งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ASEAN เป็นองค์การระดับภูมิภาค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ASEAN เป็นองค์การระดับภูมิภาค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : Association of Southeast Asian Nation - ASEAN

2 ASEAN เป็นองค์การระดับภูมิภาค
ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 เดือนสิงหาคม ค.ศ. 1967 ประเทศสมาชิกเริ่มต้นมี 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย ก่อตั้งตามปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration)

3 วัตถุประสงค์ของการก่อตั้ง
ปฏิญญากรุงเทพกำหนดให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นเขตแห่งสันติภาพ เสรีภาพ และความเป็นกลาง ZOPFAN (Zone of Peace Freedom and Neutrality) เสริมสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสังคมระหว่างประเทศสมาชิก ส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค

4 ภูมิหลังและพัฒนาการความร่วมมือของอาเซียน
เหตุผลที่ใช้คำว่า “สมาคม” สภาพแวดล้อมทางการเมืองในช่วง เป็นระยะที่ภูมิภาคปรากฏความเคลื่อนไหวทางการเมืองและการทหารของฝ่ายต่างๆค่อนข้างมาก หากมีการสถาปนาความร่วมมือทางการเมือง อาจมีผลทำให้เกิดการเผชิญหน้ากับฝ่ายตรงข้ามได้

5 พัฒนาการในช่วงก่อตั้งประชาคม
ผลกระทบจากสงครามเย็นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐฯ จัดตั้ง NATO ในยุโรป สหรัฐฯจัดตั้ง SEATO องค์การสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ค.ศ ตามข้อตกลงมะนิลา (Manila Pact) มีเพียงไทยและฟิลิปปินส์เท่านั้นในภูมิภาคนี้ที่เป็นสมาชิก องค์การจึงขาดเอกภาพ ไม่ก้าวหน้า และเกิดความขัดแย้งในเรื่องผลประโยชน์ระหว่างภาคีสมาชิก

6 พัฒนาการในช่วงก่อตั้งประชาคม
การจัดตั้งองค์การส่วนภูมิภาค การรวมตัวกันของสหพันธรัฐมลายา ไทย และฟิลิปปินส์ภายใต้สมาคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asia- ASA) เพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรมในภูมิภาค

7 พัฒนาการในช่วงก่อตั้งประชาคม
ความขัดแย้งของในเรื่องผลประโยชน์ของภาคีสมาชิก กรณีในปี ค.ศ / มาเลเซียกับฟิลิปปินส์ อ้างสิทธิ์เหนือเกาะซาร์บา/ การทำงานชะงักลง ก่อให้เกิดความคิดที่จะรวม ASA เข้ากับชาติอื่น / ASA ถูกยกเลิกไป เมื่อมีความก้าวหน้าใหม่เข้ามาแทนที่ คือ ASEAN / ASA เป็นพื้นฐานก่อให้เกิด ASEAN ปัญหาการอ้างสิทธิตั้งฐานทัพระหว่างสิงคโปร์กับมาเลเซีย

8 ปัจจัยของความร่วมมือกัน
ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน ความหวาดระแวงจากอำนาจภายนอกภูมิภาค เช่น สหรัฐฯ โซเวียต และจีน / เชื่อว่าความร่วมมือในลักษณะภูมิภาคสามารถร่วมเผชิญและแก้ไขปัญหาคอมมิวนิสต์ร่วมกันได้ การแข่งขันสร้างอิทธิพลของเหนือภูมิภาคเอเชียของสหรัฐฯและสหภาพโซเวียต พัฒนาประเทศทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เพื่อลดความขัดแย้งระหว่างสมาชิกกันเอง

9 พัฒนาการในช่วงก่อตั้งประชาคม
บทบาทในทางการเมืองของอาเซียนในระยะแรกจะเป็นไปอย่างจำกัด

10 กลไกการทำงานและหน่วยงานกลางสำคัญของประชาคมอาเซียนก่อนปีค.ศ.1975
คณะกรรมการประจำ (Standing Committee) คณะกรรมการถาวรและคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง (Permanent Committees and Ad-hoc Committees) การประชุมประจำปีของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (Annual Meeting of Foreign Ministers) หรือที่เรียกกันว่า “การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศ” (ASEAN Ministerial Meeting-AMM)

11 โครงสร้างองค์การของอาเซียน

12 กลไกการทำงานและหน่วยงานกลางสำคัญของประชาคมอาเซียนก่อนปีค.ศ.1975
สำนักงานเลขาธิการแห่งชาติ (National Secretariat) เป็นหน่วยงานของรัฐสมาชิกไม่ได้มีลักษณะเป็นองค์กรร่วม การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโส

13 โครงสร้างของสำนักเลขาธิการอาเซียน

14 วิกฤติการณ์น้ำมันและวิกฤติเศรษฐกิจในทศวรรษ 1970 กับความสัมพันธ์ระหว่าง อาเซียนกับญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นเน้นการลงทุนเพื่อพัฒนาในอาเซียนเอง (foreign direct investment-FDI) ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับญี่ปุ่นเป็นลักษณะที่ต่างฝ่ายได้รับประโยชน์ซึ่งกันและกัน

15 พัฒนาการของประชาคมอาเซียนหลังค.ศ.1975-ยุคสิ้นสุดสงครามเย็น
การประชุมสุดยอดครั้งที่ 1 เดนปาซาร์ บาหลี อินโดนีเซีย “ปฏิญญาสมานฉันท์อาเซียน” (The Declaration of ASEAN Concord) โครงการอุตสาหกรรมของอาเซียนในปีค.ศ.1976 (ASEAN Industrial Project: AIP) โครงการแบ่งผลิตทางอุตสาหกรรมแบบเกื้อหนุนค.ศ.1981 (ASEAN Industrial Complementation Scheme: AICS) โครงการร่วมลงทุนทางอุตสาหกรรมปีค.ศ.1983 (ASEAN Industrial Joint Venture: AIJV)

16 พัฒนาการของประชาคมอาเซียนหลังค.ศ.1975-ยุคสิ้นสุดสงครามเย็น
ความตกลงว่าด้วยการให้สิทธิพิเศษทางการค้าของอาเซียนในปีค.ศ.1977 (Agreement on ASEAN Preferential Trading Agreement-PTA) สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia-TAC) เอกสารสองฉบับนี้แสดงให้เห็นว่าไม่ได้มีการระบุถึงภัยคุกคามต่อเสถียรภาพของภูมิภาคไว้อย่างชัดเจน อีกทั้งยังมีการเปิดโอกาสให้ชาติอื่นๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือประเทศในอินโดจีนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในสนธิสัญญาได้ด้วย

17 อาเซียนภายหลังการประชุมสุดยอดที่บาหลี
การประชุมสุดยอด (ASEAN Summit Meeting) เป็นกลไกสูงสุดของอาเซียน มีการเสนอให้พบปะกัน 3 ปีต่อ 1 ครั้ง การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ (Informal ASEAN Summit Meeting) ในเดือนธันวาคมของทุกปี มีการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Ministerial Meeting-AEMM) จัดขึ้นปีละ 2 ครั้ง

18 อาเซียนภายหลังการประชุมสุดยอดที่บาหลี
การประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (Senior Office Meeting) แบ่งเป็น 2 ส่วนอิสระ คือ การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านการเมือง (SOM) และด้านเศรษฐกิจ (SEOM) อยู่ภายใต้การประชุมของประจำปีระดับรัฐมนตรี (AMM) และการประชุมรัฐมนตรีระดับเศรษฐกิจ (AEMM) ทำหน้าที่พิจารณาเรื่องก่อนที่จะนำเสนอในที่ประชุมระดับสูงขึ้นไป

19 อาเซียนภายหลังการประชุมสุดยอดที่บาหลี
สำนักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) ตั้งขึ้นเมื่อปีค.ศ.1976 ที่ทำการถาวรตั้งอยู่ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย ทำหน้าที่ประสานงานต่างๆระหว่างประเทศสมาชิกตามที่ได้รับมอบหมาย เลขาธิการจะมีวาระตำแหน่งคราวละ 3 ปี มีการจัดตั้งสำนักงานอาเซียน (Office of the Director-General, ASEAN-name of member country) เดิมทีเรียกว่า สำนักงานอาเซียนแห่งชาติ เป็นหน่วยงานของรัฐสมาชิกที่ตั้งขึ้นเพื่อรับผิดชอบประสานงานเกี่ยวกับอาเซียนในแต่ละประเทศ คณะกรรมการต่างๆ (Committees) ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญและข้าราชการด้านต่างๆจะจัดประชุมในประเทศสมาชิกหมุนเวียนกันไป

20 ประชุมสุดยอดครั้งที่ 2 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ มาเลเซียเมื่อวันที่ 5-8 กรกฎาคม ค.ศ.1977
ด้านการเมืองและความมั่นคง ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับนอกภูมิภาค สถานการณ์ทางการเมืองและการปรับความสัมพันธ์ทางการทูตกับเวียดนาม กัมพูชา และลาว ค.ศ.1984 บรูไนได้ขอเข้าเป็นสมาชิกอาเซียน

21 การประชุมสุดยอดครั้งที่ 3 ณ กรุงมะนิลา ฟิลิปปินส์
การลงนามใน “ปฏิญญามะนิลาปีค.ศ.1987” (The Manila Declaration 1987) แก้ไขสนธิสัญญาว่าด้วยมิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) เพื่อให้รัฐอื่นๆที่อยู่นอกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สามารถเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกตามคำร้องของปาปัวนิวกินี ปีค.ศ.1992 เป็นวาระครบรอบ 25 ปีอาเซียนของการสถาปนาอาเซียนเป็น “ปีแห่งการท่องเที่ยวอาเซียน”

22 ประชาคมอาเซียนหลังสงครามเย็น-การรับพม่าเข้าเป็นสมาชิกในปีค.ศ.1997
ตุลาคม ค.ศ.1991 ได้มีการเสนอความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สำคัญคือ แนวความคิดว่าด้วยเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area-AFTA)เสนอโดยไทย ระบบศุลกากรร่วม (Common Effective Preferential Tariff-CEPT)โดยอินโดนีเซีย สามเหลี่ยมแห่งการพัฒนา (Growth Triangle) โดยสิงคโปร์ การจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก (East Asia Economic Group-EAEG) เสนอโดยมาเลเซีย ข้อเสนอ AFTA กับ CEPT ได้ถูกยกเข้าสู่การพิจารณาของที่ประชุมสุดยอดครั้งที่ 4

23 การประชุมสุดยอดครั้งที่ 4 ณ สิงคโปร์
นายอานันท์ ปันยารชุนผู้นำไทยได้เสนอให้พิจารณาเรื่อง AFTA อย่างจริงจัง การตกลงใช้ระบบศุลกากรร่วม (CEPT) เป็นกลไกสำคัญที่จะนำไปสู่เขตการค้าเสรีอาเซียน พัฒนาให้อาเซียนเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุนจากภายนอกพร้อมกับการเป็นตลาดร่วม (Common Market) ในระดับหนึ่งที่กว้างขวางกว่าเดิม ขั้นตอนของ CEPT จะแบ่งสินค้าออกเป็น 2 ประเภทตามความจำเป็นเร่งด่วนในการลดภาษี กลุ่มเร่งด่วน (Fast Track) อย่างน้ำมัน เคมีภัณฑ์ ปุ๋ย สิ่งทอ ฯลฯ ทั้งหมด 15 ชนิด ส่วนกลุ่มปกติ (Normal Track) สินค้าอื่นๆนอกจากกลุ่มแรกที่ยกเว้นสินค้าเกษตร

24 การประชุมสุดยอดครั้งที่ 4 ณ สิงคโปร์
การสถาปนาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้เป็นเขตแห่งสันติภาพ เสรีภาพ และความเป็นกลาง (ZOPFAN) การจัดตั้งเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asian Nuclear Weapons Free Zone-SEANWFZ) ค.ศ.1995 เวียดนามได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกลำดับที่ 7 ของอาเซียน

25 การประชุมสุดยอดครั้งที่ 5 ณ กรุงเทพ ประเทศไทย
การประชุมในปีค.ศ.1995 ครั้งนี้ถือเป็นครั้งสำคัญของพัฒนาการอาเซียน เนื่องจากเป็นครั้งแรกที่เวียดนามได้เข้าร่วมในฐานะสมาชิกอาเซียนอย่างสมบูรณ์ “อาเซียน สู่ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” (ASEAN Towards One Southeast Asia) มีการริเริ่มการหารือกันของเวทีระหว่างประเทศในนาม “การประชุมเอเชีย-ยุโรป” (Asia-Europe Meeting-ASEM) ซึ่งเป็นการเชื่อมเอเชียกับยุโรปเข้าหากัน

26 หลักการไม่แทรกแซงกิจการภายในและกลไกฉันทามติกับการเข้าเป็นสมาชิกของพม่าในปีค.ศ.1997
จุดมุ่งหมายของการรวมกลุ่มอาเซียนที่เป็นการพยายามลดบทบาททางการทหารและทางการเมืองของประเทศนอกภูมิภาคต่างๆ ทศวรรษ พม่าได้ประกาศกฎอัยการศึกกวาดล้างกลุ่มที่เรียกร้องประชาธิปไตยและจัดตั้ง State Law and Order Council (SLORC) เพื่อปกครองประเทศ การเข้าเป็นส่วนหนึ่งในอาเซียนของพม่าได้ส่งผลให้เกิดความตึงเครียดกับความสัมพันธ์ภายนอกประเทศ อีกทั้งยังทำให้ภาพลักษณ์และอำนาจของอาเซียนลดลงไปอย่างมาก

27 วิกฤติเศรษฐกิจปีค.ศ.1997 กับทิศทางของประชาคมอาเซียนจนถึงปีค.ศ.2004
ได้รับลาวเข้าเป็นสมาชิกในลำดับที่ 8 ส่วนกัมพูชาจะกลายเป็นสมาชิกในลำดับที่ 10 ในปีค.ศ.1999 ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II) ในที่ประชุมสุดยอดเมื่อปีค.ศ.2003 ภายใต้ 3 เสาหลัก

28 วิกฤติเศรษฐกิจปีค.ศ.1997 กับทิศทางของประชาคมอาเซียนจนถึงปีค.ศ.2004
“ความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN Intregation: IAI) วิสัยทัศน์อาเซียน 2020 ที่เปลี่ยนมาเป็น 2015 ในภายหลัง มีจุดหมายที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) แผนปฏิบัติการฮานอยและแผนปฏิบัติการ 5 ปีของอาเซียน ความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน (IAI) แผนการบรูณาการอาเซียน (Road Map for the Integration of ASEAN-RIA)

29 ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับจีนและญี่ปุ่น
  ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับจีนและญี่ปุ่น ปฏิญญาโตเกียว (Tokyo Declaration) กับอาเซียน การร่วมมือใน อาเซียน+3 (ASEAN Plus Three-APT)

30 ลำดับการเข้าเป็นสมาชิกของ 10 ประเทศอาเซียน
พ.ศ. 2510    มาเลเซีย  ฟิลิปปินส์  ไทย  อินโดนีเซีย สิงคโปร์  ร่วมกันก่อตั้งอาเซียน พ.ศ. 2527 บรูไนดารุสซาลาม  เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2538  สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม  เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540  สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์  เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ราชอาณาจักรกัมพูชา  เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 9 เมษายน

31 ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และเกาหลี
 ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และเกาหลี

32 ความร่วมมือของอาเซียนกับกลุ่มภูมิภาคต่างๆ

33

34 ลำดับผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียน
1. H.R. Darsono (ฮาร์โตโน เร็กโซ ดาร์โซโน) อินโดนีเซีย 7 มิถุนายน กุมภาพันธ์ 2521 2. Umarjadi Notowijono (อูมาจาร์ดี โนโตวิโจโน) อินโดนีเซีย 19 กุมภาพันธ์ มิถุนายน 2521 3. Datuk Ali Bin Abdullah (ดาโต๊ะอาลี บิน อับดุลลาห์) อินโดนีเซีย 10 กรกฎาคม มิถุนายน 2523

35 ลำดับผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียน
4. Narciso G. Reyes (นาซิโซ จี เรเยส) ฟิลิปปินส์ 1 กรกฎาคม กรกฎาคม 2525 5. Chan Kai Yau สิงคโปร์ 18 กรกฎาคม กรกฎาคม 2527 6. Phan Wannamethee (นายแผน วรรณเมธี) ไทย 16 กรกฎาคม กรกฎาคม 2529

36 ลำดับผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียน
7. Roderick Yong (รอดเดอริก ยอง) บรูไนดารุสซาลาม 16 กรกฎาคม กรกฎาคม 2532 8. Rusli Noor (รุสลี นูร์) อินโดนีเซีย 17 กรกฎาคม มกราคม 2536 9. Dato Ajit Singh (ดาโต๊ะ อาจิต ซิงห์) มาเลเซีย 1 มกราคม ธันวาคม 2540

37 ลำดับผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียน
Rodolfo C. Severino Jr. ฟิลิปปินส์ 1 มกราคม ธันวาคม 2545 Ong Keng Yong (ออง เค็ง ยอง) สิงคโปร์ 1 มกราคม ธันวาคม 2550 Dr. Surin Pitsuwan (ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ) ไทย 1 มกราคม ธันวาคม 2555

38 ผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบัน
Le Luong Minh (เล เลือง มินห์ ) เวียดนาม 1 มกราคม พ.ศ ธันวาคม พ.ศ. 2560

39 ประชากรอาเซียน 10 ประเทศ
รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam) มีประชากร ประมาณ 4 แสนคน ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) มีประชากร ประมาณ 15 ล้านคน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People's Democratic Republic) มีประชากร ประมาณ 6.3 ล้านคน สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) มีประชากร ประมาณ 238 ล้านคน

40 ประชากรอาเซียน 10 ประเทศ
มาเลเซีย (Malaysia) มีประชากร ประมาณ 28.9 ล้านคน สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines) มีประชากร ประมาณ 95.7 ล้านคน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (The Republic of the Union of Myanmar) มีประชากร ประมาณ 54 ล้านคน

41 ประชากรอาเซียน 10 ประเทศ
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore) มีประชากร ประมาณ 5.2 ล้านคน ราชอาณาจักรไทย (Thailand) มีประชากร ประมาณ 69.5 ล้านคน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) 87.9 ล้านคน

42 ประชากรอาเซียน 10 ประเทศ ประมาณ 601 ล้านคน

43 อาเซียนกับการขยายสมาชิก

44 อาเซียน+ 6

45

46 อาเซียน+ 9

47 จบ. อาเซียน


ดาวน์โหลด ppt ASEAN เป็นองค์การระดับภูมิภาค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google