ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โครงสร้างการทำงานแบบวนซ้ำ
อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2
เนื้อหาที่สนใจ โครงสร้างการทำงานแบบวนซ้ำ (Repetition structure)
การกำหนดให้วนซ้ำ (Loop) การวนซ้ำตลอดไป การกำหนดจำนวนรอบในการทำงาน การกำหนดเงื่อนไขในการทำงาน การควบคุมสถานะแบบซ้อนภายใน หยุดการทำงานด้วยคำสั่ง break การทำต่อรอบถัดไปด้วยคำสั่ง continue ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมวนซ้ำด้วยคำสั่ง for(), while(), do…while()
3
โครงสร้างการทำงานแบบวนซ้ำ (Repetition structure)
โครงสร้างการทำงานแบบวนซ้ำ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ด้วยการทำงานซ้ำ (Loop) ตามเงื่อนไขที่กำหนด รูปแบบการประมวลผลแบบอัตโนมัติ ลักษณะการทำงานของโครงสร้างแบบวนซ้ำมี 3 แบบ For Loop While Loop Do…while การหยุดการทำงานตามเงื่อนไข หรือข้ามการทำงาน เงื่อนไขที่ให้ออกจากลูป
4
การกำหนดให้วนซ้ำ (Loop)
การวนซ้ำขึ้นอยู่กับเงื่อนไขและข้อตกลง ที่ช่วยตัดสินใจว่าวนทำงานซ้ำหรือไม่ กำหนดจุดเริ่มต้นหรือค่าเริ่มต้น การวนซ้ำ ช่วยให้ทำงานซ้ำตามรูปแบบที่กำหนดได้ ใช้ตัวนับ การเพิ่มหรือลดตามรูปแบบทางคณิตศาสตร์ ใช้การกำหนดสถานะ ด้วยตัวแปรสถานะ และปรับเปลี่ยนค่าสถานะ ใช้เวลาเป็นตัวกำหนด เป็นต้น จุดสิ้นสุด ขึ้นกับการตรวจสอบเงื่อนไขทั้งจริงและเท็จ ทำจนเสร็จ (end) หยุดการทำงาน(break) หรือ ทำต่อรอบถัดไป (continue) ทำงานตลอดไป (Forever)
5
การวนซ้ำตลอดไป รูปแบบการแสดงผล * เปรียบเหมือนการให้ทำงานตลอดเวลา ไม่มีหยุด while loop For loop Do while loop
6
การกำหนดจำนวนรอบในการทำงาน
- ตัวนับ ให้ทำงาน 15 ครั้ง - ค่าเริ่มต้น โดยกดนับ 1 ครั้ง เพิ่มค่าทีละ 1 - เงื่อนไขจนกว่าจะครบ 15 ครั้ง
7
การกำหนดเงื่อนไขในการทำงาน
กำหนดจุดตรวจตรา ทำจนกว่าจะเสร็จ ไม่สามารถระบุจำนวนรอบได้ หาค่าผลบวกเลขตั้งแต่ ที่เท่ากับหรือใกล้เคียงกับ 100
8
การควบคุมสถานะแบบซ้อนภายใน
การตรวจสอบเงื่อนไขภายใน เปลี่ยนแปลงค่าให้ไม่ตรงตามเงื่อนไขการวนซ้ำ รูปแบบการดำเนินการก่อน แล้วจึงตัดสินใจในการวนซ้ำ (x>20) หยุด
9
หยุดการทำงานด้วย break
#include <stdio.h> #include <conio.h> #include <stdlib.h> void main(){ int r ; for(;;){ r= rand() % 25; printf("random=%d\n",r); if(r==0){ printf("random Stop!"); break; } getch();
10
การทำต่อรอบถัดไปด้วย continue
#include <stdio.h> #include <conio.h> #include <stdlib.h> void main(){ int r ; for(;;){ r= rand() % 25; printf("random=%d\n",r); if(r==0){ printf("random continue?"); getch(); continue; }
11
การแสดงสูตรคูณแม่ 2 ด้วย For Loop
รูปแบบ 2xR=O คือ ผลลัพธ์ในแต่ละรอบ ซึ่ง R เริ่มตั้งแต่ 1-12
12
การวนรับค่าจำนวนเต็มด้วย For Loop
รูปแบบการแสดงผลและรับค่าผ่านตัวแปร x[i] โดยวนซ้ำ 10 รอบ
13
การคำนวณหาผลบวก 1-1,000,000 ด้วย For Loop
รูปแบบการบวกและจัดเก็บที่ตัวแปร sum โดยวนซ้ำ 1,000,000 รอบ 1+2+3
14
การคำนวณหาผลบวกของเลขคู่ตั้งแต่ 1-100
#include <stdio.h> #include <conio.h> void main(){ int sum=0; for(int i=2;i<=100;i+=2){ sum+=i; } printf("summation Even number 1 to 100 =%d",sum); getch();
15
การคำนวณหาผลบวกของเลขคี่ตั้งแต่ 1-100
#include <stdio.h> #include <conio.h> void main(){ int sum=0; for(int i=1;i<=100;i+=2){ sum+=i; } printf("summation Odd number 1 to 100 =%d",sum); getch();
16
การรับค่าตามที่กำหนดด้วย while เพื่อหาค่าเฉลี่ย
รูปแบบการรับค่าและจัดเก็บค่าผลบวกไว้ที่ตัวแปร sum แล้วหาค่าเฉลี่ย
17
การแสดงเครื่องหมาย + 1,000,000 ด้วย while
รูปแบบการแสดงเครื่องหมาย + แล้วตั้งเงื่อนไขในการหยุดทำงาน เงื่อนไขภายในด้วย if() เชื่อมตัวควบคุมด้วย && ใช้ตัวนับผ่านตัวแปร i
18
การซ้อนทับของการวนซ้ำแบบตำแหน่ง (x,y)
รูปแบบการแสดงตำแหน่งของข้อมูลแบบตาราง ผ่านตัวแปร (i,j)
19
การแสดงตารางสูตรคูณแม่ 2-12 โดยใช้ลูปซ้อนลูป
20
การแสดงรายการผ่อนชำระผ่านบัตรเครดิต
21
การแสดงลำดับเลขอนุกรมหลายชั้น
22
การแสดงลำดับเลขอนุกรมหลายชั้น
23
การแสดงลำดับแบบมีค่าแตกต่างเป็นชุด
24
การแสดงผลบวกจากสมการคณิตศาสตร์ด้วยลูป
25
For, while, Do while For(;;){ } While(true) { } do{ } While(true);
break;
26
สรุป การวนซ้ำเป็นโครงสร้างที่จำเป็นในการประมวลผลข้อมูลแบบอัตโนมัติ
ช่วยให้ทำงานตามรูปแบบที่กำหนดซ้ำๆ ได้หลายรอบ โครงสร้างการวนซ้ำของภาษาซีประกอบด้วย for, while และ do…while การวนซ้ำสามารถทำงานได้ตลอดเวลา หรือกำหนดจำนวนรอบที่ชัดเจน ใช้การตรวจตราและเงื่อนไขเพื่อหยุดหรือทำต่อไปได้ การวนซ้ำสามารถประยุกต์กับการทำงานที่มีการกำหนดรูปแบบในการทำงาน ทำให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้แบบอัตโนมัติ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.