งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดทำ มคอ.3 - มคอ.7 ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดทำ มคอ.3 - มคอ.7 ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดทำ มคอ.3 - มคอ.7 ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 21 พฤษภาคม 2555

2 ความเป็นมา NQF TQF ปี 2545 ปี 2552

3 หลักการสำคัญของ TQF เป็นเครื่องมือในการนำแนวนโยบายการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาตามที่กำหนดใน พ.ร.บ การศึกษาแห่งชาติฯ ในส่วนที่เกี่ยวกับมาตรฐานการอุดมศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาสู่การปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม มุ่งเน้นที่ Learning Outcomes ซึ่งเป็นมาตรฐานขั้นต่ำเชิงคุณภาพเพื่อประกันคุณภาพบัณฑิต มุ่งประมวลกฎเกณฑ์และประกาศต่างๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนเข้าไว้ด้วยกันและเชื่อมโยงให้เป็นเรื่องเดียวกัน

4 หลักการสำคัญของ TQF เป็นเครื่องมือการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในการสร้างความเข้าใจและความมั่นใจในกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น นักศึกษา ผู้ปกครอง ผู้ประกอบการ ชุมชน สังคม และสถาบันอื่นๆ ทั้งในและต่างประเทศเกี่ยวกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่คาดว่าจะพึงมี มุ่งให้คุณวุฒิหรือปริญญาของสถาบันใดๆ ของประเทศไทยเป็นที่ยอมรับและเทียบเคียงกันได้กับสถาบันอุดมศึกษาที่ดีทั้งในและต่างประเทศ โดยเปิดโอกาสให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดหลักสูตรตลอดจนกระบวนการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลาย โดยมั่นใจถึงคุณภาพของบัณฑิต ซึ่งจะมีมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่มุ่งหวัง สามารถประกอบอาชีพได้อย่างมีความสุขและภาคภูมิใจ เป็นที่พึงพอใจของนายจ้าง ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต

5 วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นกรอบมาตรฐานให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ให้สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ และเพื่อประโยชน์ต่อการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิในระดับอุดมศึกษา

6 ระดับคุณวุฒิ ระดับที่ 1 อนุปริญญา (3 ปี) ระดับที่ 2 ปริญญาตรี
ระดับที่ 1 อนุปริญญา (3 ปี) ระดับที่ 2 ปริญญาตรี ระดับที่ 3 ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับที่ 4 ปริญญาโท ระดับที่ 5 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ระดับที่ 6 ปริญญาเอก

7 มาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา
หมายถึงกรอบที่กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตในแต่ละคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชาหนึ่ง เพื่อให้หลักประกันว่า บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ มีคุณภาพไม่น้อยกว่าที่กำหนด สถาบันอุดมศึกษาสามารถเพิ่มเติมได้อย่างอิสระ ตามความต้องการหรือเอกลักษณ์ของสถาบัน

8 แนวปฏิบัติตามกรอบ TQF
ให้สถาบันอุดมศึกษาดำเนินการพัฒนา/ปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ ได้ 2 วิธี 1) ใช้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาของระดับคุณวุฒินั้น เป็นแนวทางในการพัฒนา/ปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตร 2) ใช้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นแนวทางในการพัฒนา/ปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตรกรณีที่กระทรวงศึกษาธิการยังมิได้ประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาของระดับคุณวุฒินั้น

9 ขั้นตอนการปฏิบัติตามกรอบ TQF
มคอ.1 (มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา) มคอ.2 (รายละเอียดของหลักสูตร) มคอ.3 (รายละเอียดของรายวิชา) มคอ.5 (รายงานผลการดำเนินการ ของรายวิชา) มคอ.6 ของประสบการณ์ภาคสนาม) มคอ.7 ของหลักสูตร) มคอ.4 (รายละเอียดของ ประสบการณ์ภาคสนาม)

10 มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา

11 มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชาระดับปริญญาตรี (มคอ
มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชาระดับปริญญาตรี (มคอ. 1) ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2552 สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ.2552 สาขาโลจิสติกส์ พ.ศ.2552 สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม พ.ศ.2553 สาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ.2553 สาขาวิชาการบัญชี พ.ศ.2553 สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรห้าปี ) พ.ศ.2554

12 มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชาระดับปริญญาตรี (มคอ
มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชาระดับปริญญาตรี (มคอ. 1) ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว สาขาวิชาภาษาไทย พ.ศ.2554 สาขาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ พ.ศ.2554 สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ พ.ศ.2554 ระดับบัณฑิตศึกษา สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ.2555

13 มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร (Program Specification)

14 มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร
เป็นคำอธิบายภาพรวมของการจัดหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนที่จะทำให้บัณฑิตบรรลุผลการเรียนรู้ของหลักสูตรนั้นๆ ช่วยอธิบายให้นักศึกษาทราบว่าตนต้องเรียนวิชาอะไรบ้าง เข้าใจถึงวิธีการสอน วิธีการเรียนรู้ ตลอดจนวิธีการวัดและประเมินผล ช่วยให้นักศึกษาเลือกเรียนในหลักสูตรที่เหมาะกับรูปแบบการเรียนรู้และความต้องการของตนเองได้ ผู้ใช้บัณฑิตสามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณารับบัณฑิตเข้าทำงาน ใช้ มคอ. 2 แทนเอกสารหลักสูตร อนุมัติโดยสภามหาวิทยาลัย และเสนอ สกอ.รับทราบภายใน 30 วัน

15 มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร
เดิม TQF วัตถุประสงค์ของหลักสูตร กลุ่มเนื้อหาสาระสำคัญ ผลการเรียนรู้ โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา วัตถุประสงค์ของหลักสูตร กลุ่มเนื้อหาสาระสำคัญ โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา

16 ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) คืออะไร
ผลการเรียนรู้ ต้องวัดได้ และครอบคลุมถึงสาระความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา ทักษะหรือความสามารถในการนำความรู้ไปใช้ พฤติกรรม ทัศนคติ แนวคิด ความเชื่อ อุปนิสัย สกอ. กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้อย่างน้อย 5 ด้าน

17 มาตรฐานผลการเรียนรู้ (Domains of Learning)
+ ด้านทักษะพิสัย ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ ด้านความรู้

18 มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification)

19 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. หลักสูตรและประเภทของกระบวนวิชา
1.1 สำหรับหลักสูตร ……….. สาขาวิชา……………………….  สำหรับหลายหลักสูตร 1.2 ประเภทของกระบวนวิชา วิชาศึกษาทั่วไป วิชาเฉพาะ 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบกระบวนวิชาและอาจารย์ผู้สอน 2.1 ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบ …………………………….. 2.2 อาจารย์ผู้สอน (ทุกคน) 3. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่…………ชั้นปีที่……… 4. สถานที่เรียน  ในสถานที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่  นอกสถานที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ระบุ) 5. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์จะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษา เป็นรายบุคคล

20 หมวดที่ 2 ลักษณะและการดำเนินการ
ให้นำแบบฟอร์มเค้าโครงกระบวนวิชามาใส่ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

21 หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา วิธีการสอน วิธีการประเมินผล  1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ  บรรยาย  ปฏิบัติการ  ฝึกปฏิบัติ  อื่นๆ (ระบุ) สอบ  รายงาน  แฟ้มสะสมงาน อื่นๆ ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน การเข้าสอบ และการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย  1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม  1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ  1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  อื่นๆ ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน การเข้าสอบ และการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย

22 หมวดที่ 4 แผนการสอนและการประเมินผล (แบบที่ 1)
1. แผนการสอน สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวนชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน บรรยาย ปฏิบัติการ ฝึกปฏิบัติ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

23 หมวดที่ 4 แผนการสอนและการประเมินผล (แบบที่ 1)
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วน ของการประเมิน หมวดที่ 4 แผนการสอนและการประเมินผล (แบบที่ 2) แผนการสอน (แยกตามบรรยาย ปฏิบัติการ ฝึกปฏิบัติ) แผนการประเมินผลการเรียนรู้

24 หมวดที่ 5 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
ตำราและเอกสารหลัก 2 เอกสารและข้อมูลสำคัญ (ถ้ามี) 3 เอกสารและข้อมูลแนะนำ (ถ้ามี)

25 หมวดที่ 6 การประเมินกระบวนวิชาและกระบวนการปรับปรุง
1 กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของกระบวนวิชาโดยนักศึกษา  แบบประเมินกระบวนวิชา  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน  ข้อเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา  อื่นๆ (ระบุ) 2 กลยุทธ์การประเมินการสอน  แบบประเมินผู้สอน  ผลการสอบ  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้  การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน

26 3 กลไกการปรับปรุงการสอน
 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน  อื่นๆ (ระบุ) 4 กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์กระบวนวิชาของนักศึกษา  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบรายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม  การทวนสอบการให้คะแนนการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยกรรมการวิชาการประจำภาควิชาและคณะ  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 5 การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของกระบวนวิชา  ปรับปรุงกระบวนวิชาในแต่ละปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 ปรับปรุงกระบวนวิชาในแต่ละปี ตามผลการประเมินผู้สอนโดยนักศึกษา ปรับปรุงกระบวนวิชาในช่วงเวลาการปรับปรุงหลักสูตร อื่นๆ (ระบุ)

27 มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)

28 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. หลักสูตรและประเภทของกระบวนวิชา
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. หลักสูตรและประเภทของกระบวนวิชา 1.1 สำหรับหลักสูตร ……….. สาขาวิชา………………………. 1.2 ประเภทของกระบวนวิชา วิชาเอกบังคับ วิชาเอกเลือก 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบกระบวนวิชาและอาจารย์ผู้สอน 2.1 ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบ …………………………….. 2.2 อาจารย์ผู้สอน (ทุกคน) 3. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่…………ชั้นปีที่……… 4. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์จะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

29 หมวดที่ 2 ลักษณะและการดำเนินการ
ให้นำแบบฟอร์มเค้าโครงกระบวนวิชามาใส่ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

30 หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

31 หมวดที่ 4 ลักษณะกิจกรรมการเรียนการสอน
1. กิจกรรมของนักศึกษา 2. รายงานหรืองานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย รายงานหรืองานที่ได้รับมอบหมาย กำหนดส่ง 3. การติดตามผลการเรียนรู้การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม (ตัวอย่าง) - จัดประชุมผู้เกี่ยวข้องในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ทั้งที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนามและที่ปรึกษาเฉพาะเรื่อง ให้นักศึกษานำเสนอการเรียนรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักศึกษาที่ไปฝึกประสบการณ์ภาคสนาม - อาจารย์ชี้นำให้เห็นถึงความสำคัญ และผลกระทบต่อพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่มีต่อการทำงานในอนาคต - การนำผลการประเมินนักศึกษาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม มานำเสนออภิปราย เพื่อเป็นแนวทางในการฝึกประสบการณ์ภาคสนามต่อรุ่นต่อไป - สนับสนุนให้นำโจทย์ที่พบในการฝึกประสบการณ์ภาคสนามมาเป็นกรณีศึกษา หรือโจทย์ในการทำโครงงานระบบสารสนเทศต่อไป

32 4. หน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงในสถานประกอบการที่ดูแลกิจกรรมในภาคสนาม
(ตัวอย่าง) - จัดโปรแกรม ตารางการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา - แนะนำนักศึกษาเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ ข้อปฏิบัติ วัฒนธรรมของหน่วยงาน - แนะนำเครื่องมือ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ ของหน่วยงาน ที่สามารถนำมาใช้เพื่อการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม - แนะนำบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือที่ต้องทำงานร่วมกัน - ติดตามความก้าวหน้า ประเมินผลการทำงานของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม รายงานผลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา - ประสานงาน ประชุมกับอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อให้ความเห็นในการปรับปรุงการทำงานของนักศึกษา 5. หน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศ - ประสานและร่วมวางแผนการฝึกประสบการณ์ภาคสนามกับพนักงานพี่เลี้ยง - สังเกตการณ์การฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษาในสถานประกอบการ - แนะนำหรือให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาให้มีทักษะการทำงานในองค์กร - ประเมินผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม - สอบทาน/ปรับปรุงแผนงานการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเป็นระยะ 6. การเตรียมการในการแนะแนวและช่วยเหลือนักศึกษา - จัดปฐมนิเทศแนะนำนักศึกษาก่อนฝึกประสบการณ์ภาคสนาม พร้อมแจกคู่มือการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม - จัดช่องทางและเจ้าหน้าที่ประสานงาน รับแจ้งเหตุด่วน กรณีต้องการความช่วยเหลือ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ และไปรษณีย์อิเล็ทรอนิกส์ - จัดอาจารย์ที่ปรึกษาตามความเชี่ยวชาญด้านการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือเทคนิคพิเศษ เพื่อให้คำปรึกษาเฉพาะด้านในการแก้ไขปัญหา 7. สิ่งอำนวยความสะดวกและสนับสนุนที่ต้องการจากสถานที่ที่จัดประสบการณ์ภาคสนาม/ สถานประกอบการ

33 หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ
หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ 1. การกำหนดสถานที่ฝึก (ตัวอย่าง) อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม คัดเลือกสถานประกอบการที่ยินดีรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม โดยดูลักษณะงานที่เหมาะสมและมีความพร้อมดังนี้ - เข้าใจ และสนับสนุนการฝึกประสบการณ์ภาคสนามตามจุดมุ่งหมาย - มีความปลอดภัยของสถานที่ตั้ง มีความสะดวกในการเดินทาง และสภาพแวดล้อมการทำงานที่ดี - มีอุปกรณ์ เทคโนโลยี ซอฟต์แวร์ที่ถูกกฎหมาย พร้อมในการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อแก้ปัญหาตามโจทย์ - สามารถจัดพนักงานพี่เลี้ยงดูแลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม - มีโจทย์ปัญหาที่มีความยากง่ายเหมาะสม กับศักยภาพของนักศึกษาในระยะเวลาที่กำหนด - ยินดี เต็มใจรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม การติดต่อประสานงาน กำหนดล่วงหน้าก่อนฝึกประสบการณ์ภาคสนามอย่างน้อย 4 เดือน จัดนักศึกษาลงฝึกประสบการณ์ภาคสนามตามความสมัครใจ หรือนักศึกษาอาจหาสถานที่ฝึกประสบการณ์ภาคสนามด้วยตนเอง แต่ต้องได้รับความเห็นชอบ จากผู้รับผิดชอบกระบวนวิชา

34 หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ
หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ 2. การเตรียมนักศึกษา (ตัวอย่าง) จัดปฐมนิเทศการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม มอบคู่มือการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ก่อนการฝึกประสบการณ์ภาคสนามอย่างน้อย 1 สัปดาห์ ชี้แจงวัตถุประสงค์ สิ่งที่คาดหวัง จากการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม วิธีการประเมินผล ช่องทางการติดต่อประสานงาน จัดฝึกอบรมบุคลิกภาพ การแต่งกาย หรือเทคนิคเพิ่มเติมหากต้องการความสามารถเฉพาะด้าน เพื่อการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 3. การเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศ อาจารย์ที่ปรึกษาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ประสานงานกับสถานประกอบการเพื่อขอชื่อ ตำแหน่งของพนักงานพี่เลี้ยง ประชุมพนักงานพี่เลี้ยง และนักศึกษาฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อชี้แจงให้รับทราบวัตถุประสงค์ สิ่งที่คาดหวัง จากการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ผลการเรียนรู้ของนักศึกษาที่ต้องการเน้น อุปกรณ์ เทคโนโลยี ซอฟต์แวร์ที่จะนำมาใช้ใน การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม แนวทางการฝึกอบรม หรือการฝึกใช้เครื่องมือ ช่องทางการติดต่อกรณีเหตุด่วน มอบเอกสาร คู่มือการดูแล และประเมินผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม

35 หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ
หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ 4. การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยงในสถานที่ฝึก (ตัวอย่าง) จัดประชุมพนักงานพี่เลี้ยง และนักศึกษาฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อชี้แจงให้รับทราบวัตถุประสงค์ สิ่งที่คาดหวัง จากการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม รับทราบถึงวิธีการบันทึกผลการทำงานของนักศึกษา มอบเอกสารคู่มือการดูแล และ ประเมินผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม บอกหมายเลขโทรศัพท์ หรือช่องทางติดต่ออาจารย์นิเทศ 5. การจัดการความเสี่ยง อาจารย์ประจำหลักสูตรประชุมร่วมกันเพื่อประเมินความเสี่ยง ที่จะเกิดต่อนักศึกษา และก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาน ประกอบการ เช่น - ความเสี่ยงจากสถานที่ตั้ง สภาพแวดล้อมในการทำงาน การเดินทาง ป้องกันโดยคัดเลือกสถานประกอบการที่มีการคมนาคมสะดวก ไม่มี หรือมีความเสี่ยงน้อยที่สุด - ความเสี่ยงจากอุบัติภัยจากการทำงาน จากการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ ป้องกันโดย จัดปฐมนิเทศ แนะนำการใช้อุปกรณ์ การป้องกันไวรัส อันก่อให้เกิดความเสียหายต่อข้อมูลสถานประกอบการ เน้นจริยธรรมการไม่เปิดเผยข้อมูลสถานประกอบการอันเป็นความลับ และกำหนดให้นักศึกษาปฏิบัติตามกฎระเบียบสถานประกอบการอย่างเคร่งครัด - ความเสี่ยงที่สถานประกอบการไม่มอบหมายงานที่เหมาะสมให้แก่นักศึกษา - ความเสี่ยงที่นักศึกษาจะไม่ได้รับความสะดวกในการเดินทางไปยังสถานประกอบการ

36 หมวดที่ 6 การประเมินนักศึกษา
1. หลักเกณฑ์การประเมิน 2. กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา (ตัวอย่าง) - ประเมินโดยพนักงานพี่เลี้ยงและอาจารย์ที่ปรึกษาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม โดยใช้เกณฑ์ให้เป็นไปตามข้อกำหนดของโครงการสหกิจศึกษา - อาจารย์ที่ปรึกษาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม สรุปผลการประเมิน และรายงานผลต่อคณะฯ 3. ความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงต่อการประเมินนักศึกษา ประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาทั้งระหว่างฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบฟอร์มการประเมินของหลักสูตร 4. ความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบประสบการณ์ภาคสนามต่อการประเมินนักศึกษา ประเมินผลนักศึกษาหลังจากเสร็จสิ้นการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบประเมิน โดยพิจารณาจากรายงานผลการประเมินตนเองของนักศึกษา บันทึกผลการนิเทศ และรายงานผลการฝึกฯของพี่เลี้ยง 5. การสรุปผลการประเมินที่แตกต่าง ประธานหลักสูตรประสานงานกับสถานประกอบการ เพื่อทำความเข้าใจในการประเมิน หากเกิดความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ มีการประชุมร่วมกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาหาข้อสรุป

37 หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
1. กระบวนการประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามจากผู้ที่เกี่ยวข้องต่อไปนี้ 1.1 นักศึกษา (ตัวอย่าง) จัดให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 1.2 พนักงานพี่เลี้ยงหรือผู้ประกอบการ (ตัวอย่าง) พนักงานพี่เลี้ยงบันทึกงานที่มอบหมาย และผลการฝึกฯในแบบฟอร์ม และสุ่มถามด้วยวาจา 1.3 อาจารย์ที่ดูแลกิจกรรมภาคสนาม (ตัวอย่าง) อาจารย์ที่ปรึกษาเฉพาะเรื่อง บันทึกการให้คำปรึกษา ผลการดำเนินงานของนักศึกษาหลังให้คำปรึกษา ในแบบฟอร์มรายงานผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม การนำคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาไปใช้ในการแก้ปัญหาของนักศึกษา 1.4 ผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เช่น บัณฑิตจบใหม่ (ตัวอย่าง) ติดตามความความก้าวหน้าในการทำงานของบัณฑิตที่ตรงตามสาขาวิชา โดยการสำรวจสอบถามจากผู้ประกอบการและบัณฑิต 2. กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุง (ตัวอย่าง) - อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ประมวลผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษา จากผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากนักศึกษา จากพนักงานพี่เลี้ยง และจากอาจารย์ที่ปรึกษาเฉพาะเรื่อง รายงานต่ออาจารย์รับผิดชอบหลักสูตร และประธานหลักสูตร หรือหัวหน้าภาควิชาเพื่อทราบ - ประชุมหลักสูตร หรือภาควิชา ร่วมพิจารณานำข้อเสนอแนะมาปรับปรุงสำหรับการใช้รอบปีการศึกษาถัดไป นำแสดงไว้ในรายงานผลการดำเนินการหลักสูตร

38 หมวด 7 การประเมินและการปรับปรุงการดำเนินการของการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
กระบวนการประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามจากผู้เกี่ยวข้องต่อไปนี้ 1.1 นักศึกษา 1.2 พนักงานพี่เลี้ยง หรือผู้ประกอบการ 1.3 อาจารย์ที่ดูแลกิจกรรมภาคสนาม 1.4 อื่นๆ เช่น บัณฑิตจบใหม่ 2) กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุง

39 มคอ.5 รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (Course Report)

40 มคอ. 5 รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 ลักษณะและการดำเนินการ หมวดที่ 3 การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการ สอน (แบบที่ 1 และแบบที่ 2) หมวดที่ 4 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของกระบวนวิชา หมวดที่ 5 การประเมินกระบวนวิชา หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง

41 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. หลักสูตรและประเภทของกระบวนวิชา
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. หลักสูตรและประเภทของกระบวนวิชา 1.1  สำหรับหลักสูตร ……….. สาขาวิชา……………………….  สำหรับหลายหลักสูตร 1.2 ประเภทของกระบวนวิชา วิชาศึกษาทั่วไป วิชาเฉพาะ วิชาเลือกเสรี 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบกระบวนวิชาและอาจารย์ผู้สอน 2.1 ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบ …………………………….. 2.2 อาจารย์ผู้สอน (ทุกคน) 3. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่…………ชั้นปีที่……… 4. สถานที่เรียน  ในสถานที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่  นอกสถานที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ระบุ) 5. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์จะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

42 หมวดที่ 2 ลักษณะและการดำเนินการ
ให้นำแบบฟอร์มเค้าโครงกระบวนวิชามาใส่ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

43 (หากความแตกต่างเกิน 25%)
หมวดที่ 3 การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน (แบบที่ 1) 1. รายงานชั่วโมงการสอนจริงเทียบกับแผนการสอน สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวนชั่วโมง ตามแผนการสอน ที่สอนจริง ความแตกต่าง (%) เหตุผล (หากความแตกต่างเกิน 25%) บรรยาย ปฏิบัติการ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

44 หมวดที่ 3 การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน (แบบที่ 1)
2. หัวข้อที่สอนไม่ครอบคลุมตามแผน หัวข้อที่ไม่ครอบคลุมตามแผนการสอน ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา (ตาม มคอ. 2) แนวทางการแก้ไข 3. ประสิทธิผลของวิธีสอนที่ทำให้เกิดผลการเรียนรู้ตามที่ระบุในรายละเอียดของกระบวนวิชา ผลการเรียนรู้ วิธีสอนที่ระบุในรายละเอียด กระบวนวิชา ประสิทธิผล ปัญหาของการใช้วิธีสอน (ถ้ามี)พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข มี ไม่มี คุณธรรม จริยธรรม - บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การ ใช้ web board การขายของผ่าน อินเทอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์ ไม่สุจริต หรือจากมิจฉาชีพ การ ป้องกันตนเอง - อภิปรายกลุ่ม - กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง - บทบาทสมมติ / การติดตามประเมินผลรายบุคคล ทำได้ยาก การอภิปรายกลุ่ม มัก ไม่ได้ความคิดเห็น เนื่องจาก นศ. ไม่เตรียมมา

45 หมวดที่ 3 การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน (แบบที่ 1)
2. หัวข้อที่สอนไม่ครอบคลุมตามแผน หัวข้อที่ไม่ครอบคลุมตามแผนการสอน ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา (ตาม มคอ. 2) แนวทางการแก้ไข 3. ประสิทธิผลของวิธีสอนที่ทำให้เกิดผลการเรียนรู้ตามที่ระบุในรายละเอียดของกระบวนวิชา ผลการเรียนรู้ วิธีสอนที่ระบุในรายละเอียด กระบวนวิชา ประสิทธิผล ปัญหาของการใช้วิธีสอน (ถ้ามี)พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข มี ไม่มี คุณธรรม จริยธรรม - บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การ ใช้ web board การขายของผ่าน อินเทอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์ ไม่สุจริต หรือจากมิจฉาชีพ การ ป้องกันตนเอง - อภิปรายกลุ่ม - กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง - บทบาทสมมติ / การติดตามประเมินผลรายบุคคล ทำได้ยาก การอภิปรายกลุ่ม มัก ไม่ได้ความคิดเห็น เนื่องจาก นศ. ไม่เตรียมมา

46 หมวดที่ 3 การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน (แบบที่ 1)
4. ข้อเสนอการดำเนินการเพื่อปรับปรุงการสอน (ตัวอย่าง) คณะฯ อาจต้องมีการลงทุนในการซื้ออุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ตัวอย่าง เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษา ทดลองใช้อย่างใกล้ชิด จะทำให้เข้าใจการทำงานจริงของอุปกรณ์มากขึ้น ควรจัดหา วิดิโอ สาธิตวิธีการทำงานของซอฟต์แวร์เพื่อให้นักศึกษาเกิดแนวคิดในการประยุกต์ใช้งาน หมวดที่ 3 การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน (แบบที่ 2) 1. รายงานชั่วโมงการสอนจริงเทียบกับแผนการสอน แยกตารางรายงานชั่วโมงบรรยาย/ชั่วโมงปฏิบัติการ/ชั่วโมงฝึกปฏิบัติ 2. หัวข้อที่สอนไม่ครอบคลุมตามแผน (เหมือนแบบที่ 1) 3. ประสิทธิผลของวิธีสอนที่ทำให้เกิดผลการเรียนรู้ตามที่ระบุในรายละเอียดของกระบวนวิชา (เหมือนแบบที่ 1) 4. ข้อเสนอการดำเนินการเพื่อปรับปรุงการสอน (เหมือนแบบที่ 1)

47 หมวดที่ 4 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของกระบวนวิชา
1. จำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน ……….. คน (โดยไม่ได้รับอักษรลำดับขั้น W) 2. จำนวนนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา ……….. คน 3. จำนวนนักศึกษาที่ถอนกระบวนวิชา……….. คน (ได้รับอักษรลำดับขั้น W) 4. การกระจายของระดับคะแนนและเกรด ลำดับขั้น ช่วงคะแนน จำนวนคน ร้อยละ A B+ B C+ C D+ D F S U I P V W

48 หมวดที่ 4 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของกระบวนวิชา
5. ปัจจัยที่ทำให้ระดับคะแนนผิดปกติ (ถ้ามี) 6. ความคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในรายละเอียดกระบวนวิชา ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วน ของการประเมิน ตามแผน ตามจริง 7. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา (ให้อ้างอิงจาก มคอ. 2 และ 3) (ตัวอย่าง) - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบรายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม - มีการทวนสอบการให้คะแนนการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยกรรมการวิชาการประจำภาควิชาและคณะ - มีการทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ผู้สอนกระบวนวิชาที่ประเมิน - อื่นๆ

49 ความเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์
หมวดที่ 5 การประเมินกระบวนวิชา 1. ผลการประเมินกระบวนวิชาโดยนักศึกษา ข้อวิพากษ์ที่สำคัญ ความเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์ 2. ผลการประเมินกระบวนวิชาโดยวิธีอื่น (ถ้ามี) เช่น การประชุมผู้สอน การประเมินจากผู้ใช้บัณฑิต 2.1 ข้อวิพากษ์ที่สำคัญ 2.2 ความเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์ตามข้อ 2.1

50 เหตุผล (ในกรณีที่ไม่ได้ปรับปรุง หรือปรับปรุงแต่ไม่เสร็จสมบูรณ์)
หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง 1. ความก้าวหน้าของการปรับปรุงการเรียนการสอนตามที่เสนอในรายงาน/กระบวนวิชาครั้งที่ผ่านมา แผนการปรับปรุง ผลการดำเนินการ เหตุผล (ในกรณีที่ไม่ได้ปรับปรุง หรือปรับปรุงแต่ไม่เสร็จสมบูรณ์) ปรับปรุงแล้ว ไม่ได้ปรับปรุง ปรับปรุงแต่ไม่เสร็จสมบูรณ์ 2. การดำเนินการอื่นๆ ในการปรับปรุงกระบวนวิชาในภาคการศึกษาที่รายงาน (ถ้ามี) 3. ข้อเสนอแผนการปรับปรุงสำหรับภาคการศึกษา/ปีการศึกษาต่อไป (ถ้ามี)

51 หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง
4. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ (ถ้ามี) 4.1 ประเด็นด้านทรัพยากรประกอบการเรียนและสิ่งอำนวยความสะดวก 4.2 ประเด็นด้านการบริหารและองค์กร

52 มคอ.6 รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Report)

53 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. หลักสูตรและประเภทของกระบวนวิชา
1.1 สำหรับหลักสูตร ……….. สาขาวิชา………………………. 1.2 ประเภทของกระบวนวิชา วิชาเอกบังคับ วิชาเอกเลือก 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบกระบวนวิชาและอาจารย์ผู้สอน 2.1 ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบ …………………………….. 2.2 อาจารย์ผู้สอน (ทุกคน) 3. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่…………ชั้นปีที่……… 4. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์จะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

54 หมวดที่ 2 ลักษณะและการดำเนินการ
ให้นำแบบฟอร์มเค้าโครงกระบวนวิชามาใส่ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

55 หมวดที่ 3 การดำเนินการที่ต่างจากแผนการฝึกประสบการณ์สนาม
1. การเตรียมนักศึกษา (ถ้ามี) 2. การเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศ (ถ้ามี) 3. การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยงจากสถานประกอบการ (ถ้ามี) 4. การเปลี่ยนแปลงการจัดการในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) 4.1 การเปลี่ยนแปลงกิจกรรม และ/หรืองานที่มอบหมายให้นักศึกษา (ถ้ามี) 4.2 การเปลี่ยนแปลงสิ่งอำนวยความสะดวกในการสนับสนุนนักศึกษา (ถ้ามี) 4.3 การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ (ถ้ามี)

56 หมวดที่ 4 สรุปผลการดำเนินการ
1. จำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน/ส่งไปฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ……….. คน 2. จำนวนนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ……….. คน 3. จำนวนนักศึกษาที่ถอนกระบวนวิชา ……….. คน (โดยได้รับอักษรลำดับขั้น W) 4. การกระจายของระดับคะแนนและเกรด ลำดับขั้น ช่วงคะแนน จำนวนคน ร้อยละ A B+ B C+ C D+ D F S U I P W 5. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)

57 หมวดที่ 5 การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
1. การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามโดยนักศึกษา ข้อวิพากษ์ที่สำคัญ ความเห็นของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ/ที่ปรึกษา การฝึกประสบการณ์ภาคสนามต่อข้อวิพากษ์ 2. การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามโดยสถานประกอบการหรือพนักงานพี้เลี้ยง ข้อวิพากษ์ที่สำคัญ ความเห็นของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ/ที่ปรึกษา การฝึกประสบการณ์ภาคสนามต่อข้อวิพากษ์

58 เหตุผล (ในกรณีที่ไม่ได้ปรับปรุง หรือปรับปรุงแต่ไม่เสร็จสมบูรณ์)
หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง 1. การดำเนินการและความก้าวหน้าของการปรับปรุงการฝึกประสบการณ์ภาคสนามครั้งที่ผ่านมา แผนการปรับปรุง ผลการดำเนินการ เหตุผล (ในกรณีที่ไม่ได้ปรับปรุง หรือปรับปรุงแต่ไม่เสร็จสมบูรณ์) ปรับปรุงแล้ว ไม่ได้ปรับปรุง ปรับปรุงแต่ไม่เสร็จสมบูรณ์ 2. การดำเนินการอื่นๆ ในการปรับปรุงการฝึกประสบการณ์ภาคสนามในภาคการศึกษาที่รายงาน (ถ้ามี) 3. ข้อเสนอแผนการปรับปรุงการฝึกประสบการณ์ภาคสนามสำหรับภาคการศึกษา/ปีการศึกษาต่อไป (ถ้ามี)

59 หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง
4. ปัญหา/ผลกระทบด้านการบริหารและข้อเสนอแนะ 4.1 ปัญหาด้านการบริหารของสถาบันอุดมศึกษา และ/หรือ สถานประกอบการ/สถานที่ฝึก (ถ้ามี) 4.2 ผลกระทบต่อผลการเรียนรู้ของนักศึกษา (ถ้ามี) 4.3 การเปลี่ยนแปลงที่จำเป็นเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาและอุปสรรคในอนาคต (ถ้ามี)

60 มคอ.7 รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร(Programme Report)

61 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หลักสูตร ระดับคุณวุฒิ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร วันที่รายงาน ปีการศึกษาที่รายงาน สถานที่ตั้ง

62 หมวดที่ 2 ข้อมูลเชิงสถิติ
จำนวนนักศึกษาชั้นปีที่ ๑ ที่รับเข้าในปีการศึกษาที่รายงาน จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในปีที่รายงาน 2.1 จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาก่อนกำหนดเวลาของหลักสูตร 2.2 จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนดเวลาของหลักสูตร 2.3 จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาหลังกำหนดเวลาของหลักสูตร 2.4 จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาเอกต่าง ๆ (ระบุ) 3) รายละเอียดเกี่ยวกับอัตราการสำเร็จการศึกษา

63 หมวดที่ 2 ข้อมูลเชิงสถิติ
4) จำนวนและร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่านตามแผนการศึกษาของหลักสูตรในแต่ละปี 5) อัตราการเปลี่ยนแปลงจำนวนนักศึกษาในแต่ละปีการศึกษา สัดส่วนของนักศึกษาที่สอบผ่านตามแผนกำหนดการศึกษาและยังคงศึกษาต่อในหลักสูตรเปรียบเทียบกับจำนวนนักศึกษาทั้งหมดของรุ่นในปีที่ผ่านมา นักศึกษาชั้นปีที่ ๑ ที่เรียนต่อชั้นปีที่ ๒ % นักศึกษาชั้นปีที่ ๒ ที่เรียนต่อชั้นปีที่ ๓ % นักศึกษาชั้นปีที่ ๓ ที่เรียนต่อชั้นปีที่ ๔ % 6) ปัจจัย/สาเหตุที่มีผลกระทบต่อจำนวนนักศึกษาตามแผนการศึกษา ภาวะการได้งานทำของบัณฑิตภายในระยะ ๑ ปี หลังสำเร็จการศึกษา การวิเคราะห์ผลที่ได้

64 หมวดที่ 3 การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร
การเปลี่ยนแปลงภายในสถาบัน (ถ้ามี) ที่มีผลกระทบต่อหลักสูตรในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา การเปลี่ยนแปลงภายนอกสถาบัน (ถ้ามี) ที่มีผลกระทบต่อหลักสูตรในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา

65 หมวดที่ 4 ข้อมูลสรุปรายวิชาของหลักสูตร
สรุปผลรายวิชาที่เปิดสอนในภาคการศึกษา/ปีการศึกษา การวิเคราะห์รายวิชาที่มีผลการเรียนไม่ปกติ การเปิดรายวิชาในภาคหรือปีการศึกษา 3.1 รายวิชาที่ไม่ได้เปิดสอนตามแผนการศึกษา และเหตุผลที่ไม่ได้เปิดสอน 3.2 วิธีแก้ไขกรณีที่มีการสอนเนื้อหาในรายวิชาไม่ครบถ้วน

66 หมวดที่ 5 การบริหารหลักสูตร
ให้ระบุปัญหาในการบริหารหลักสูตร ผลกระทบของปัญหาต่อสัมฤทธิผลตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาในอนาคต

67 หมวดที่ 6 สรุปผลการประเมินหลักสูตร
การประเมินจากผู้ที่กำลังจะสำเร็จการศึกษา (รายงานตามปีที่สำรวจ) 1.1 ข้อวิพากษ์ที่สำคัญจากผลการประเมิน และข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผลการประเมิน 1.2 ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมินข้อ 1.1 2) การประเมินจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 2.1 ข้อวิพากษ์ที่สำคัญจากผลการประเมิน และข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผลการประเมิน 2.2 ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมินข้อ 2.1 (ถ้ามี) 3) การประเมินคุณภาพหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ (เที่ยบตาม KPI)

68 หมวดที่ 7 คุณภาพของการสอน
การประเมินรายวิชาที่เปิดสอนในปีที่รายงาน 1.1 รายวิชาที่มีการประเมินคุณภาพการสอน และแผนการปรับปรุงจากผลการประเมิน 1.2 ผลการประเมินคุณภาพการสอนโดยรวม 2) ประสิทธิผลของกลยุทธ์การสอน 2.1 สรุปข้อคิดเห็นของผู้สอน และข้อมูลป้อนกลับจากแหล่งต่างๆ 2.2 แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง

69 หมวดที่ 7 คุณภาพของการสอน
3) การปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ 3.1 สรุปสาระสำคัญในการดำเนินการ 3.2 สรุปการประเมินจากอาจารย์ที่เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศ 3.3 หากไม่มีการจัดปฐมนิเทศ ให้แสดงเหตุผลที่ไม่ได้ดำเนินการ 4) กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพของอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 4.1 กิจกรรมที่จัดหรือเข้าร่วม 4.2 สรุปข้อคิดเห็น และประโยชน์ที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับ

70 หมวดที่ 8 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรจากผู้ประเมินอิสระ
ข้อคิดเห็นหรือสาระที่ได้รับการเสนอแนะจากผู้ประเมิน และความเห็นของหลักสูตร/ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อข้อคิดเห็นหรือสาระที่ได้รับการเสนอแนะ 2) การนำไปดำเนินการเพื่อการวางแผนหรือปรับปรุงหลักสูตร

71 หมวดที่ 9 แผนการดำเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตร
ความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามแผนที่เสนอในรายงานของปีที่ผ่านมา ข้อเสนอในการพัฒนาหลักสูตร 2.1 ข้อเสนอในการปรับโครงสร้างหลักสูตร ( จำนวนหน่วยกิต รายวิชาแกน รายวิชาเลือก ฯ ) 2.2 ข้อเสนอในการเปลี่ยนแปลงรายวิชา (การเปลี่ยนแปลง เพิ่มหรือลดเนื้อหาในรายวิชาการเปลี่ยนแปลงวิธีการสอนและการประเมินสัมฤทธิผลรายวิชา ฯ) 2.3 กิจกรรมการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 3) แผนปฏิบัติการใหม่สำหรับปี ระบุแผนปฏิบัติการแต่ละแผน วันที่คาดว่าจะสิ้นสุดแผน และผู้รับผิดชอบ

72 Q & A ขอบคุณค่ะ Q & A


ดาวน์โหลด ppt การจัดทำ มคอ.3 - มคอ.7 ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google