งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คุณสมบัติและการเลือกซื้อเครื่องฉาย Projector

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คุณสมบัติและการเลือกซื้อเครื่องฉาย Projector"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คุณสมบัติและการเลือกซื้อเครื่องฉาย Projector
ดำรัส อ่อนเฉวียง

2 ในการเลือกซื้อโปรเจคเตอร์นั้นก็ต้องถามก่อนว่าจะนำโปรเจคเตอร์ไปใช้ในงานประเภทไหนเช่น  ใช้ในการนำเสนองานตามสถานที่ต่างๆ  , ใช้ติดตั้งถาวรในห้องประชุม , นำมาฉายภาพยนตร์ภายในบ้านหรือการใช้งานในประเภทอื่นๆ  ต่อไปนี้จะเป็นรายละเอียดต่างๆที่ควรพิจารณาในการเลือกซื้อโปรเจคเตอร์  

3 ข้อพิจารณาเบื้องต้น 1. เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงภาพ (Principle and Structure) 2. หลอดฉาย (Lamp) 3. เลนส์ฉาย(Lens) 4. ขนาด (Size) 5. ราคา (Cost) 6. รายละเอียดในการแสดงผลภาพ (Resolution) 7.  การควบคุมการใช้งาน (The control) 8. ความสว่าง(Brightness) 9. ความตัดกันของภาพ (Contrast) 10. การแก้ไขการผิดส่วนของภาพ (Distortion Correction) 11. การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ (Regulation)

4 เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงภาพ (Principle and Structure)
ขนาดที่สามารถทำให้เล็กกว่าจนสามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างสะดวก ความละเอียดสูงๆ การเปลี่ยนแปลงภาพอย่างนุ่มนวล การเกลี่ยแสง (Uniformity) ค่าความต่างแสง (Contrast Ratio) สีสมจริง สามารถให้ความอิ่มของสีต่างๆได้ดี การรองรับสัญญาณภาพระบบ Digital

5 ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยี DLP vs LCD vs LCOS
DLP (Digital Light Processing) LCD (Liquid Crystal Display) LCOS (Liquid Crystal on Silicon) เทคโนโลยีในการให้ภาพ DLP ใช้การสร้างภาพด้วยชิพเพียงชิ้นเดียวที่เรียกว่า DMD Chip ซึ่งภายในจะประกอบด้วยกระจกขนาดเล็กๆ จำนวนมาก แต่ละชิ้นของกระจกจะแทนจุดแสงใน  แต่ละพิกเซลเมื่อมีแสงจากหลอดไฟมาตกกระทบกระจกนั้น จะเอียงรับแสงและสะท้อนทำให้เกิดภาพที่จอภาพ LCD ใช้ของเหลวในการกำเนิดแสง เมื่อแสงส่องผ่าน กระจกสะท้อนกรองสีซึ่งทำหน้าที่แยกแสง ออกเป็น 3 แม่สี (RGB) เพื่อผ่านแสงไปยัง LCD Panel แต่ละชุด โดยจะประกอบด้วยจำนวน แผงพิกเซลเล็กๆ มากมาย แต่ละพิกเซลอาศัยการควบคุม จากสัญญาณภาพวีดีโอภายนอกในการเปิดหรือปิดพิกเซล การใช้ คริสตัลเหลว มาวางบน พื้นที่เป็นซิลิกอน LCOS (Liquid Crystal On Silicon) เป็นเทคโนโลยีที่ถูกผลิตขึ้นโดยใช้แนวคิดในการการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีของ LCD กับระบบของการสะท้อนแสงที่ใช้ในระบบ DLP โดยเราจึงได้ข้อดีจากทั้งสองระบบรวมกัน

6 ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยี DLP vs LCD vs LCOS
DLP (Digital Light Processing) LCD (Liquid Crystal Display) LCOS (Liquid Crystal on Silicon) การเปลี่ยนแปลงภาพอย่างนุ่มนวล ใช้ดีกับงานนำเสนอจากคอมพิวเตอร์ แต่ถ้าฉายวิดีโอ หรือภาพเคลื่อนไหวไม่ดี เป็นเทคโนโลยีที่ให้คุณภาพที่เหมือนจริงที่สุดสำหรับงานที่ใช้กับสัญญาณวิดีโอ ทำให้การตอบสนองต่อการให้กำเนิดภาพเคลื่อนไหวเป็นไปอย่างรวดเร็วกว่า

7 ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยี DLP vs LCD vs LCOS
DLP (Digital Light Processing) LCD (Liquid Crystal Display) LCOS (Liquid Crystal on Silicon) ความสว่าง (Brightness) DLP สามารถให้ความสว่างที่สูงกว่าในขณะที่ขนาด เครื่องเล็กและน้ำหนักเบา LCD สามารถให้ความสว่างได้สูงตั้งแต่ ANSI ขึ้นไป แต่ขนาดเครื่องก็จะมีขนาดใหญ่ตามไปด้วย ให้ความสว่าง (Brightness) สูงถึง 2500lumens

8 ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยี DLP vs LCD vs LCOS
DLP (Digital Light Processing) LCD (Liquid Crystal Display) LCOS (Liquid Crystal on Silicon) การเกลี่ยแสง (Uniformity) ความสามารถในการเกลี่ยแสง (Uniformity) ดีกว่า LCD การเกลี่ยแสง (Uniformity) สามารถเกลี่ยแสงได้ไม่ดีเท่ากับ DLP เมื่ออายุหลอดมาก ยิ่งไม่สว่าง ความสามารถในการเกลี่ยแสง (Uniformity) ดีกว่า DLP และLCD

9 ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยี DLP vs LCD vs LCOS
DLP (Digital Light Processing) LCD (Liquid Crystal Display) LCOS (Liquid Crystal on Silicon) ความต่างแสง(Contrast Ratio) DLP มีการให้ค่าความต่างสี (Contrast Ratio) และ การไล่ระดับ Gray Scale ที่ให้คุณภาพดีกว่า LCD ให้ค่าความต่างสี (Contrast Ratio) ยังอยู่ในระดับไม่สูงมากนัก การไล่ระดับ Gray Scale ยังทำได้ไม่เด่นชัดนัก LCOS ให้ค่าความต่างสี (Contrast Ratio) สูงมาก

10 ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยี DLP vs LCD vs LCOS
DLP (Digital Light Processing) LCD (Liquid Crystal Display) LCOS (Liquid Crystal on Silicon) การรับสัญญาณภาพ DLP เป็นระบบ Digital จึงทำให้การรองรับสัญญาณภาพ ที่เป็นระบบ Digital ได้ดี สามารถรองรับได้แต่ ่ไม่ดีเท่า DLP เนื่องจาก LCD ไม่ใช่ระบบ Digital เป็นระบบ Digital จึงทำให้การรองรับสัญญาณภาพที่เป็นระบบ Digital ได้ดี

11 ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยี DLP vs LCD vs LCOS
DLP (Digital Light Processing) LCD (Liquid Crystal Display) LCOS (Liquid Crystal on Silicon) ขนาดและน้ำหนัก DLP ใช้เทคโนโลยีการสร้างภาพโดยใช้ชิพเพียงชิ้นเดียว จึงทำให้เครื่องมีขนาดเล็ก และน้ำหนักเบากว่า LCD ต้องใช้พื้นในการแสดงภาพมากจึงทำให้เครื่องมีขนาดใหญ่ และมีน้ำหนักมากกว่า DLP ความละเอียดที่สูงมาก ขณะที่ตัวเครื่อง โปรเจกเตอร์มีขนาดเล็กลง

12 ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยี DLP vs LCD vs LCOS
DLP (Digital Light Processing) LCD (Liquid Crystal Display) LCOS (Liquid Crystal on Silicon) ราคา 35,000 บาท ขึ้นไป 28,000 บาท ขึ้นไป 85,000 บาท ขึ้นไป

13 ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยี DLP vs LCD vs LCOS
DLP (Digital Light Processing) LCD (Liquid Crystal Display) LCOS (Liquid Crystal on Silicon) คุณภาพของภาพโดยรวม DLP สามารถแสดงภาพได้ละเอียดมากกว่า LCD เนื่องจาก แต่ละพิกเซลที่เรียงกันมีความชิดกันมากกว่า ทำให้ภาพที่ออกว่ามีความนุ่มนวลมากกว่า การแสดงภาพของ LCD จุดเด่นคือ สามารถให้ความอิ่มของสีต่างๆ ได้ดีกว่า หรือให้สีที่สดกว่า DLP จึงเหมาะสำหรับการใช้งานในห้องที่มีขนาดใหญ่ เมื่อเปรียบเทียบกับการให้กำเนิดภาพจาก LCD แบบแสงส่องผ่าน ภาพที่ได้จาก LCOS จะมองไม่เห็นรอยต่อพิกเซล และ เนียนเรียบกว่า คมชัดกว่า และ ภาพสีดำก็จะดำเข้มกว่า

14 เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงภาพ
CRT (Cathode Ray Tube) CRT น่าจะเป็นเทคโนโลยีที่ให้คุณภาพที่เหมือนจริงที่สุดสำหรับงานที่ใช้กับสัญญาณวิดีโอ LCD(Liquid Crystal Display)  contrast ถึง 800 : 1 DLP(Digital Light Processing) ใช้ดีกับงานนำเสนอจากคอมพิวเตอร์ แต่ถ้าฉายวิดีโอ หรือภาพเคลื่นไหวไม่ดี LCos (Liquid Crystal on Silicon) แก้ไขข้อด้อยของเทคโนโลยีระหว่าง LCD และ DLP D-ILA  (Direct-Drive Image Light Amplifier) บีบอัดจำนวน pixel ได้ถึง 3.1 ล้าน pixel  จึงทำให้ได้ภาพที่มีรายละเอียดที่ดีมาก

15 หลอดฉาย(Lamp)  โปรเจคเตอร์หลายรุ่นที่วางจำหน่ายอยู่ด้วยราคาไม่ถึง 20,000 บาท  หลอดภาพมีราคาที่มากกว่า 10,000 บาทขึ้นไป โปรเจคเตอร์มีระยะเวลาที่ต้องการการเปลี่ยนหลอดภาพและโปรเจคเตอร์มีอุปกรณ์กรองอากาศ (Air Filters) ซึ่งก็ต้องการการทำความสะอาดทุกๆเดือนหรือสองเดือน  โดยทั่วไปหลอดภาพมักมีอายุการใช้งานนานประมาณ 2000 ชั่วโมง  โปรเจคเตอร์บางตัวที่มีระบบประหยัดพลังงาน (Economic Mode)

16 หลอดฉาย(Lamp)  ความสว่างทั่วทั้งจอภาพสว่างโดยสม่ำเสมอหรือไม่และมีค่าเท่าใด ค่าดังกล่าวเรียกว่า uniformity หรือ uniformity brightness ไม่เกิน 90 % ความสว่างที่เกิดจากการจุดหลอดฉายที่สำพันธ์กับค่าแรงดันไฟฟ้า จำนวนหลอดฉายที่ใช้  อายุการใช้งานของหลอดฉาย และราคาของหลอดฉาย

17 เลนส์ ( Lens ) อัตราการซูม(Zoom Ratio)
ระบบเลนส์ขยายภาพ (Zoom Lens) ทำให้โปรเจคเตอร์สามารถฉายภาพขนาดใหญ่ขึ้นหรือเล็กลงได้โดยการเลื่อนตำแหน่งของเลนส์ที่ตัวเครื่องโปรเจคเตอร์ โปรเจคเตอร์บางรุ่นมีระบบขยายภาพเป็น 1.2:1 หรือบางทีก็บอกมาเป็น 1.2x ซึ่งหมายความว่าสามารถปรับขยายขนาดภาพให้ใหญ่ขึ้นได้ 20 Optical Zoom & Digital Zoom

18 เลนส์ ( Lens ) Lens Shift การใช้เลนส์ Lens Shift ในการปรับตำแหน่งภาพยังผลให้ได้ภาพตรงตามตำแหน่งที่ต้องการและยังให้ภาพที่มีคุณภาพดีด้วยเนื่องจากเป็นการปรับที่ตัวเลนส์โดยตรง ระบบ Lens Shift ให้ภาพที่ดีกว่าระบบการปรับภาพสี่เหลี่ยมคางหมู (Digital Keystone Correction) เนื่องจากการปรับภาพสี่เหลี่ยมคางหมูเป็นการปรับภาพด้วยระบบ Digital ซึ่งมีการทำงานเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง การบีบขนาดและการขยายจำนวนพิกเซล (Pixels) ของภาพ โปรเจคเตอร์ที่มีการติดตั้งคุณสมบัติ Lens Shift มาด้วยก็จะมีราคาที่สูงสิ่งที่จะได้จาก Lens Shift นอกจากจะสามารถปรับตำแหน่งภาพได้ให้พอดีกับจอรับภาพโดยไม่ต้องวางตัวเครื่องโปรเจคเตอร์ให้อยู่บริเวณตรงกลางจอรับภาพแล้วยังไม่จำเป็นต้องปรับ Keystone อีก

19

20 เลนส์ ( Lens ) Lens Shift การใช้เลนส์ Lens Shift ในการปรับตำแหน่งภาพยังผลให้ได้ภาพตรงตามตำแหน่งที่ต้องการและยังให้ภาพที่มีคุณภาพดีด้วยเนื่องจากเป็นการปรับที่ตัวเลนส์โดยตรง ระบบ Lens Shift ให้ภาพที่ดีกว่าระบบการปรับภาพสี่เหลี่ยมคางหมู (Digital Keystone Correction) เนื่องจากการปรับภาพสี่เหลี่ยมคางหมูเป็นการปรับภาพด้วยระบบ Digital ซึ่งมีการทำงานเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง การบีบขนาดและการขยายจำนวนพิกเซล (Pixels) ของภาพ ความไวแสงของเลนส์ ค่าไวแสงมากขึ้น ทำให้การใช้งานมีความสว่างของภาพมากขึ้น เลนส์ควบแสง (Condenser Lens)

21 เลนส์ ( Lens ) Throw Ratio เป็นอัตราส่วนระหว่างระยะทางกับความกว้างของขนาดภาพ ขนาดของภาพจึงสัมพันธ์ระยะห่างของโปรเจคเตอร์กับจอรับภาพ (Throw Distance) Throw Ratio = Throw Distance / Image Width

22 ขนาด (Size) ขนาด ติดตั้งประจำที่(stationary)  ขนาดเคลื่อนย้ายได้(portable)จะมีขนาดที่มีน้ำหนักประมาณ กิโลกรัม  ขนาด Ultra Portable หรือ Mobile Projector จะมีน้ำหนักประมาณ ไม่เกิน 5 กิโลกรัม น้ำหนัก (Weight) ในกรณีที่ต้องมีการเคลื่อนย้ายโปรเจคเตอร์บ่อยๆก็ควรเลือกโปรเจคเตอร์ที่มีน้ำหนักเบาเข้าไว้  เดี๋ยวนี้โปรเจคเตอร์ขนาดเล็กมีน้ำหนักเพียง 0.9 กิโลกรัมเท่านั้นและราคาก็ไม่แพงอีกด้วย

23 5. ราคา (Cost)  เครื่องฉายมีหลายราคา สำหรับงานหลายระดับ การเลือกย่อมต้องพิจารณาหลาย ๆ องค์ประกอบด้วย ไม่ใช่ไปหลงใหลได้ปลื้มกับเครื่องราคาถูก มิฉะนั้นเครื่องราคาแพงคงขายไม่ได้ ในทางกลับกันถ้าเป็นงานที่ใช้อย่างธรรมดา ไม่ได้พิถีพิถันมากนัก เครื่องราคาไม่ถึงแสนบาทก็อาจจะเหมาะสมแล้ว 

24 ความละเอียดในการแสดงผลภาพ (Resolution)
SVGA (Super Video Graphics Arrays) เป็นรายละเอียดของภาพที่กำลังมีแนวโน้มจะหมดไป  มาตรฐานรายละเอียดของภาพจะอยู่ที่ 800 X 600 pixels  เครื่องฉายที่มีการแสดงผลภาพที่มีรายละเอียดในระดับ SVGA ถือว่าเป็นเครื่องที่มีระดับคุณภาพต่ำสุดในปัจจุบันเพราะว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันแทบจะไม่มีใครพูดถึงรายละเอียดระดับ SVGA กันอีกแล้ว XGA(Extended Graphics Array) จะมีมาตรฐานรายละเอียดที่ระดับ 1024 X 768 pixels จะได้จำนวนพิกเซลทั้งหมดที่ 783,360 WXGA เป็นรายละเอียดที่ระดับ 1,366 X 768 pixels ซึ่งจะได้จำนวนพิกเซลที่แสดงเป็นจำนวน 1,049,088

25 ความละเอียด SXGA(Super Extended Graphics Array)  จะมีมาตรฐานรายละเอียดของภาพที่ 1280 X 1024 pixels WSXGA (1920x1080) UXGA(Ultra eXtended Graphics Array) จะมีมาตรฐานรายละเอียดของภาพที่ 1600 X 1200(บางเครื่องอาจจะได้มากกว่าเล็กน้อยที่ 1600 X 1280 pixels) มีจำนวนพิกเซลที่ 1,920,000 เครื่องฉายที่มีรายละเอียดระดับ UXGA ยังมีค่อนข้างน้อย ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องที่ออกแบบมาใช้ในโรงภาพยนตร์ ซึ่งมีราคาแพงมาก

26 ความละเอียด VGA 480 x 640 SVGA 800 x 600 XGA 1024 x 768 SXGA
UXGA 1600 x 1200 QXGA 2048 x 1536

27

28 การควบคุมการใช้งาน (The control)
ระบบรีโมทคอนโทรลจะช่วยให้การควบคุมการทำงานของ Projector, การปรับความคมชัดของภาพ หรือการปรับแต่งอื่นๆ สามารถทำได้ง่ายขึ้นซึ่งจะทำการจากมุมใดมุมหนึ่งในห้องก็ได้  อุปกรณ์การควบคุมหรือที่เรียกว่ารีโมท(remote) ในปัจจุบันเป็นแบบไร้สาย และบางยี่ห้อบางรุ่นสามารถใช้แบบไร้สายได้ หน้าที่ที่ต้องการนั้นสะดวกเพียงใด จะต้องกลับไปที่เมนูหลักหรือไม่

29 ความสว่าง(Brightness)
ความสว่างของเครื่องฉายจะใช้หน่วยเป็น ลูเมน(Lumen) ซึ่งหมายถึงความสว่างที่เครื่องฉายเปล่งแสงออกมา  การเลือกความสว่างของเครื่องฉายควรพิจารณา ขนาดของภาพที่ต้องการ จำนวนแสงสว่างที่มีอยู่ในห้องนั้น ประเภทของจอฉายที่ใช้ ANSI (American National Standards Institute) lumens คือมาตราที่ใช้ในการวัดค่าความสว่างของโปรเจคเตอร์  ตัวแปรสำคัญในการเลือกค่าความสว่างของโปรเจคเตอร์คือสภาพแวดล้อมของแสงภายในสถานที่ที่จะนำโปรเจคเตอร์ไปใช้งาน  ถ้าสถานที่นั้นมีแสงสว่างมากก็ควรจะเลือกโปรเจคเตอร์ที่มีค่า ANSI  lumens มากขึ้นตามไปด้วยเพราะว่า  การนำโปรเจคเตอร์ที่มีค่า ANSI  lumens น้อยไปฉายในสถานที่ที่มีความสว่างมากจะทำให้เห็นภาพได้ไม่ชัดเจนเท่าที่ควร  ขอแนะนำว่าควรจะเลือกโปรเจคเตอร์ที่มีค่า ANSI  lumens มากที่สุดเท่าที่จะสามารถซื้อได้แต่ราคาก็จะสูงขึ้นตามไปด้วยเช่นกัน  

30 ความสว่าง(Brightness)
ค่าความสว่าง ความเหมาะสม น้อยกว่า 500 ANSI lumens ห้องขนาดเล็ก จำนวนผู้ฟังน้อย ในห้องที่มืด หรือไม่ต้องการแสงสว่าง ,000 ANSI lumens ในห้องประชุมตามสำนักงานต่างๆ หรือในห้องเรียน จำนวนผู้ฟังขนาดกลาง ต้องการแสงสว่าง ในการนำเสนอบ้าง แต่ไม่มากนัก 1, ,500 ANSI lumens ห้องประชุมขนาดใหญ่ หรือในห้องเรียนรวม ฉายในห้องที่มี แสงสว่างปกติ มากกว่า 1,500 ANSI lumens สถานที่ขนาดใหญ่, ตามศูนย์การประชุมต่างๆ ฉายในห้องที่มี แสงสว่างปกติ

31 ที่มา : www.avmaster.com
ลักษณะห้อง ห้องมืด ปรับหรี่แสงได้ ห้องสว่าง ขนาดภาพ/ความสว่าง ANSI Lumens 87.5 ” ( 70 x 52.5 นิ้ว) 500 100″ (80 x 60 นิ้ว) 120″ (96 x 72 นิ้ว) 150″ ( 120 x 90 นิ้ว) 180″ - 200″ 2500 – 3000 ที่มา :

32 ความตัดกันของภาพ (Contrast)
เครื่องที่ใช้เทคโนโลยี DLP จะได้ความตัดกันของภาพสูงที่สุด  ส่วนเทคโนโลยี LCD ได้ความตัดกันของภาพต่ำสุด  การเลือกเครื่องที่มีความตัดกันของภาพสูงจะให้คุณภาพของภาพที่ดียิ่งขึ้นโดยเฉพาะอย่างที่เป็นยิ่งภาพถ่ายหรือภาพวิดีโอ     ในปัจจุบันเครื่อง LCD ก็มีความตัดกันของภาพที่ดีพอสมควรคือมากกว่า 400 :1

33 ค่า Contrast เป็นค่าอัตราส่วนระหว่างความขาวและความดำของภาพ ยิ่งมีค่ามากก็ดี แต่จะดูตามตัวเลขเพียงอย่างเดียวไม่ได้ เนื่องจากแต่ละยี่ห้อมีมาตรฐานในการวัดไม่เหมือนกัน ควรทดลองใช้ เปิดเปรียบเทียบกัน

34 การแก้ไขการผิดส่วนของภาพ (Distortion Correction)
การแก้ไขภาพผิดส่วน(Keystone effect  หรือ digital keystone correction) ไม่ได้เป็นจุดขายของเครื่องฉายดิจิตอลอีกต่อไป เพราะว่าเครื่องทั่วไปก็ทำได้อยู่แล้ว และมีจำนวนมากขึ้นที่สามารถแก้ไขภาพผิดส่วนได้ทั้งแนวตั้ง(Vertical) และแนวนอน(Horizontal) โดยถ้ามีองศาสำหรับปรับ ยิ่งมากยิ่งดี

35 Keystone Correction การปรับความเพี้ยนของภาพที่เป็นสี่เหลี่ยมคางหมู (Key stone correction) ในกรณีที่เครื่องฉายอยู่สูงหรือต่ำกว่าขอบจอมาก ๆ

36 Keystone Correction

37 Keystone Correction

38 อัตราส่วนภาพ (Aspect Ratio)

39 อัตราส่วนภาพ (Aspect Ratio)
16 9 Aspect Ratio เทียม แท้

40 ขนาดและสัดส่วนของจอภาพ
สัดส่วนภาพ ขนาดภาพ 4:3/1.33:1 NTSC Video  16:9/1.78:1 High Definition (HDTV) 1.85:1 Widescreen 2.35:1 Cinemascope Widescreen

41 ระบบ Picture in Picture
ระบบในการซ้อนภาพไว้ด้วยกัน ซึ่งระบบนี้คงจะไม่เหมาะสำหรับผู้ที่จะนำโปรเจ็กเตอร์มาใช้งานเพื่อความบันเทิง แต่จะเหมาะสำหรับผู้ที่ใช้งานออฟฟิศหรือการนำเสนองานมากกว่า และระบบนี้จะใช้งานได้ก็ต่อเมื่อเครื่องโปรเจ็กเตอร์สามารถต่อแหล่งข้อมูลได้มากกว่าหนึ่งแหล่ง

42 ระบบ Wireless เนื่องจากปัจจุบันระบบไวร์เลส มีมาใช้งานกันอย่างกว้างขวางและตัวเทคโนโลยีของเครื่องโปรเจ็กเตอร์เองก็สามารถทำได้อยู่เหมือนกัน โดยผู้ใช้งานสามารถนำเสนอผลงานจากที่ใดๆ ของห้องให้ออกสู่เครื่องโปรเจ็กเตอร์ได้โดยไม่ต้องต่อสายให้วุ่นวาย ซึ่งจะทำให้เกิดความสะดวกในการใช้งานเป็นอย่างยิ่ง แต่เครื่องที่สามารถใช้งานกับระบบไวร์เลส ได้นั้นยังมีไม่มากเท่าไร และราคาจะค่อนข้างสูงอยู่พอสมควร เชื่อมต่อสายสัญญาณภาพหรือสายสัญญาณเสียงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยเทคโนโลยี b/g

43 ระบบการเชื่อมต่อ (Connectivity)
VGA, Mini D-Sub 15 Pin ช่องสัญญาณภาพ Computer Component Video, RGB ช่องสัญญาณภาพให้ความคมชัดสูงกว่าช่อง video และ S-Video S-Video ช่องสัญญาณภาพให้ความคมชัดสูงกว่าช่อง Video Composite Video ช่องสีเหลืองคือสัญญาณภาพ (video), ช่องแดงและขาวคือสัญญาณเสียง (audio) DVI (Digital Video Interface) ช่องสัญญาณเฉพาะระบบ digital Scart ( เป็น port สำหรับสัญญาณดาวเทียมระบบ digital สามารถใช้ในการแปลงสัญญาณไปสู่ระบบ Composite หรือ S-Video) HDMI  ช่องสัญญาณดิจิตอลสำหรับสัญญาณภาพและสัญญาณเสียง

44 การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ (Regulation)
การรับรองมาตรฐานไม่ใช่รับรองตราสินค้า แต่ต้องรับรองรุ่นที่ผ่านการทดสอบ  มาตรฐานที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางได้แก่  UL(UL 1950),CSA950(cUL) , DHHS,  DNHW, FCC Class A, FCC Class B, IC Class A, NEMKO, CE(LVD, EMC), C-Tick, CCC, VCCI Class B, CEBEC และ JEIDA เป็นต้น  ข้อมูลอาจจะตรวจสอบมาตรฐานของบางสถาบัน เช่นของ UL ได้บน internet  ที่ URL : เป็นต้น

45 สินค้าจ้างผลิต (Rebadging)
3M  A+K  ASK(*) AVIO  Barco(*) BenQ(*)  Boxlight  Canon  Christie(*)  Compaq (HP)  Dell  Delta  Digital Projection(*) Dream Vision  Dukane  DWIN  EIKI  Elmo(*)  Epson(*) Everest  Faroudja  Fujitsu(*) Gateway  Hitachi(*) HP(*)  IBM  iiyama  InFocus(*) InFocus Home(*)  JVC  Lasergraphics  LG Electronics(*) Liesegang  Lumens  Luxeon(*)  Marantz  Megapower(*) Microtek Mitsubishi(*) Mustek  NEC(*) Optoma(*) Panasonic(*) Panasonic Home(*) Philips(*) PLUS(*) PLUS Home(*) projectiondesign(*)  Proxima  Runco(*)  Samsung  Sanyo (*) Sharp PG Series(*) Sharp XG Series(*) SharpVision(*) SIM2 Multimedia(*) Sony(*) Studio Experience  Toshiba CSG(*) Toshiba TACP(*) Vidikron  ViewSonic  Vivitar  Yamaha(*) Yokogawa  Zenith  (*) มีโรงงานผลิตเองที่แน่ชัด

46 อื่น ๆ ซึ่งยังมีข้อที่สำคัญในการพิจารณาอีกหลายประการ
อื่น ๆ  ซึ่งยังมีข้อที่สำคัญในการพิจารณาอีกหลายประการ ลักษณะการใช้งาน   สัญญาณต่อเข้า(input panel)  สัญญาณต่อออก(output)  ระบบนำเสนอภาพหลายภาพบนจอเดียวกัน (picture in picture) การประกันคุณภาพ(warranty) สัดส่วนของภาพที่ปรากฏ(Aspect ratio) อุปกรณ์เสริม   สำหรับอุปกรณ์เสริม


ดาวน์โหลด ppt คุณสมบัติและการเลือกซื้อเครื่องฉาย Projector

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google