ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
จะทำอย่างไรให้ คลินิกเลิกบุหรี่ใน “รพสต” WORK
กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 2016 ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
2
คลินิกเลิกบุหรี่คืออะไร?
สถานที่ให้บริการบำบัดผู้สูบบุหรี่ สถานที่ป้องกันโรคและ ส่งเสริม สุขภาพพนักงานทั้งกลุ่มเสี่ยงและกลุ่ม ไม่เสี่ยง ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
3
ข้อดีของการมีคลินิกเลิกบุหรี่ใน รพ.สต.
ให้ความสะดวกกับบุคลากร/ประชาชนที่สูบ บุหรี่และต้องการเลิก มีความใกล้ชิด ให้กำลังใจได้ดี ติดตามง่าย มี อสม. ช่วย สามารถช่วยแนะวิธีช่วยคนในครอบครัว /คน ใกล้ชิดของบุคลากร/ประชาชน ให้เลิกบุหรี่ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
4
ผู้ให้บริการไม่มองสิ่งที่ตนมี แต่มอง ในสิ่งที่ตนขาด
ปัญหาที่พบคือ ไม่มีคนมารับบริการ ผู้ให้บริการไม่มองสิ่งที่ตนมี แต่มอง ในสิ่งที่ตนขาด ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
6
จะทำให้ WORK ได้อย่างไร
ใช้สิ่งที่ตนมีเป็นที่ตั้ง พัฒนา ปรับปรุง สิ่งที่ตนมี Reactive อย่างเดียวไม่ได้ ต้อง Proactive จึงจะ ได้ผล ต้องมีระบบในงานประจำ (ถนนปชต 5A) มีตัวช่วย มีการส่งต่ออย่างเป็นระบบ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
7
ใช้สิ่งที่ตนมีเป็นที่ตั้ง
คนสูบบุหรี่ โรคเรื้อรัง ทั่วไปในชุมชน ใช้ระบบ ถนนปชต ให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ 5A vs One stop service ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
8
ใช้สิ่งที่ตนมีเป็นที่ตั้ง
ตัวเราเอง ความรู้ที่มี พัฒนาได้ เป็นคน ไม่ใช่หุ่นยนต์ (รักคน เห็นคนเป็น คน เข้าใจคน) ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
10
ใช้สิ่งที่ตนมีเป็นที่ตั้ง
อสม. เป็นทรัพยากรบุคคลที่ล้ำค่าที่สุดในการแก้ไข กระบวนการที่อ่อนแอที่สุดในการช่วยให้คนเลิก บุหรี่ คือ การติดตามให้กำลังใจ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
11
Counseling Technique: 5A
Smoker Advise to quit Assess willingness to quit ควรถามพฤติกรรมการสูบบุหรี่กับทุกคน หรือ เฉพาะผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หรือ เฉพาะผู้ป่วยบางกลุ่ม Ask about smoking status Willing Unwilling ควรแนะนำให้ทุกคนที่สูบบุหรี่ เลิกสูบบุหรี่ ทันที Non-smoker Assist 5R Advise to remain Arrange follow-up ภก.ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์
12
ใช้สิ่งที่ตนมีเป็นที่ตั้ง
ตัวช่วย การส่งต่อ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ภูมิปัญญาคนเลิกได้ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
13
ส่งต่อ เชื่อมโยงกับบริการที่มีอยู่
คลินิกเลิกบุหรี่ ในคนที่ติดมากของ รพ. PCU ที่รับผิดชอบพื้นที่ สายปลอดบุหรี่ 1600 เภสัชกรร้านยา ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
14
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ และภูมิปัญญาคนเลิกได้
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ และภูมิปัญญาคนเลิกได้ มะนาว มะแว้ง มะขาม มะยม มะกรูด มะขามป้อม สมอ ขิงแก่ กานพลู ของ เปรี้ยวฯลฯ ไม้จิ้มฟัน อมน้ำ น้ำยาบ้วนปาก ยา ชวนคนเลิกได้ มาพูด/ เป็นต้นแบบ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
15
จัดคลินิกอย่างไรให้คนอยากมา
ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
16
การจัดห้อง มีภาพ เปลี่ยนบ่อยๆ มีคำคม มีเพลงช้าๆ
มีผลไม้ น้ำผลไม้ รสเปรี้ยว มีแผ่นพับความรู้ มีมุมความรู้ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
17
มีคำกลอนคำขวัญมากมาย ทำให้เขาจำง่ายขึ้น
เราดี เราเก่ง เราทำได้ ไม่มีคำว่าล้มเหลวหากยังไม่ล้มเลิกความตั้งใจ ยิ่งทำยิ่งได้ ความดีทำได้ไม่ต้องรอใครมาสั่ง ซื้อ ไม่ได้ต้องทำเอง ฯลฯ กลอนท่านพุทธทาส สามสิ่งที่ทุกคนมีเหมือนกัน คุณมีทางเลือกสองทาง
18
พ.ศ.2530
19
ตัวอย่างคำคม หลวงพ่อคูณ ปุริสุทโธ
ตัวอย่างคำคม หลวงพ่อคูณ ปุริสุทโธ จะเลิกบุหรี่ต้องอยู่ที่ใจ เป็นคนใจไม่จริงก็จะละไม่ได้ ต้องเป็นคนใจเด็ด พูดคำไหนเป็นคำนั้น จึงจะละได้ทำได้ วิธีละง่ายๆ ก็อย่าสูบ วางทิ้งเลย ไม่ต้องสูบทั้งต่อหน้าและลับหลัง กูละแล้ว กูไม่สูบแล้ว 22 เมษายน 2540 ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
20
1 คนสูบ 100 คนเจ็บ
21
ไม่มีใครทำให้คนเลิกสูบบุหรี่ได้หาก เขา ไม่อยากเลิก แต่หากเขามีแรงจูงใจมากพอ จนเกิดเป็นแรงบันดาลใจเขาจะเลิกได้อย่างง่ายๆ เป็นความภูมิใจที่ยิ่งใหญ่ในชีวิต เพราะการเลิกบุหรี่ได้คือการเอาชนะใจตนเอง
22
ความดีทำได้ ไม่ต้องรอให้ใครมาสั่ง
- ทุกความสำเร็จเริ่มต้นที่ลงมือทำ - มาพัฒาคุณภาพชีวิต ช่วยชีวิตคน กันเถอะ - เลิกบุหรี่ได้ ได้บุญ
23
ติดโปสเตอร์ที่เป็นความรู้เรื่องต่างๆ เปลี่ยนหมุนเวียน
ติดโปสเตอร์ที่เป็นความรู้เรื่องต่างๆ เปลี่ยนหมุนเวียน แต่วิธีเลิกบุหรี่เป็นตัวหลัก ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
24
ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
25
เนิ่นนาน 3-5 นาที ยืดเวลา Delay นิ่ง หายใจลึก Deep Breath
น้ำ ดื่ม อาบ อม บ้วน drink water โน้มน้าว เบี่ยงเบนความสนใจ Do something else แน่วแน่ เป้าหมายอยู่ข้างหน้า แรงจูงใจ Destination ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
26
แนวทางการบำบัดพิจารณา
ระยะต้องการเลิก ระดับการติดความเคยชิน/อารมณ์ - ระดับการติดนิโคติน - ใช้ระบบ ถนนปชต 5A เชื่อมโยงเครือข่าย Ask – Advise- Assess – Assist – Arrange Ask – Advise – Assess – Refer – Arrange Ask – Advise – Refer - Arrange ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
27
จะจูงใจให้ประชาชนมาเลิกบุหรี่ได้อย่างไร
-มีนโยบายชัดเจน one stop service ใช้ ถนนปชต 5A ในงานประจำ รูปแบบน่าสนใจ (รายบุคคล รายกลุ่ม รางวัล) มีตัวช่วยเหมาะสม มีระบบส่งต่อ มีการติดตามให้กำลังใจต่อเนื่อง กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
28
คนสูบบุหรี่ชอบแบบไหน
รับคำปรึกษาเป็นรายบุคคล (36%) ชอบการให้คำปรึกษาเป็นกลุ่ม (18%) ใช้เอกสารคู่มือเลิกบุหรี่ด้วยตนเอง (17%) ขอคำปรึกษาทางโทรศัพท์ ( 12%) เลิกด้วยตนเอง ( 7%) ไม่ชอบวิธีใด ( 5%) ผู้หญิงชอบเข้ากลุ่มมากกว่าผู้ชาย
29
ด้วยความปราถนาดีจาก มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.