าย โครงการกำหนด-พัฒนามาตรฐาน/ปฐมวัย โครงการให้ความรู้-การเลี้ยงดูปฐมวัย แผนงานฯวิจัย-พัฒนา ยุทธฯวิจัย-พัฒฯ โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลฯ โครงการวิจัย-พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาฯที่หลากหลาย ผังสรุปแผนงาน-โครงการภายใต้พันธกิจการบริการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เม.ษ./2543
184
ตารางแผนงานพัฒนา เวลา และงบฯ
ตัวอย่าง ภาคเอกชน ตารางแผนงานพัฒนา เวลา และงบฯ พันธกิจการพัฒนา คน สังคม สิ่งแวดล้อม สำนักงาน 2543 2544 ‘45+ บาท/B(,000) ยุทธฯ(รุก)การเสริมสมรรถนะ เพื่อการแข่งขัน การพัฒนาระบบประกัน คุณภาพการบริการ การฝึกอบรมด้านความรู้ การปฏิบัตงาน การพัฒนาระบบเสริม ความพร้อม 3 x 12= 30 5 x 12= 60 1,090 ยุทธฯ(รับ)การปรับโครงสร้าง การบริหารและการประสานงาน 5 การปรับโครงสร้างการ บริหารสั่งการ การพัฒนาระบบการทำ งานแบบTeam work การพัฒนาระบบข้อมูล สื่อสาร/ประชาสัมพันธ์ การพัฒนาระบบการ ติดตามประเมินผล 50 x 1 50 50 ยุทธฯ(รุกเชิงเงื่อนไข)การปรับ ภาวะแวดล้อมสวัสดิการงาน การจัดระบบงาน แรงงานสัมพันธ์ 100 Total 1,435 การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พ.ค./2543
185
การทำแผนงาน/โครงการเบื่องต้น จะระบุว่า
* ใคร (ผู้รับผิดชอบ) * จะทำอะไร (กิจกรรม) * เมื่อใด (กำหนดเวลา) * ให้ได้ผลอย่างไร (เป้าหมาย) * มีค่าใช้จ่ายเท่าใด (งบประมาณ) ฯลฯ ใคร ? การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ส.ค./2543
186
แผนงานปรับปรุงระบบบริหารและการประสานงาน ; โครงการ ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
หลักสูตร “ การพัฒนาผู้นำองค์กรชุมชนเพื่อการบริหารธุรกิจชุมชน “ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างผู้นำในการบริหารองค์กรชุมชนเน้นการบริหารงานอย่างโปร่งใส 2. พัฒนาศักยภาพสภาวะผู้นำชุมชนที่มีอยู่ 3. เพื่อพัฒนากลุ่มผู้นำชุมชนให้สามารถดำเนินการบริหารองค์กรชุมชนได้ ผู้รับผิดชอบ สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมในครอบครัวและหัตถกรรม กิจกรรม 1. จัดฝึกอบรมความรู้เพื่อพัฒนาสภาวะการเป็นผู้นำ 2. ฝึกปฏิบัติสู่สภาวะการเป็นผู้นำชุมชน กำหนดเวลา ระยะ 5 วัน ค่าใช้จ่าย งบประมาณค่าใช้จ่าย 50,000 บาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ สามารถสร้างผู้นำชุมชน 20 หมู่บ้านเป้าหมาย 2. ผู้นำชุมชนสามารถที่จะนำความรู้กลับไปบริหารองค์กรชุมชน
187
หลักการบริหารโครงการ; การนำเสนอโครงการ
สาระสำคัญของโครงการ ชื่อโครงการ ผู้รับผิดชอบ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย(ดัชนี) ระยะเวลาดำเนินการ สถานที่ตั้ง ขอบเขตและวิธีการ เทคโนโลยีที่ใช้ ปัจจัย-การลงทุนที่มี ประมาณการค่าใช้จ่ายและแหล่งที่มา ผลประโยชน์ที่เกิดจากโครงการ การเทียบผลลัพธ์และค่าใช้จ่าย ฐานะการเงินขององค์กร(หากจำเป็น) รายละเอียดอื่นๆ (แบบพิมพ์เขียว ฯลฯ) การบริหารโครงการ อุทิศ/สิงหาคม/2542
188
แผนงานเสริมสมรรถนะการพัฒนาตนเองของชุมชน
1. โครงการ ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งแวดล้อมของชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว 2. วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมให้ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม เพื่อ รองรับโครงการหมู่บ้านอุตสาหกรรมชนบทเพื่อการท่องเที่ยว 2. ส่งเสริมให้เยาวชนในท้องถิ่นได้รู้จัก การรักษาสภาวะแวดล้อมของหมู่บ้าน 3. ส่งเสริมให้ชุมชนรู้จักนำทรัพยากรในพื้นที่มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์และ สร้างรายได้ให้กับชุมชน เป็นการเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวอีกทางหนึ่ง “ความชัดเจนของการกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ จะช่วยการกำหนด ดัชนี (Out-puts) ในขั้นตอนการกำหนดดัชนีเพื่อการประเมินผลได้”
189
สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมในครอบครัวและหัตถกรรม 5. กิจกรรม
3. เป้าหมาย เพื่อให้ราษฎรในชุมชนรู้จักรักและห่วงแหนทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น รวมทั้งการส่งเสริมให้เยาวชนในท้องถิ่นมีความเข้าใจและเห็นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมของชุมชน รวมทั้งอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีอยู่ และพัฒนาให้เกิดผลมากขึ้นทั้งในด้านการรักษา และนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4. ผู้รับผิดชอบโครงการ สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมในครอบครัวและหัตถกรรม 5. กิจกรรม จัดฝึกอบรม/สัมมนาเชิงปฏิบัติ เรื่อง “ การพัฒนาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว “ ฯลฯ “ความชัดเจนของการกำหนดกิจกรรมและขั้นตอนการดำเนินงาน จะช่วยกำหนด ดัชนีการติดตามความก้าวหน้า ได้ภายหลัง”
190
6. ขั้นตอนการดำเนินการ ขั้นตอนที่ 1 สำรวจสภาวะแวดล้อมและความต้องการของชุมชนก่อนการพัฒนา ขั้นตอนที่ 2 ร่วมปรึกษาหารือกับองค์กรในท้องถิ่น ผู้นำชุมชน และราษฎรในชุมชนเพื่อหาข้อสรุปในการดำเนินการพัฒนา ขั้นตอนที่ 3 จัดฝึกอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ การพัฒนาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว “ ขั้นตอนที่ 4 การติดตามผลการดำเนินงาน 7. กลุ่มเป้าหมาย ราษฎรในหมู่บ้านเป้าหมาย โครงการหมู่บ้านอุตสาหกรรมชนบทเพื่อการท่องเที่ยว 20 หมู่บ้าน 19 จังหวัด
191
8. ระยะเวลาดำเนินการ ภาคเหนือ เดือน ม.ค. - ก.พ สถานที่ดำเนินการ จ.เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ พะเยา ภาคกลาง เดือน มี.ค. - เม.ย สถานที่ดำเนินการ อ่างทอง สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ภาคใต้ เดือน พ.ค. - ก.ค สถานที่ดำเนินการ สุราษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา กระบี่ พังงา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เดือน ก.ค. - ส.ค. 2546 การติดตามผลการดำเนินงาน หลังจากเสร็จสิ้นการฝึกอบรมฯ 3 เดือน
192
9. งบประมาณ หมู่บ้านละ 35,700 บาท 23 หมู่บ้านเงินทั้งสิ้น 821,100 บาท
9. งบประมาณ หมู่บ้านละ 35,700 บาท 23 หมู่บ้านเงินทั้งสิ้น 821,100 บาท 10. ผลที่คาดว่าจะไดั 1. หมู่บ้านเป้าหมายโครงการฯ มีการพัฒนาตนเองด้านสิ่งแวดล้อมได้เป็นอย่างดีและมีศักยภาพพร้อมที่จะต้อนรับนักท่องเที่ยวได้จำนวน 20 หมู่บ้าน 2. เยาวชนในท้องถิ่นมีความเข้าใจในเรื่องสภาวะแวดล้อมและการอนุรักษ์เพิ่มขึ้น 3. ราษฏรมีความรู้ในการนำทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยไม่ ทำให้มีผลกระทบต่อชุมชน และสิ่งแวดล้อม “ความชัดเจนของผลคาดหวัง จะช่วยการกำหนดดัชนีผลกระทบ (Out-comes)ได้ภายหลัง”
193
การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/กุมภาพันธ์/2543
ประสบการณ์จากการกำหนดแผนงาน/โครงการ การวางแผนฯการศึกษาขั้นพื้นฐาน 25 ก.พ. 2543 ข้อสังเกตการกำหนดแนวคิดแผนงาน/โครงการ ความชัดเจนของหลักการ-เหตุผล ระบุให้เห็นสัมพันธ์ของโครงการกับเป้าประสงค์-ยุทธ์ (พันธกิจ/กลยุทธ รุก-รับ ครบหรือไม่/หลักการ-แนวคิดสอดคล้องกับเป้าประสงค์?) ความชัดเจนของวัตถุประสงค์ เจตนาหลัก (แก้ไข ปัญหา-เสริมโอกาส ที่จำเป็น/ต้นเหตุ/มีอันดับความสำคัญ) ความชัดเจนของกลุ่มเป้าหมาย ขนาดกลุ่มเป้าหมาย หรือประมาณการเป้าหมาย(ต่อปี/พื้นที่) องค์ประกอบแนวทางดำเนินการ/กิจกรรม/ของโครงการชัดหรือไม่ ( Pilot project;อาคาร/อุปกรณ์;กองทุน;R&D;Key-Book/Trainning;Maintenance;Amenities;Evaluation) ความสัมพันธ์กับโครงการอื่น Timming/Phasing/Sharing(ซ้ำซ้อนกับหน่วยงานใดอย่างไร) งบประมาณ ที่ ประมาณอย่างสมเหตุสมผล ยุติธรรม? เกินสมรรถนะองค์กร/ทำทันหรือไม่? หน่วยงานผู้รับผิดชอบ หน่วยงานหลัก/หน่วยงานเสริม ผลประโยชน์/ผลกระทบควรระบุประโยชน์/ผลกระทบที่เป็นรูปธรรมและเกี่ยวกันโดยตรง การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/กุมภาพันธ์/2543
194
การทำงานกลุ่มย่อย; แปลงกลยุทธ์เป็นแผนงาน-โครงการ
แปลงสาระจากกลยุทธ์เป็นแนวทางดำเนินการที่เกี่ยวข้อง (โดยใช้ประสบการณ์ และแนวคิดทางวิชาการ และประเด็นชี้นำการบริหารสู่ผลสัมฤทธิ์ของงรัฐ) จัดกลุ่มแนวทางดำเนินการที่เห็นว่าจะต้องรวมกันสร้างผลงาน ผลผลิต และหรือบริการ จากการจำแนกกลุ่ม กำหนดให้แต่ละกลุ่มเป็นแผนงาน และการดำเนินงานแต่ละด้านเป็น โครงการ ยกร่าง Project ideas และตรวจสอบความเหมาะสมของโครงการ; ; ผลผลิตสัมพันธ์กับผลลัพธ์; ขอบข่ายชัด; บริหารได้ ตรวจสอบ ความสัมพันธ์กับ นโยบานการบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธ์ และ แนวคิดตามหลัก Balanced scorcard. ฯลฯ นำเสนอกลุ่มรวม
195
ตารางเปรียบเทียบ แผนกลยุทธ์ โรงพยาบาลสระบุรี และกระทรวงยุติธรรม
มิติรัฐ/ดัชนี กระทรวงยุติธรรม วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก (ของแผนฯ) วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ แผนงาน-โครงการ กิจกรรม กลยุทธ์ วัตถุประสงค์(ของกลยุทธ์) กิจกรรม กลไกและผู้รับผิดชอบ กลไกและผู้รับผิดชอบ = ดัชนีผลลัพธ์ Outcome = ข้อคำนึงมิติตาม Balanced scorecard (แสดงระดับการคำนึงถึงมิติ Bscored ) = ดัชนีผลผลิต Output
196
การติดตามประเมินผล “หากประเมิน ไม่ได้ ก็ไม่ได้พัฒนาต่อ อย่างถูกต้อง
หากพัฒนาแล้วไม่ได้ประเมินก็ตัดสินไม่ได้ว่าพัฒนาแล้ว”
197
เป็นกระบวนการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ การดำเนินการพัฒนา
การติดตามประเมินผล เป็นกระบวนการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ การดำเนินการพัฒนา ปัจจัยต้นทุน(Inputs)ของโครงการ (ปริมาณ-คุณภาพของทรัพยากร และความโน้มเอียงการลงทุน) ปัจจัยระหว่างการดำเนินโครงการขั้นต่างๆ(Process /Activities) (ความก้าวหน้า-มาตรฐานการเปลี่ยนแปลง-มูลค่าเพิ่ม) ปัจจัยผลลัพธ์(Out puts/Outcomes) (ปริมาณ-คุณภาพ ผลสำเร็จและผลกระทบ การจำแนกระดับการพัฒนาของระบบ) การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มค./2544
198
การติดตามและประเมินผล
แผนงาน Best Practices 1.ระบบการติดตาม ช่วงเวลา/ผลผลิต Milestone/Benchmarking Upgraded Performance โครงการ Data Variable Indicators Source & 2.ระบบประเมินผล วัตถุประสงค์ หลัก เกณฑ์-ผลลัพธ์ (Achievement) 3.กำหนดการ Who/How Report Timing การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มี.ค./2544
199
ดัชนีย์-ตัวชี้วัด (Indicators) ของการติดตามประเมินผล
“ตัวชี้วัดเป็นคุณค่าที่แสดงปริมาณและหรือคุณภาพ ที่ชี้วัด-อธิบาย- แสดงลักษณะทั่วไปของ ระบบ-สมรรถนะ -สภาวะ ที่บังเกิดขึ้น(ชั่ว คราว)ทำให้เห็นถึงความจริง(อย่างกว้างๆ มาก-น้อยระดับหนึ่ง)ของ องค์กรและการดำเนินการและผลการดำเนินการที่เรากำลังติดตาม ประเมินผล” “ตั้วชี้วัดที่มีประสิทธิภาพจากการติดตามประเมินผลจะสามารถนำไป ช่วยการกำหนดนโยบาย การกำหนดมาตรฐาน การรับรู้จุด/ช่วงที่ต้อง ปรับ/แก้ก่อนลาม การวิจัย การจำแนก-กำหนดระดับการพัฒนาของ กลุ่มเป้าหมาย และ ระบบเพื่อให้การอนุเคราะห์/บริการ” การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มค./2544
200
การประเมินผลสัมฤิทธ์
ผลสัมฤทธ์ จำแนกได้เป็น Outputs เป็นผลจากการดำเนินการ แต่ละขั้นตอน(Benchmarks) /และหรือของงาน(ผลผลิต)ทั้งสิ้น(Outputs) อทิ โรงเรียน ถนน ขนาดที่ดินที่พัฒนา Outcomes Effects เป็นผล(กระทบ)ขั้นต้น อทิ มีการเพิ่มขึ้นของโอกาสการทำงาน การเรียน ฯลฯ Impact เป็นผลกระทบ ผลลัพธ์ที่เป็นเป้าประสงค์ อทิ การยกฐานะความเป็นอยู่ ความสุข ผลผลิต ผลลัพธ์ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มค./2544
201
ติดตาม ประเมิน ยุทธวิธี ความสัมพันธ์องค์ประกอบหลักของแผน
และดัชนีการติดตามประเมินผล วัตถุประสงค์/ เป้าหมายหลัก (ความต้องการ) พันธกิจ วิสัยทัศน์ Outcomes Indicators ติดตาม ประเมิน SWOT Outputs Indicators กลยุทธ์ กลไก ระเบียบ วัฒนธรรม ยุทธวิธี อุทิศ/กย.46
202
ขั้นตอนกำหนดแนวการติดตาม&ประเมินผลในแผนฯ
1/ขั้นการกำหนด-จำแนกองค์ประกอบหลัก รอง ของโครงการ และหรือ สภาวะ แล้วกำหนดแนวคิดขอบข่ายสิ่งประสงค์ -วัตถุประสงค์-ขอบข่าย -ปัจจัยต้นทุน -กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง -การดำเนินการ-มาตรฐาน -ผลผลิตแต่ละขั้นตอนและ-ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ -เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย เครื่องมือผลักดันกระบวนการ ทรัพยากร 2/กำหนดมาตรฐานดัชนี-ดัชนีทางอ้อม (นิยาม วิธีการที่จะนำมาใช้) (ประเภทดัชนี แบบตัวแทน แบบย่อย แบบรวม) (ประยุกต์ใช้ ชี้วัดผลการดำเนินงาน ชี้วัดสำฤิทธิ์ผลต่างๆ) 3/ขั้นการกำหนดประเภทข้อมูล ตัวแปรของดัชนี; ตรวจอะไร ดัชนีใดหาง่าย -กำหนดประเภทข้อมูลพื้นฐาน ตัวแปรต่างๆของดัชนี -วิเคราะห์คุณภาพข้อมูลและน้ำหนักตัวแปร(ข้อมูล)ของดัชนี (ปรากฏการณ์ในพื้นที่หนึ่งอาจเป็นผลจากโครงการที่เกี่ยวข้องมากกว่าหนึ่ง-ระวังความซ้ำซ้อน) การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มค./2544
203
3/ขั้นกำหนดเปรียบเทียบแหล่งที่มาของข้อมูล ; รวบรวมจากไหน
-แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ มีมาตรฐานการจัดเก็บ -ระดับข้อมูลที่จะจัดเก็บรวบรวมเพื่อการคำนวน - ตรวจสอบ 4/ขั้นการกำหนดงาน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล ; คำนวณอย่างไร -การคำนวนเปรียบเทียบ การเปลียนแปลง ของกลุ่มเป้าหมาย (อะไรเปลี่ยน ช่วงเวลาเปรียบเทียบ กลุ่มที่ทดลอง ปัจจัยภายนอก) -การสุ่มตัวอย่าง -การสำรวจ สัมภาษณ์ แบบสอบถาม -การวิเคราะห์ข้อมูล-สถิติ การคำนวณตัวแปรและการให้น้ำหนัก -การสรุปผลวิเคราะห์และจัดกลุ่ม-ระดับความก้าวหน้า 5/ความถี่ช่วงการสำรวจ เมื่อไร - บ่อยแค่ไหน 6/การรายงาน (ก้าวหน้า-มาตรฐาน/ผลสำฤิทธิ์:แนวแก้ไข แนวเร่งรัด) เพื่อการตัดสินใจ 7/การมอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มค./2544
204
ความสนใจผู้มีส่วนแต่ละระดับ แผนงาน-หน่วยงาน-ท้องถิ่น/ชุมชน
ความสัมพันธ์ ผลลัพธ์และผลผลิตแต่ละระดับของแผน บริหารนโยบาย สภาวะ แผนชาติ ผลลัพธ์รวม (ผลลัพธ์ระดับชาติ) สังคม ผลลัพธ์ สิ่งแวดล้อม ความสนใจผู้มีส่วนแต่ละระดับ (ผลกระทบ) แผนกระทรวง แผนเฉพาะกิจฯ (ปฎิรูปองค์กรภาครัฐ) ผลลัพธ์สาขา (ผลลัพธ์ระดับสาขา) แผนกรม/จังหวัด ผังภาค/ผังเมือง ผลผลิตรวม (ผลผลิตระดับแผนงาน) ปริมาณ แผนงาน-หน่วยงาน-ท้องถิ่น/ชุมชน ผลผลิต คุณภาพ ผลผลิตหลัก ผังชุมชน/เขตป่าสงวน ประชาคม ผลผลิตรอง เวลา ค่าใช้จ่าย ปฏิบัติ ผลผลิตย่อย (ผลผลิตหน่วยงาน) การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ก.ย../2544
205
การประเมินนโยบาย-พัฒนบริหาร การประเมินปฏิบัติ-จัดการดำเนินการ
ความสัมพันธ์การประเมินผลระดับและประเภทต่างๆ ระดับดำเนินการ การประเมินนโยบาย-พัฒนบริหาร การประเมินปฏิบัติ-จัดการดำเนินการ แผนชาติ ผลลัพธ์รวม ผลลัพธ์สาขา ผลผลิตรวม นโยบาย (RBI) ผลลัพธ์เฉพาะ แผนประสาน ผลลัพธ์(สาขา) ผลผลิตหลัก (ผลผลิตรวม) ผลผลิตรวม ผลผลิตหลัก แผนปฏิบัติ ผลผลิตรอง (ผลลัพธ์เฉพาะด้าน) แผนงาน โครงการ กิจกรรม งาน ผลผลิตหลัก (ระดับแผนงาน) ปฏิบัติ และ สมรรถนะ ผลผลิตรอง (โครงการ) (KPI) ผลผลิตย่อย ผลผลิตพลอยได้ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ก.ย../2544
206
ผลกระทบตามวัตถุประสงค์แผนฯ
ความสัมพันธ์ ดัชนี ผลผลิต-ผลลัพธ์(ผลกระทบ) ปฏิรูป เสริมรากฐาน ฟื้นสมรรถนะ แก้ยากจน เป้าประสงค์ (วัตถุประสงค์) เป้าประสงค์ แผน ระดับปฏิบัติ แผน ระดับนโยบาย (เป้าหมาย) กลไก ผลักดัน ตรวจสอบ กลไก ผลักดัน ตรวจสอบ กลยุทธ์ กลยุทธ์ การดำเนินการ แผนงาน-โครงการ(1) ดัชนีความก้าวหน้า ช่วงแรก ดัชนีความก้าวหน้า ช่วงกลาง ดัชนีผลผลิต ดัชนีผลลัพธ์ ผลกระทบตามวัตถุประสงค์แผนฯ ดัชนีผลกระทบ ข้างเคียง (บวก-ลบ) การดำเนินการ โครงการ(2) ดัชนีความก้าวหน้า ช่วงแรก ดัชนีความก้าวหน้า ช่วงกลาง ดัชนีผลผลิต การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ก.ย../2544
207
ดัชนีเพื่อการประเมิน ดัชนีเพื่อการประเมิน
ดัชนีย์ผลลัพธ์และผลผลิต ที่เกี่ยวข้องแผนระดับต่างๆ และมิติทางนโยบายฯ วัตถุประสงค์ ดัชนีเพื่อการประเมิน ผลลัพธ์ ดัชนีเพื่อการประเมิน ผลผลิต แผนงาน/โครงการ หมายเหตุ ยุทธศาสตร์ Impact/Effects Output ด้านความคุ้มค่างบ-แผนฯ แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ วัตถุประสงค์1 Impact Effect Output; Output; Output BM; BM; BM; BM; BM; ยุทธศาสตร์1 Output; Output; Output ยุทธศาสตร์2 BM; BM; BM; BM; BM; Output; Output; Output (มิติประสิทธิผลตามพันธกิจ) BM; BM; BM; BM; BM; วัตถุประสงค์2 ด้านจัดการภายใน แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ Output; Output; Output ยุทธศาสตร์3 Impact Effect BM; BM; BM; BM; BM; ยุทธศาสตร์4 Output; Output; Output ยุทธศาสตร์5 BM; BM; BM; BM; BM; Output; Output; Output (มิติประสิทธิภาพ-ราชการ) BM; BM; BM; BM; BM; การกำหนดแผนงาน / โครงการ ต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ของดัชนีย์ ระดับต่างๆ วัตถุประสงค์3 ด้านสนองสาธารณะ Output; Output; Output แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ ยุทธศาสตร์6 BM; BM; BM; BM; BM; Impact Effect Impact Effect ยุทธศาสตร์7 Output; Output; Output วัตถุประสงค์4 BM; BM; BM; BM; BM; ยุทธศาสตร์8 Output; Output; Output BM; BM; BM; BM; BM; ยุทธศาสตร์9 (มิติคุณภาพการให้บริการ) ด้านพัฒนา-แข่งขันฯ วัตถุประสงค์5 แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ Output; Output; Output Impact Effect BM; BM; BM; BM; BM; ยุทธศาสตร์10 Output; Output; Output ยุทธศาสตร์11 BM; BM; BM; BM; BM; ยุทธศาสตร์12 Output; Output; Output (มิติด้านพัฒนาองค์กร) BM; BM; BM; BM; BM; การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธค./2546
208
ตัวอย่างดัชนีการประเมินผล ;
ความอยู่ดีมีสุข ตัวอย่างดัชนีการประเมินผล ; ดัชนีผลลัพธ์ ดัชนีผลผลิต สุขภาพอนามัย ความรู้/การศึกษา การมีงานทำ ชีวิตสภาพแวดล้อม ชุมชน-สวัสดิการ ฯลฯ ระดับสุขภาพจิต อัตราการฆ่าตัวตาย อัตตราการสูบบุหรี่ IQ-EQ ฯลฯ ตัวแปร ข้อมูล สัดส่วนผู้ศึกษาขั้นสูง – ขั้นพื้นฐาน การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ระบบมาตรฐานการศึกษา ความหลากหลายของการศึกษา ฯลฯ ภาวะการทำงานในครอบครัว ภาวะการย้ายถิ่นของแรงงาน ภาวะแรงงานต่ำระดับ-การว่างงาน ภาวะการคุ้มครองแรงงาน ฯลฯ ระดับสภาพแวดล้อม-วิถีชีวิต สถิติอุบัติภัย ความแตกแยก-อบอุ่นของครอบครัว ความมั่นคงทางจิต ฯลฯ ความเข้มแข็งชุมชน การมีส่วนร่วม ความเอื้ออาทร รับผิดชอบ ทุนทางสังคม ฯลฯ แผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มิ.ย./2545
209
ผลสัมฤทธิ์ = ผลผลิต + ผลลัพธ์ (สมรรถนะแข่งขัน)
การติดตามประเมินผลภาครัฐ ช่วยให้ทราบผลสัมฤทธิ์จากการใช้งบประมาณ ว่า “คุ้มค่า”และ”แข่งขัน” ได้ หรือไม่ ช่วยกำกับระบบการพัฒนบริหารให้สอดคล้องกัน ระหว่างแผน แต่ละระดับ ช่วยให้ทราบความ ก้าวหน้า และปัญหา ความล่าช้าของแผน แผนงาน โครงการภาครัฐ ช่วยให้ทราบประเด็นท้าทายการบริหารจัดการพัฒนาที่เกิดขึ้นได้ระหว่างการปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเด็นที่เกี่ยวกับ ประสิทธิ์ภาพการพัฒนา สมรรถนะการบริหาร จัดการพัฒนา ความพึงพอใจของประชาชน และ นวตกรรม ผลสัมฤทธิ์ = ผลผลิต + ผลลัพธ์ (สมรรถนะแข่งขัน) แผน แผนงาน โครงการ ระดับบน ที่เกี่ยวข้อง สนอง ลูกค้า การบริหาร ที่ดี ปัจจัย นำเข้า วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลผลิต ผลลัพธ์ Objectives Processes Output Outcome Input นวตกรรม คุ้มค่า แผนงาน-โครงการ ผลสัมฤทธ์ ประหยัด Results ผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิภาพ แผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มี.ค./2545
210
ตารางแนวทางการปฏิรูปการบริหารงานพัฒนาและระบบการตรวจสอบ
แผนชาติ ระบบตรวจสอบ(ติดตามประเมินผล) กำกับผลลัพธ์-ผลกระทบ กำกับผลผลิต วัตถุประสงค์/ดัชนี เป้าหมาย/ดัชนี ปฏิรูป เสริมรากฐาน ฟื้นสมรรถนะ แก้ยากจน เป้าประสงค์ (วัตถุประสงค์) (เป้าหมาย) ลดกลุ่มยากจน / อัตราเพิ่มรายได้ เพิ่มจ้างงาน / ขยายตัวผู้มีงานทำ เสริมทักษะแรงงาน / อัตราอ่านออก กระจายการศึกษา / จำนวน ร.ร./พ.ท. กลไก ผลักดัน ตรวจสอบ กลยุทธ์ ตารางการกำหนดดัชนีการติดตาม-ประเมินผล ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้าน แนวทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการ หน่วยงาน เป้าหมาย Out put Outcome (Re;แผนหลัก แผนกระทรวง กรม แผนปฏิบัติฯ) Benchmarks Out put Effects Impacts (Re;แผนชาติ) อุทิศ/กค./44
211
สศช. งป. กพ. ชุมชน Out Come RBM. Out put PBM.
ผังความสัมพันธ์ หน่วยงาน แผนฯและระบบกำกับ(ติดตามประเมินผล) การกำกับตรวจสอบ หมายเหตุ หน่วยงาน การวางแผน-งาน ดัชนีผลสำเร็จ ดัชนีความก้าวหน้า สศช. แผนชาติ เป้าประสงค์ National Goals Stratergic Objectives & Targets Indicators ; Effects & Impacts Out Come กลไก ติดตาม-ประเมิน ยุทธ์-ทางเลือก งป. RBM. Out put National & Regional Goals Sectoral ; Objectives Targets Indicators ; Out put Bench-marks กพ. PBM. แผนประสานฯ กระทรวง กรม-วิสาหกิจ เป้าประสงค์ แผนงาน ทางเลือก กลไก ติดตาม-ประเมิน ชุมชน แผนปฏิบัติ Sectoral Targets Communities projects Targets Indicators; Benchmarks , Output เป้าประสงค์ แผนงาน ทางเลือก กลไก ติดตาม-ประเมิน อุทิศ กค. 2544
212
ตารางวิเคราะห์ดัชนี วัตถุประสงค์ของแผนงาน/โครงการ (Output)
Inputs Process Outputs แผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มี.ค./2545
213
ตารางวิเคราะห์ดัชนี วัตถุประสงค์หลักของแผนกลยุทธ์ (Outcome)
แผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มี.ค./2545
214
ดัชนี การติดตามประเมินผล ของยุทธ์ศาสตร์การ...................
ดัชนี ผลผลิตของโครงการ ดัชนี ผลลัพธ์ของแผนฯ วัตถุประสงค์หลักโครงการฯ ดัชนี ติดตาม & ประเมิณผล วัตถุประสงค์หลักแผนฯ ดัชนี ติดตาม & ประเมิณผล ดัชนีการติดตาม ดัชนีการติดตาม ดัชนีประเมิน ดัชนีประเมิน ดัชนีการติดตาม ดัชนีการติดตาม ดัชนีประเมิน ดัชนีประเมิน
215
ความสอดคล้องของดัชนี ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ มุมมอง ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์
ตารางแสดงความสัมพันธ์ดัชนีการวางแผนฯ เพื่อการบริหารจัดการที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ วัตถุประสงค์หลัก การตรวจสอบ ความสอดคล้องของดัชนี ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ มุมมอง ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ (Perspectives) Outcomes แผนงาน/โครงการต่างๆ ที่อยู่ภายใต้ยุทธ์ของแผนฯ และมีผลิตผลสนอง วัตถุประสงค์ของแผนฯ ประสิทธิผล (ตามแผนฯ) (Financial P.) ดัชนีผลลัพธ์ ของวัตถุประสงค์หลัก ของแผนฯ ของแผนฯ Outputs ของโครงการ Outcomes แผนงาน/โครงการต่างๆ ที่อยู่ภายใต้ยุทธ์ของแผนฯ และมีผลิตผลสนอง วัตถุประสงค์ของแผนฯ สนองสาธารณะ (ตามนโยบาย) (External P.) ดัชนีผลลัพธ์ ของนโยบายและ การเมือง (หากมี) ของแผนฯ Outputs ของโครงการ Outcomes แผนงาน/โครงการต่างๆ ที่อยู่ภายใต้ยุทธ์ของแผนฯ และมีผลิตผลสนอง วัตถุประสงค์ของแผนฯ ประสิทธิภาพ (หลักจัดการที่ดี) (Internal P.) ดัชนีผลลัพธ์ ของหลักการบริหารที่ดี (หากมี) ของแผนฯ Outputs ของโครงการ สามารถแข่งฯ (หลักกลยุทธ์) (External P.) ดัชนีผลลัพธ์ เพื่อเสริมสมรรถนะ (หากมี) Outcomes แผนงาน/โครงการต่างๆ ที่อยู่ภายใต้ยุทธ์ของแผนฯ และมีผลิตผลสนอง วัตถุประสงค์ของแผนฯ ของแผนฯ Outputs ของโครงการ แผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2546
216
วัตถุประสงค์หลัก การพัฒนาคุณภาพการบริการวิชาการด้านเทคโนโลยี อุตสาหกรรมให้สอดคล้องและสนับสนุนศักยภาพของท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ การขยายการเรียนรู้เทคโนโลยีเซรามิกส์...... แผนงาน เสริมบริการวิชาการเทคโนโลยีเซรามิกส์ด้านการออกแบบและการผลิตที่สท้อนวัฒนธรรมท้องถิ่น โครงการ ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการผลิตเซรามิกส์เบื้องต้น โครงการ ปรับปรุงห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีเซรามิกส์
217
8 แนวทาง ที่เกี่ยวข้อง ประสบการณ์
วัตถุประสงค์หลัก การพัฒนาคุณภาพการบริการวิชาการด้านเทคโนโลยี อุตสาหกรรมให้สอดคล้องและสนับสนุนศักยภาพของ ท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ การขยายการเรียนรู้เทคโนโลยีเซรามิกส์... การเรียนรู้ พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) จิตพิสัย (Affective Domain) ทักษะพิสัย (Phycromotor Domain) วิชาความรู้ด้านทฤษฎีการผลิต วิชาด้านกระบวนการผลิต วิชาเลือกด้านมาตรการผลิต วิชาเลือกกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค การฝึก Studio ด้านการออกแบบ การฝึกปฏิบัติการด้านการผลิต 8 แนวทาง ที่เกี่ยวข้อง ความรู้ด้านการตลาด วิชาเลือกศาสนาสากล ประสบการณ์
218
องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบรอง องค์ประกอบรอง องค์ประกอบรอง องค์ประกอบรอง
วัตถุประสงค์หลัก การพัฒนาคุณภาพการบริการวิชาการด้านเทคโนโลยี อุตสาหกรรมให้สอดคล้องและสนับสนุนศักยภาพของ ท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ การขยายการเรียนรู้เทคโนโลยีเซรามิกส์... แผนงาน เสริมบริการวิชาการเทคโนโลยึเซรามิกส์ ด้านการออกแบบและการผลิตที่สะท้อน วัฒนธรรมท้องถิ่น โครงการ ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการผลิตเซรามิกส์เบื้องต้น โครงการ ปรับปรุงห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีเซรามิกส์ โครงการ การเรียนรู้ พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) จิตพิสัย (Affective Domain) ทักษะพิสัย (Phycromotor Domain) องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบรอง องค์ประกอบรอง องค์ประกอบรอง องค์ประกอบรอง
219
ตารางวิเคราะห์ดัชนี วัตถุประสงค์หลัก OUT COME
วัตถุประสงค์&&&&& องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบรอง ดัชนีชี้วัด* Out come พัฒนาคุณภาพการบริการ วิชาการด้านเทคโนโลยี อุตสาหกรรรมให้สอดคล้องศักยภาพของท้องถิ่น 1. เสริมความรู้ด้านทฤษฎีการปฏิบัติด้านเทคโนโลยีเซรามิกส์ 2.เสริมความรับผิดชอบต่อลูกค้า 3เสริมความสามารถในการออกแบบและ การผลิต 1.1วิชาความรู้ทฤษฎีด้านวัตถุดิบในท้องถิ่น 1.2วิชาหลักและกระบวนการผลิต 1.3การจัดการ(?) 2.1วิชาเลือกด้านมาตรฐารการผลิต 2.2วิชาเลือกกฎหมายตุ้มตรองผู้บริโภค 3.1การฝึกStudioด้านการออกแบบ 3.2การฝึกปฎิบัติด้านการผลิต ข้อมูลและ แหล่งข้อมูล นักศึกษากว่าxx%มีความรู้ ตามหลักสูตรพิเศษ ผลงานนักศึกษาเกินกว่าx% สท้อนวัฒนธรรมท้องถิ่น ข้อมูลการสำรวจ และทดสอบ ข้อมูลการแจงนับ ในงานแสดงผลงาน นักศึกษา (สำนักอธิการบดี) คำรับรองผลงานตัวอย่างของ นักศึกษาที่มาตรฐานการผลิตทัด เทียมกัน นักศึกษามีค่านิยม ในการมี ส่วนรับผิดชอบสังคมเพิ่มขึ้น ข้อมูลคำรับรองตัวอย่าง ผลงานฯ ข้อมูลการสำรวจความ คิดเห็นนักศึกษา ยุทธศาสตร์ การขยายเทตโนโลยีเซรามิกค์ (งานประชาสัมพันธ์) นักศึกษามีนวตกรรมการ ออกแบบที่สูงขึ้น ระดับความชำนาญการของ นักศึกษาเพิ่มขึ้น ความเห็น ชช. ที่ได้รับ เชิญร่วมการสัมนาฯ อัตราส่วนรางวัลชนะ การประกวดเพิ่มขึ้น (แผนกทะเบียนฯ) *ระดับ Outcome
220
โครงการ ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการผลิตเซรามิกส์:การฝึกปฏิบัติการ
แผนงาน เสริมบริการวิชาการเทคโนโลยีเซรามิกส์ด้านการออกแบบและการผลิตที่สท้อนวัฒนธรรมท้องถิ่น โครงการ ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการผลิตเซรามิกส์:การฝึกปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการผลิตเซรามิกส่ เพื่อบริการวิชาการให้แก่นักศึกษาและท้องถิ่น วัตถุประสงค์ย่อย เพื่อเสริมความรู้และทักษะและความชำนาญที่หลากหลายขึ้นแก่การผลิต?บัณฑิต ดัชนี Out put* ผลการทดสอบภาคความรู้ ด้านการปฏิบัติการระดับคะแนนอย่างน้อย70% /ตัวแปร ผลสอบตามมาตรฐาน ผลทดสอบการฝึกปฏิบัติ (ผ่าน- ไม่ผ่าน) / ตัวแปร ทักษะ+รายละเอียดที่กำหนด แหล่งข้อมูล แผนกทะเบียน หมายเหตุ (รายงานผลการทดสอบ) *ระดับโครงการ การประเมินผล:ควรพิจารณาชี้แนะเฉพาะแผนงานโครงการปีแรกก่อน
221
(วัตถุประสงค์แผนงาน-โครงการ) วัตถุประสงค์ โครงการ อทิ
ตัวอย่าง ; ประเด็นคำนึงเพื่อชี้วัดผลผลิตและตัวชี้วัดผลลัพธ์ (แผน-โครงการสร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วม) ผลผลิต ดัชนีผลผลิต ผลลัพธ์ ดัชนีผลลัพธ์ (วัตถุประสงค์แผนงาน-โครงการ) (วัตถุประสงค์แผนฯ) โครงการเสริมสร้างจิตสำนึกและ การมีส่วนร่วมของประชาชน วัตถุประสงค์ โครงการ อทิ -การประชาสัมพันธ์และรณรงค์ -การพัฒนาและผลิตสื่อ -การกระจายการศึกษา -การพัฒนาองค์กรเอกชน -การประสานผู้เกี่ยวข้อง -การขยายอาสาสมัคร -ฯลฯ ปริมาณ จำนวนผู้เข้าร่วมกิ จกรรม จำนวนศูนย์ศึกษา จำนวนองค์กรเคลือข่าย จำนวนกิจกรรมที่จัด -เกิดกลไกการเรียนรู้ที่มีจิตสำนึก ผลักดันการมีส่วนร่วมทุกระดับ -มีแกนนำชุมชนที่มีศักยภาพการ มีส่วนร่วมการจัดการในท้องถิ่น ตนอย่างทั่วถึง -มีระบบและวิทยากรกระบวน การที่ให้กระบวนการสร้างจิต สำนึกและการมีส่วนร่วมดำเนิน อย่างต่อเนื่อง -เครื่อข่ายกลไกผลักดันกระบวน การเรียนรู้ พัฒนาจิตสำนึก และ การมีส่วนร่วม อย่างต่อเนื่อง -บริการของกรมฯได้รับการสนับ สนุน ความสนใจจากสาธารณะ มากขึ้น คุณภาพ ระดับความพอใจของกลุ่มอาสา ระดับความพอใจของประชาชน ระดับความเชื่อถือที่เพิ่มขึ้น เวลา เวลาที่ใช้เพื่อการเผยแพร่ ความถี่การปฏิบัติงาน เวลา-จำนวนครั้งการให้การศึกษา -ศุนย์พึ่งตนเองได้และสามารถ จัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสอม แผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มี.ค./2545
222
ตัวอย่าง ;ประเด็นเพื่อกำหนดดัชนีย์ประเมิน สมรรถนะกลไก และ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (แผนกลยุทธ์สร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วม) (ตามหลักการของ Balance score cards) ลูกค้า-สาธารณะผู้เกี่ยวข้อง การเงิน การบริหาร นวัตกรรม-การเรียนรู้ สังคม/ชุมชน ผู้รับบริการ วิจัย-พัฒนา บุคลากร มีกระบวนการบริหาร เชิงกลยุทธ์ / ความ เปลี่ยนแปลง -มีการคิดเชิงกลยุทธ์ -วางแผนกลยุทธ์ -นำกลยุทธ์ไปทำ -ติดตาม-ประเมิน -ปรับอย่างต่อเนื่อง มีความเข้าใจหน้าที่ ของกรมฯและช่วย ระดมความร่วมมือ ในการรณรงค์ ไม่มีทุจริตคอรัปชั่น มีการปรับปรุงบริการ อย่างต่อเนื่องในทุก ระดับ มีการพัฒนาภาวะผู้นำ มีอาสาสมัครเพิ่มขี้น จากความตระหนักและ ยอมรับใหม่ในกระ บวนการแก้ไขปัญหา ร่วมกัน ระบบบัญชีและการ เงินที่ได้มาตรฐาน มีการพัฒนาทักษะ และประยุกต์สู่ระบบ งานของแผนกฯ มีการประสานงาน จนเป็นเครือข่ายที่เข้ม แข็ง มีการพัฒนาความรู้ ใหม่ จากประสพ การณ์องค์กรที่ชี้นำ การดำเนินการที่ดีกว่า การลดค่าใช้จ่ายและ เพิ่มผลงาน การบริหารที่ผ่อนคลาย รูปแบบทางการ พนัก งานสนุกกับงานมากขึ้น ได้รับเงินบริจาคมาก ขึ้น เกิดกระบวนการมี ส่วนร่วมของชุมชน ในกิจกรรมทุกขั้น ตอน มีการแลกเปลี่ยน ประสพการณ์ความ รู้ในเครือข่ายระดับ ต่างๆ การจัดซื้อจัดจ้างมี ความคุ้มค่า มีการวิจัยที่ก้าวหน้า สู่ระดับ GMP การกระจายอำนาจ มี ทีมงานและเสริมแรง จูงใจ และผลตอบแทน สวัสดิการที่สมควร ยุติธรรม โปร่งใส ประชาธิปไตย ฯลฯ แผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มี.ค./2545
223
ตัวอย่างการกำหนดดัชนีชี้วัดและเป้าหมายการดำเนินการ(ตามงบประจำปี)
การประเมินผลลัพธ์ของแผนฯ วัตถุประสงค์ (ของแผนฯ) เป้าหมาย (ปีงบฯ) ดัชนีชี้วัด ข้อมูลพื้นฐาน/แหล่งข้อมูล หมายเหตุ รวม 49 50 51 52 สัดส่วนชุมชนที่มีแผน พัฒนาชุมชนของตนเอง จำนวนและสัดส่วนแผนพัฒนา ชุมชนที่นำเสนอต่อจังหวัด (สนจ.) เร่งพัฒนาชุมชน เข้มแข็งอย่างยั่งยืน.... 20% 30% 50% 80% 80% ผู้รับผิดชอบหลัก ผู้รับผิดชอบร่วม สัดส่วนเพิ่มขึ้นของโครง การพึ่งตนเอง จำนวนและสัดส่วนแผนพัฒนา โครงการพึ่งตนองชุมชนที่นำเสนอ ต่อจังหวัด (สนจ.) ประมาณการรวม (ด้านงบฯ) 10% 20% 35% 50% 50% ชุมชนมีส่วนร่วมและ บทบาทในแผนพัฒนา จังหวัดมากขึ้น ยุทธศาสตร์ ที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ ฯลฯ การประเมินผลผลิตของโครงการฯ วัตถุประสงค์ (ของโครงการฯ) เป้าหมาย (ปีงบฯ) ดัชนีชี้วัด ข้อมูลพื้นฐาน/แหล่งข้อมูล หมายเหตุ รวม 49 50 51 52 เสริมสร้างความเข้มแข็ง ประชาคม. การปรับปรุงระบบจัดการ ข้อมูลข่าวสารของชุมชน รายงานผลงานโครงการพัฒนา ระบบข้อมูลชุมชน (คณะทำงานฯ.) ผู้รับผิดชอบหลัก ผู้รับผิดชอบร่วม 5 ม. 50 ม. 200 ม. 400 ม. 400 ม. จำนวนและสัดส่วนผู้ผ่าน การอบรมด้านการพัฒนาชุมชน ประมาณการรวม (ด้านงบฯ) 10% 20% 35% 50% 50% อัตราเพิ่มของโครงการความ ร่วมมือเพิ่ม ยุทธศาสตร์ ที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ ฯลฯ
224
แผนปรับองค์กร-กลไก
225
บริการ ผลิต แข่งขัน ลดความขัดแย้ง เสริมการประสานงาน เกิดพลังร่วม
อุทิศ มี.ค. ‘46
226
ระบบการบริหารจัดการและการจัดองค์กร
วัตถุประสงค์/ เป้าหมายหลัก พันธกิจ การบริหาร บุคลากร Outputs Inputs(4M) วิสัยทัศน์ คน เงิน ข่าวสาร เทคโนโลยี ภาวะ ผู้นำ ผลลัพธ์ ผลผลิต SWOT ติดตาม ประเมิน กลยุทธ์ กลไก ระเบียบ วัฒนธรรม ยุทธวิธี กำกับ ควบคุม กระบวนการบริหารเชิงยุทธ์ อุทิศ ขาวเธียร ธค.2545
227
NO NO ขั้นตอน/ระยะงานการพัฒนาสำนักเลขาธิการ ครม.
ประสพการณ์ (แผนการพัฒนาสำนักเลขาธิการ ครม พย.2543) หมายเหตุ;ประสานงานร่วม ก.พ. เป้าประสงค์หลัก แผนงานพัฒนาหลักของ สลค. ข้อจำกัดด้านงบฯ และกำลังคน SWOT องค์การ2 นโยบาย-แผนฯชาติ (SWOT ด้านองค์การ1) และหรือ การวิเคราะห์การพัฒนา การบริหาร/องค์กร ทบทวนประสพการณ์ นโยบาย ภาระกิจ สมรรถนะแวดล้อมการบริหาร (ข้อจำกัดโอกาสจุดอ่อนจุดแข็ง) ด้านองค์กร กลไก ระเบียบ ความต้องการสาธารณะ การเสนอแผนดำเนินการ -การพัฒนาองค์กร -การพัฒนาบุคคลากร -การจัดการด้านการเงิน -แนวทางการประสานฯ -ระบบ/ระเบียบการทำงาน -กฎหมายรองรับ -การจัดระบบรายงาน -เกณท์ ดรรชนีประเมินผล -การมีส่วนร่วมสาธารณะ ยุทธศาสตร์การบริหารและองค์กร-กลไก และแนวทาง/ขั้นตอนการปรับกลไก การเตรียมการบริหารการเปลี่ยนแปลง เป้าประสงค์หลักการพัฒนาด้านบริหาร/องค์กร ประมาณการความต้องการกำลังคนและงบฯ การนำเสนอเพื่อผู้บริหารอนุมัติ ภาพรวม-โครงสร้างองค์กร-กลไก ปรับ-ตั้งองค์กรและเริ่มกระบวนการดำเนินการ NO NO การศึกษา ศึกษาเปรียบเทียบ กรณีต่างชาติ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -โครงการนำร่อง แผนพัฒนา ระบบบริหาร ภาครัฐ ที่เกี่ยวข้อง เป้าหมาย และงาน/ โครงการ ปฎิรูปฯ ความต้องการ ด้านกลไก องค์กร ระเบียบ ปรับข้อเสนอ สาขาฯ งานระยะที่1 งานระยะที่2 งานระยะที่3 อุทิศ / พย./2543
228
ผังรวมการจัดองค์กร-กลไก
ประสพการณ์ (แผนการพัฒนาสำนักเลขาธิการ ครม พย.2543) หมายเหตุ;ประสานงานร่วม ก.พ. เตรียมการ บริหาร การเปลี่ยนแปลง การศึกษาวิเคราะห์ นโยบายชาติและแผนฯ การกำหนดยุทธ์ องค์กร-แนวทาง การยกร่าง กระบวนงานใหม่ ศึกษาแนวนโยบายรัฐ แผนฯชาติ/แผนฯองค์กร ทบทวนประสพการณ์ สมรรถนะแนวปฎิบัติ ภาระกิจเดิม วิเคราะห์ความคาดหวัง หน่วยงาน&สาธารณะ วิเคราะห์งานศึกษา วิเคราะห์SWOT (ประชุม&ระดมสมอง) ยุทธศาสตร์และขั้นตอนการปรับกลไก ประมาณการความต้องการคน-งบฯ ปัจจัยสู่เป้าประสงค์ จัดทำ ข้อเสนอแนะ ตั้งคณะ กก. ประชุมอบรม คณะทำงาน สรุปข้อมูล เบื่องต้น การเลือก-ปรับฯ วิเคราะห์ออกแบบ กระบวนงาน แนวการเปลี่ยนฯ เป้าหมายงาน การเปรียบเทียบ ตรวจ-สอบ นำเสนอแผนงานดำเนินการ พัฒนาคน ระบบ ประสาน ปรับระบบ/ระเบียบ/กฎ จัดระบบรายงาน ระบบติดตามประเมิณผล การมีส่วนของสาธารณะฯ รายงานและยุทธศาสตร์การปรับปรุงองค์กร-กลไก รายงานผลการออกแบบกระบวนงานใหม่ รายงานผลการวิเคราะห์ศึกษา เป้าประสงค์การบริหาร ผังSWOT ศึกษาเปรียบเทียบ กับต่างประเทศ โครงการนำร่อง อุทิศ / พย./2543
229
แนวทางการปฎิรูปกระบวนการดำเนินงานของ สศช.
ทบทวนข้อมูล สถาวะแวดล้อม ข้อเสนอแนะของ แผนกลยุทธ์ฯ กำหนดยุทธศาสตร์ การปฎิรูปกระบวนการใหม่ และโครงสร้าง-วัฒนธรรมใหม่ ปรับกลไก-กระบวนการ และการขยายผล อย่างต่อเนื่อง กำหนดและจำแนกภาระกิจ กระบวนการดำเนินงาน สัมนา โครงการนำร่อง สำรวจความคิดเห็น คนใน-คนนอก ระดมสมองเพื่อกำหนด กระบวนการใหม่ การติดตาม ประเมินผล ประกาศ แผนงานฯ โครงการใหม่ จัดลำดับการ ปฏิรูปกระบวนการ จัดตั้งแกนฯ และทีมงาน ปฏิรูปกระบวนการ การดำเนินงาน ตามกระบวนการใหม่ 4 สัปดาห์ 4 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ 6 เดือน แผนกลยุทธ์/อุทิศ/กย./46
230
ตัวอย่างกระบวนการดำเนินงานที่ต้องปฏิรูป
พัฒนาเครือ ข่ายเรียนรู้ กระบวนการ พัฒนาการฝึกอบรม พัฒนาหลักสูตร กระบวนการ พัฒนา การบริหารจัดการ พัฒนา เครื่องมือฝึก พัฒนา ระบบบริหาร พัฒนา โครงสร้าง พัฒนา บุคคลากร กระบวนการพัฒนาบุคลากร พัฒนาร่วม มวลชน พัฒนา-ขยาย มวลชน กระบวนการพัฒนากลุ่มเป้าหมายพิเศษ แผนกลยุทธ์/อุทิศ/กย./46
231
บุกเบิกงานเครือข่ายการบรรเทาทุกข์ รวมทั้งขยายวิธีการ และรูปแบบระดมทุน
Red Cross Strategic Theme แผนฯกาชาด (แนวบูรณาการ // กระบวนการพัฒนา; ตัวอย่าง) บุกเบิกงานเครือข่ายการบรรเทาทุกข์ รวมทั้งขยายวิธีการ และรูปแบบระดมทุน ปรับภารกิจ บรรเทาทุกข์ ที่ซ้ำช้อน ขยายรูปแบบการระดมทุน SO/A=36.36% WT/A=28.57% Obj 8/ Int. P. & F.P. Obj 2/ Int.P.& F.P. เร่งเสริม บริการ และผลิตบุคลากร ทางวิทยาศาสตร์การ แพทย์ การบริการโลหิต การบรรเทาทุกข์และพัฒนาคุณภาพ ชีวิต ที่หลากหลายและทั่วถึง ขยายบริการแพทย์ให้ ครบวงจร เสริมคุณภาพชีวิตผู้ด้อยโอกาส อย่างต่อเนื่อง ศูนย์โลหิตแก่ทุกชนชั้น ผนึกพลังร่วมบรรเทาทุกข์ SO/A=33.3% ST/A=23.08% SO/A=18.75% Obj 1 G&L P & Ext.P. ST/A=31.25% Obj 4/ Ext. P. Obj 2/ Ext.P. Obj 3 Ext. P. ปลูกฝังวัฒน ธรรมกาชาด & การเรียนรู้ ปรับระบบ กลไก การบริหารที่ดีและพัฒนาบุคลากรอย่าง ต่อเนื่อง นำ/ข่าย ผลิต บุคลากรทาง ว.แพทย์ ปรับกลไก-เทคนิค ทันสมัย ให้บริการทั่วถึง SO/A=27.27% WT/A=18.18% WO/A=16.67% Obj 5/ G&L P. Obj 6/ G&L P.& Int.P. Obj 7/ Int.P.& G&L P. แผนกลยุทธ์;กาชาด อุทิศ กพ. 47
232
ผังระบบการประกอบการ Business Process Jobs and Structures
แผนที่ “กระบวนการ” ผลิตสินค้า การสำรวจ-ติดต่อ-สอบถามความเห็นลูกค้า ความต้องการลูกค้า กลุ่มเป้าหมาย วงการธุระกิจ/ตลาด แนวคิดผลิตภัณท์ แนวทางการพัฒนา โรงงาน/การผลิต กลยุทธการพัฒนา การออกแบบผลิตภัณท์ ปัจจัยถ่วง ปัจจัยเสริม ผลิตภัณท์ ตามต้องการ ลูกค้า การพัฒนาผลิตภัณท์ การพัฒนา/ระบบ/สมรรถนะ ด้านโรงงานผลิต Business Process Jobs and Structures Values and Culture Management and Monitoring Systems แผนกลยุทธ์/อุทิศ/กย./46 แผนกลยุทธ์/อุทิศ/กย./46
233
การระดมสมองและแนวคิด เพื่อร่างแนวทางการปฏิรูปกระบวนงานขององค์กร
ปฎิรูปกระบวนงาน ปรับกลไก ปฎิรูปกลไก วัฒนธรรม กำหนด กระบวน การที่ต้อง ปฏิรูป ลด เลิก ประหยัด เร็วทันต้องการ ง่าย ชัด ทีมงาน บูรณาการ นวตกรรม ลูกค้า สัมนา โครงการ นำร่อง Several jobs are combined into one ลดงานแบบ assembly line; ลดคน/ ลดเวลา ลดภาระจัดการ เน้น integrated processes,case workers,case teams. Work units ; from functional departments to process teams Jobs ; from tasks to multi-dimensional works The step..performed in a natural order. ลดการทำงานที่ละขั้นตอน เร่งงานไม่ต้องรอกัน เน้นงานคู่ขนาน Delinearing. People’s roles ; from controlled to empowered Processes have mutiple versions. เลิกพิธี-งานใหญ่/standardization.(ขี่ช้างจับตั๋กแตน ซับซ้อน-ช้า) เน้นบริการอย่างหลากหลายคล่องตัว สมส่วน ทันกาล. Job preparation ; from training to education Work is perform where it make most sense เลิกเสียน้อยเสียยาก... เพราะกระจุกงาน เน้นกระจายบทบาท Performance measures and compensations ; from activity to results Worker make decisions ลดการต้องขออนุมัติที่ไม่เพิ่มValues ลดเวลา/คนจัดการ เน้นกระจายอำนาจ. Advancement criteria ; from performance to ability. จัดลำดับ ความสำคัญ กระบวน การ Checks and control are reduced. เลิก non value-adding but costly control เน้นการปรับการตรวจสอบเฉพาะที่จำเป็น. Values ; from protective to productive (customers; ) ประเมิน ผล Reconciliation is minimized. ลดงาน ส่งเข้าส่งออก ที่ไม่จำเป็น ต้องมีความเห็นทุกฝ่าย เน้น one stop service. Managers ; from supervisors to coaches /but bosses. A case manager provides a ..point of contract. ให้งานท้าทายแก่คนที่เหมาะสม แต่พร้อมช่วยหากขอ เน้น empowerment. Organization structures ; from hierarchical to flat. Hybrid centralized/decentra.op.. are prevalent. กระจายงาน ประสานเครือข่าย ผ่องถ่ายภาระ ลดคณะทำงาน เน้นเทคโนโลยี ICT. Executives ; from scoreekeepers to leaders อุทิศ / 24 / Aug. / 03
234
ค่านิยมร่วมที่ดี(ของ 3600 บริษัทญี่ปุ่นที่ประสบความสำเร็จ) แบบฉบับต่อ
วัฒนะธรรมองค์กร ค่านิยมร่วมที่ดี(ของ 3600 บริษัทญี่ปุ่นที่ประสบความสำเร็จ) แบบฉบับต่อ การกำหนดวัฒนะธรรมองค์กร ความเชื่อ ความจริงใจ ความสมานฉันท์ ความเพียรพยายามไม่ลดละ ความน่าเชื่อถือและไว้วางใจ การบริการและช่วยเหลือสังคม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความรับผิดชอบ ความปรอดภัย ความกตัญญู ความร่วมมือ -การเป็นสิ่งที่ดีที่สุด -คุณภาพและการบริการที่เหนือกว่า -ความสำคัญของรายละเอียดการดำเนินงาน -ความสำคัญของเอกบุคคลและความศรัทรา -ลูกค้าควรได้รับความสำคัญสูงสุด -การสร้างแรงดลใจ -ความสำคัญของความไม่เป็นทางการ อุทิศ/เมษายน/2546
235
วัฒนะธรรมองค์กร วัฒนะธรรม .. มุ่งกลยุทธ์ และสนองการเปลี่ยนแปลง
วัฒนะธรรม .. มุ่งกลยุทธ์ และสนองการเปลี่ยนแปลง มุ่งประกอบการ มุ่งการเลือกสรร มุ่งต่อตนเอง “ภาวะอ่อนค่านิยมหลักและวัฒนธรรมที่ดี/เข้มแข็ง ก่อการแตกตัวของวัฒนธรรมย่อย และ แตกแยก/สับสนได้ โอกาสขัดแย้งสูง การทำงานไม่สอดรับกัน วัฒนะธรรมที่สวนทางกัน โดยเฉพาะระหว่างผู้บริหารและพนักงานระดับล่าง เพราะไม่สามารถปลูกฝังจริยธรรมการทำงาน และการสร้างสรรค์ วัฒนธรรมถอดสู่ ภาวะมุ่งตนเอง” แนวทางแก้ไข; หา/คัดเลือกบุคคลที่มีค่านิยมสอดคล้องค่านิยมหลักองค์กร แนวร่วมสร้าง-ขัดเกราค่านิยม ขัดขวางการขยายค่านิยมที่สวนทาง ขจัดผู้นำอิทธิพลที่เป็นอุปสรรคต่อการเปลี่ยนแปลงสู่วัฒนธรรมมุ่งกลยุทธ์ อุทิศ/เมษายน/2546
236
การบริหาร(กระบวนการ)แบบทางการและแบบก้าวหน้า
เน้นยุทธการที่ มีวิสัยทัศน์ ความสำเร็จที่ปรารถนา-ชัดเจน วัตถุประสงค์สอดรับกลยุทธ์หลัก บริหาร จัดการ ตามกลยุทธ์ที่รับผิดชอบ วางแผนอย่างมองกาลไกลกว่า(5-15ปี) การดำเนินการ ขาดการกระตุ้น/ปรารถนา/ทะยาน มีวัตถุประสงค์ตามบทบาทที่มีอยู่ บริหาร ตามสายงานรับผิดชอบ จำกัดแผนมองการณ์ไกล (3-5ปี) จุดเน้นการจัดการ การจัดองค์การ กระจายอำนาจ มีกรอบการประสานติดต่อ และค่านิยมร่วม กระจุกอำนาจและกฎตายตัว การมอบอำนาจ ผ่องถ่ายอำนาจสู่กลุ่มงาน อำนาจรวมศูนย์ ประชาคมเป็นขุมกำลัง เป็นพลัง คนเรามีนวตกรรม ความคิดสร้างสรร เชี่ยวชาญ ประชาคมต้องควบคุม คนเราผิดพลาดได้ทุกเมื่อ มุมมองประชาคม เน้นความเป็นผู้นำ รู้รับผิดชอบ กำหนดเป้าประสงค์ภาระกิจ มีขอบข่ายการทำงานที่มีอิสระ คล่อง พอเพียง เสริมสร้างความไว้ใจระหว่างกัน มีแนวร่วม ประเมินผลลัพธ์ของงาน เสริมบรรยากาศสู่ความสำเร็จ เน้นการกำกับ/การตรวจปริมาณงาน กำหนดรายละเอียดภาระกิจ เน้นกฎ ปฎิบัติการตามระเบียบ คำสั่ง เชื่อมั่นในระบบ เน้นการประเมิน-ให้ทำตามขั้นตอน สนับสนุนการทำงานอย่างอดทนนาน รูปแบบการจัดการ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พ.ย./2542
237
Grid Culture & Values 1,9 9,9 People 5,5 (เน้นมุ่งคน) 9+9 O
9,9 เน้นจูงใจให้ประสบ ความสำเร็จงานร่วมกัน 1,9 มุ่งเอาใจคน ความสุขในที่ทำงานมาก่อน 1,9 9,9 People 5,5 (เน้นมุ่งคน) 9+9 5,5 ทำเท่าที่สถานะเอื้อ ไม่เสี่ยง 9+9 กำกับ/ดูแล ให้ได้งานตามสั่ง O Grid Culture & Values O, ลวง ให้ตนได้ ประโยชน์เท่านั้น ประเภท ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร 1,1 9,1 Production (มุ่งงานเป็นหลัก) 9,1 มุ่งงานตาม ความเชื่อของตนเท่านั้น 1,1เลี่ยงงาน-ไม่สนคน Source; Bleake&McCanse “Leadership Dilemamas-Grid Solution”1991
238
เค้าโครงแผนกลยุทธ
239
กระบวนการวางแผนและสาระสำคัญของแผนกลยุทธ์
สาระแผนกลยุทธ์ การเตรียมการ บทนำ บทการประเมินสถานการณ์ จุดยืนการพัฒนา (ตามหลักการและแผนฯเบื่องบน) การประเมินผล การวิเคราะห์ภาวะแวดล้อม บท เป้าประสงค์การพัฒนา วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก บท ยุทธศาสตร์หลักการพัฒนา กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์เสริม บท การประสานกลไกพัฒนา การปรับโครงสร้าง การปรับ กฎ-ระเบียบ บท การแปลงแผนสู่การปฏิบัติ การแปลงแผนระดับต่างๆ การติดตามประเมินผล การวิเคราะห์ สภาวะแวดล้อม การกำหนด เป้าประสงค์ การกำหนด กลยุทธ์ กลวิธี แผนงาน-โครงการ กลยุทธ์ ผนึกพลัง กลยุทธ์ ทดแทน กลยุทธ์ ลดเลิก กลยุทธ์ ร่วมภาคี กลยุทธ์ด้าน ปฏิบัติ/พัฒนา กลยุทธ์การบริหาร กลยุทธ์ การปฏิรูปโครงสร้าง กลยุทธ์ ปฏิรูปวัฒนธรรมองค์กร RBM การกำหนด กลไกผลักดัน ( RBI, KPI ) แนวทางการติดตาม-ประเมินผล อุทิศ / ก.ย. / /2544
240
แผนสู่ปฎิบัติได้มากน้อยเพียงใด?
241
ข้อคำนึงการแปลงแผนฯสู่การปฏิบัติ
กระบวนการวางแผน-ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมมากน้อยแค่ไหนโดยเฉพาะผู้ตัดสินใจทุกระดับ คุณภาพของแผน-องค์ประกอบของแผนชัดเจนและสอดคล้องระหว่างกันแค่ไหนเพียงใด เป้าประสงค์ชัดเจนหรือไม่ ผู้ใช้แผนทุกระดับเข้าใจความหมายแค่ไหน เป้าประสงค์สะท้อนความต้องการและค่านิยมร่วมหรือไม่เพียงไร หลักการแนวคิดทันยุค/สภาพแวดล้อมเพียงไร การชี้นำของแผนฯมีความคล่องตัวเพียงไร มีรายละเอียดเกินความจำเป็นหรือไม่ บรรยากาศและการเตรียมการนำแผนไปใช้ มีการประชาสัมพันธ์ที่เหมาะสมเพียงไรตลอดกระบวนการวางแผนและการพัฒนา ผู้ประสานงานแต่ละระดับเข้าใจและตระหนักภาระกิจของตนเพียงไร กลไก-ระเบียบ-กฎ-ที่เกี่ยวข้องมีการปรับแค่ไหนเพียงไร ต้องมีการเสริมทักษะหรือไม่ การติดตามประเมินผล จริงจังแค่ไหนเพียงไร อิทธิพลทางการเมือง? การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พฤษภาคม/2543
242
การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เมษายน/2542
นักวางแผนทำงานอยู่ใต้การชี้นำของผู้บริหาร ผู้บริหารที่มีความเป็น ผู้นำจะตัดสินใจเลือกแนวทางการดำเนินการแก่กระบวนการพัฒนา การวางแผนเป็นความพยายามทำให้ดีที่สุดภายใต้ภาวะแวดล้อมและ ข้อจำกัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อจำกัดด้านข้อมูล ความสำเร็จของแผนอาจขึ้นอยู่กับความเข้มแข็งของประชาคมที่มี คนเป็นศูนย์กลาง และสมรรถนะในการบริหารโครงการตามแผน กระบวนการวางแผนไม่สิ้นสุดและมีวิวัฒนาการโดยตรงต่อแผนฯ ผลลัพธ์ที่ได้จากแต่ละขั้นตอนเกี่ยวดองสัมพันธ์กันต้องตรวจสอบและปรับให้สอดคล้อง การคิดทบทวนใหม่(rethink)มิใช่ของแปลกในกระบวนการวางแผน การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เมษายน/2542
243
การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เมษายน/2542
การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เมษายน/2542
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.