ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา
กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สิริรักษ์ รัชชุศานติ
2
หัวข้อ หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตรอาชีวศึกษา คุณภาพและมาตรฐานการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษา การพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา หลักการจัดการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นสำคัญ กระบวนการจัดการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นสำคัญ การประเมินตามสภาพจริง
3
พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 22 ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด มาตรา 23 ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา : ตนเองกับสังคม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ คณิตศาสตร์ ภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ความรู้ และทักษะในการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ : กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้ จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น
4
พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 มาตรา 26 การประเมินผู้เรียน : พิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน มาตรา 28 หลักสูตรการศึกษาต้องมีลักษณะหลากหลาย มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลให้เหมาะสม : สาระของหลักสูตร ทั้งที่เป็นวิชาการ และวิชาชีพ ต้องมุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดุล ทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม มาตรา 30 ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอน: ส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา
5
พ.ร.บ. อาชีวศึกษา 2551 มาตรา การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพต้องเป็นการจัดการศึกษาในด้านวิชาชีพที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติ เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยี รวมทั้งเป็นการยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้สูงขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยนำความรู้ในทางทฤษฎีอันเป็นสากลและภูมิปัญญาไทยมาพัฒนาผู้รับการศึกษาให้มีความรู้ความสามารถในทางปฏิบัติและมีสมรรถนะจนสามารถนำไปประกอบอาชีพในลักษณะผู้ปฏิบัติหรือประกอบอาชีพโดยอิสระได้
6
พ.ร.บ. อาชีวศึกษา 2551 มาตรา 8 การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรม
มาตรา 8 การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรม วิชาชีพให้จัดได้โดยรูปแบบดังต่อไปนี้ 1. การศึกษาในระบบ 2. การศึกษานอกระบบ 3. การศึกษาระบบทวิภาคี เพื่อประโยชน์ในการผลิตและพัฒนากำลังคน สถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือสถาบันสามารถจัดการศึกษาตามวรรคหนึ่งในหลายรูปแบบรวมกันก็ได้ทั้งนี้ สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันนั้นต้องมุ่งเน้นการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีเป็นสำคัญ
7
การจัดการอาชีวศึกษา หลักสูตร วิธีการจัดการศึกษาวิชาชีพ ปกติ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ วิชาชีพระยะสั้น/กลุ่มเฉพาะ วิธีการจัดการศึกษาวิชาชีพ ปกติ สะสมหน่วยกิต เทียบโอนผลการเรียนรู้ -เทียบโอนผลการเรียน -เทียบโอนความรู้และประสบการณ์
8
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 13 กลุ่มกิจการ
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ กลุ่มกิจการ 1.อุตสาหกรรมเกษตร ประมง และกิจการที่เกี่ยวข้อง 2.เซรามิกส์ 3.อุตสาหกรรมสิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องหนัง 4.อุตสาหกรรมเครื่องเรือน 5.อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ 6.การผลิตเครื่องมือแพทย์ 7.อุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่องจักรและชิ้นส่วน
9
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 13 กลุ่มกิจการ
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ กลุ่มกิจการ 8.อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 9.การผลิตพลาสติก 10.การผลิตยา 11.กิจการโลจิสติกส์ 12.นิคมหรือเขตอุตสาหกรรม 13.กิจการเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว
10
Thailand 4.0 Model ที่จะนำโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่Value-Based
Economy หรือเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม เกษตรแบบดั้งเดิมสู่เกษตรสมัยใหม่ Traditional SMEs ผลักดันเป็น Smart SMEs Traditional Services ที่มีมูลค่าต่ำสู่ High Value Services แรงงานทักษะต่ำสู่แรงงานที่มีทักษะสูง เป้าหมายเปลี่ยนจากกลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลาง ค่อนข้างสูเป็นกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูง ด้วยนวัตกรรม
11
Thailand 4.0 5.กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายได้แก่
-กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ -กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ -กลุ่มเครื่องมืออุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และ ระบบเครื่องกลที่ใช้อิเล็กทรอนิคส์ควบคุม -กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยีอินเตอร์เนตเชื่อมต่อ และ บังคับอุปกรณ์ต่างๆ ปัญญาประดิษฐ์ และเทคโนโลยีสมอง กลฝังตัว -กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการที่มีมูล ค่าสูง
12
ประเด็นสำคัญทางด้านการศึกษา
แผนการศึกษาอาเซียน ประเด็นสำคัญทางด้านการศึกษา 1.ส่งเสริมให้เกิดความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนผ่าน การเรียนรู้ประวัติศาสตร์และความรู้พื้นเมือง 2.ยกระดับคุณภาพและสร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษาขั้น พื้นฐานสำหรับทุกคนโดยไม่ละเลยผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส 3.พัฒนาการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสาร 4.สนับสนุนการพัฒนาอาชีวศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในภูมิภาค
13
แผนการศึกษาอาเซียน 5.ส่งเสริมการดำเนินงานของทุกภาคส่วนในการพัฒนาคนให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานเพื่อให้บรรลุ ตามเป้าหมายของการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 6.สร้างความเข้มแข็งให้กับการอุดมศึกษาด้วยการพัฒนา ระบบประกันคุณภาพทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ 7.ส่งเสริมบทบาทของการอุดมศึกษาให้เข้มแข็งด้วยการ สร้างเครือข่ายระหว่างผู้ประกอบการกับมหาวิทยาลัย 8.ดำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทาง การศึกษา
14
เสาหลักด้านการเมืองและความมั่นคง เสาหลักด้านเศรษฐกิจ (Economic : AEC)
บทบาทของการศึกษาใน ASEAN Community 2015 เสาหลักด้านการเมืองและความมั่นคง (Political and Security : APSC) เสาหลักด้านเศรษฐกิจ (Economic : AEC) เสาหลักด้านสังคมวัฒนธรรม (Socio-Cultural : ASCC)
15
บทบาทของการศึกษาใน ASEAN Community 2015
เสาหลักด้านการเมืองและความมั่นคง (APSC) - ส่งเสริมการทำความเข้าใจและยอมรับในหลักการของASEAN community โดยกระบวนการของหลักสูตร - เน้นย้ำในหลักการประชาธิปไตย เคารพสิทธิ - ส่งเสริมการทำความเข้าใจและยอมรับความแตกต่างของวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา - จัดทำฐานข้อมูล online - จัดกิจกรรมต่างๆ การประชุม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
16
บทบาทของการศึกษาใน ASEAN Community 2015
เสาหลักด้านเศรษฐกิจ (AEC) พัฒนา skills frameworkระดับชาติเทียบเคียงกับระดับ ASEAN ระบบการเทียบโอนหน่วยกิต ให้ความสำคัญกับอาชีวศึกษา - ส่งเสริมการถ่ายโอนนักเรียน จัดทำเอกสารการศึกษาของประเทศเผยแพร่ - พัฒนา competency – based ในมาตรฐานอาชีพหรือ มาตรฐานสมรรถนะ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน พัฒนาสมรรถนะหลัก/ร่วม สำหรับระดับอาชีวศึกษา และระดับมัธยม สนับสนุนการถ่ายโอนแรงงานที่มีความชำนาญการ ส่งเสริมให้มีการร่วมปฏิบัติงานหรือฝึกอบรมในภาคอุตสาหกรรมและ หน่วยงานต่างๆพร้อมทั้งการจัดตั้งเครือข่ายสารสนเทศอาเซียน ด้านทรัพยากรมนุษย์
17
บทบาทของการศึกษาใน ASEAN Community 2015
เสาหลักด้านสังคมวัฒนธรรม (ASCC) - พัฒนาเนื้อหาทั่วไปเกี่ยวกับ ASEAN เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิง จัดหลักสูตรเกี่ยวกับศิลปะและวัฒนธรรม ASEAN ในมหาวิทยาลัย เน้นระดับปริญญาตรี จัดหลักสูตรภาษาต่างๆ ให้เป็นวิชาเลือก ส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต - จัดเผยแพร่งานวิจัย จัดการประชุมด้านการวิจัย การส่งเสริมการทำวิจัยร่วมกันและการพัฒนาด้านการวิจัยและการพัฒนาในภูมิภาค - ส่งเสริมความเข้าใจอันดี และการสร้างความตระหนักเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม บูรณาการไว้ในหลักสูตร
18
หลักการการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตามปฏิญญาว่าด้วยการจัดการศึกษาของ UNESCO
การเรียนเพื่อรู้ (Learning to know) การเรียนรู้เพื่อปฏิบัติได้จริง (Learning to do) การเรียนรู้เพื่อที่จะอยู่ร่วมกัน(Learning to live together) การเรียนรู้เพื่อชีวิต (Learning to be) หลักการจัดอาชีวศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน UNESCO-UNEVOC หลักสูตรฐานสมรรถนะ การจัดการเรียนการสอนในการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม การบูรณาการเรียนการสอนวิชาอาชีพเพื่อการพัฒนาและการบริการ ชุมชน สังคมของประเทศ
19
ทักษะในศตวรรษที่ 21 3R 8C Partnership for 21 st Century learning
Reading Writing Arithematic Partnership for 21 st Century learning *ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญานและทักษะการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) *ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) *ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration,Teamwork and Leadership) *ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communication , Information and Media Literacy) ศ. วิจารณ์ พานิช *ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกรบวนทัศน์(Cross-Cultural understanding) *ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีและการสื่อสาร (Computing & ICT Literacy) *ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ (Career and learning skill) รมว.ศธ. *ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)
20
การจัดการอาชีวศึกษา เป้าหมายที่ต้องการ
พัฒนาคนให้เต็มศักยภาพโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สร้างพลังให้คนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้การศึกษาตลอดชีวิต มีคุณวุฒิวิชาชีพ จัดการเรียนรู้แบบเปิดและยืดหยุ่น มีการรับรองและเทียบโอนประสบการณ์ ให้ความสำคัญสูงกับการอาชีวศึกษาโดยกำหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ มีการปฏิรูปการลงทุนให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา มีเกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัด ในการจัดการเพื่อคุณภาพ มีการเชื่อมโยงระหว่างการศึกษาด้านต่าง ๆ การศึกษาต่อเนื่องและการทำงาน ใช้การเรียนแบบสมรรถนะเป็นฐาน โดยมีทักษะหลัก ทักษะที่จำเป็นเพื่อการดำเนินชีวิต บุคลากรต้องมีคุณวุฒิ คุณภาพ และคุณสมบัติที่เหมาะสม โดยมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สถานภาพของผู้จบและผู้ทำงานในสายวิชาชีพเทียบได้กับสาขาวิชาชีพอื่น
21
ความสำคัญของหลักสูตร
หลักสูตร เป็นมวลประสบการณ์ที่กำหนดไว้อย่างเป็นระบบใช้ในการ จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามความมุ่งหมาย เป็นสิ่งที่ทำให้จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากหลักสูตรเป็นแผนหรือแนวทางในการจัดการศึกษาให้บรรลุตามความมุ่งหมาย และยังเป็นแนวทางในการวางแผนงานวิชาการ เป็นเครื่องมือในการควบคุมมาตรฐานการศึกษา เป็นสิ่งที่กำหนดความมุ่งหมาย ขอบข่ายของเนื้อหา แนวทางสำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสื่อแหล่งการเรียนรู้ และการประเมินผลการเรียนการสอน
22
มาตรฐานการเรียนรู้ (Learning Standard)
เป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงสิ่งที่คาดหวัง หรือจุดหมายปลายทางของการศึกษาว่า อะไรคือสิ่งที่ต้องการให้นักเรียน นักศึกษาทุกคนมีความรู้ ทักษะ สามารถปฏิบัติได้ รวมถึงคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เป็นกรอบทิศทางในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียน เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานบอกให้ทราบว่าจะสอนและประเมินอะไร และต้นสังกัด ส่วนกลางมีกลไกในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพ
23
มาตรฐานการเรียนรู้ (Learning Standards)
ผู้เรียน – ทราบถึงสิ่งที่ตนต้องรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะ สำคัญ ซึ่งเป็นสิ่งท้าทาย กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความพยายามที่จะก้าวไปให้ถึงจุดนั้น ผู้สอน - เป็นกรอบและแนวทางในการสร้างหลักสูตร ออกแบบการเรียนการสอนและการประเมินผล อะไรเป็นสิ่งสำคัญที่นักเรียน นักศึกษา ควรรู้ มีทักษะ สามารถปฏิบัติได้ สถานประกอบการ ชุมชน ท้องถิ่น และระดับชาติ - ทราบถึงความคาดหวังทางการศึกษาที่ตั้งไว้ร่วมกัน มีความเข้าใจตรงกันเกี่ยวกับหลักสูตร ทำให้ทำงานร่วมกันในการวางแผนพัฒนาการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ มีทิศทางที่ ชัดเจน
24
แนวคิด:หลักสูตรอาชีวศึกษา
1. ปรัชญา(Orientation) เน้นผลผลิต(Product) หรือผู้สำเร็จการศึกษา (Graduate Oriented) ความสำเร็จสุดยอดของหลักสูตรอาชีวศึกษาไม่ใช่เพียงแต่ในการวัดผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาเท่านั้น แต่วัดจากผลของผลสัมฤทธิ์ นั่นคือ วัดการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จในโลกของการทำงาน ดังนั้น หลักสูตรอาชีวศึกษา จึงเน้นกระบวนการคือประสบการณ์และกิจกรรมภายในสถาบัน/สถานศึกษา และผลิตผล คือผลของประสบการณ์และกิจกรรมของผู้สำเร็จการศึกษา
25
แนวคิด: หลักสูตรอาชีวศึกษา
2. เหตุผล (Justification) ต้องอยู่บนรากฐานของการวิเคราะห์ และระบุความต้องการของอาชีพ บอกได้อย่างชัดเจนเกี่ยวกับความต้องการของแรงงานในอาชีพ/กลุ่มอาชีพ ในท้องถิ่น สถานประกอบการ การเปิดหลักสูตรจะต้องพิจารณาถึง ชุมชนด้วย และต้องสนับสนุนโอกาสการมีงานทำ จุดเน้น (Focus) หลักสูตรต้องมุ่งพัฒนาความรู้ในสาขาวิชา ชีพรวมทั้งการพัฒนานักศึกษาโดยครอบคลุมทั้งความรู้ ทักษะ เจตคติ และค่านิยม (สมรรถนะ)ในวิชาชีพนั้นๆทำให้นักศึกษา มีความสามารถในการทำงาน (Employability) สร้างสภาพ แวดล้อมของการเรียนที่จะทำให้นักศึกษาได้รับการพัฒนา
26
แนวคิด: หลักสูตรอาชีวศึกษา
แนวคิด: หลักสูตรอาชีวศึกษา 4. มาตรฐานความสำเร็จภายใน (In – School Success Standards) มาตรฐานของความสำเร็จของสถานศึกษาเกี่ยวข้องโดยตรงกับการที่นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานที่คาดหวังในอาชีพ นักศึกษาจะต้องมีความรู้ในหลาย ๆ ด้าน เกี่ยวกับอาชีพที่จะไปทำงานซึ่งเป็นสิ่งสำคัญ จะต้องปฏิบัติงานหรือฝึกอาชีพเช่นเดียวกับการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ 5. มาตรฐานความสำเร็จภายนอก (Out – of – School Success Standards) ผู้จบด้านอาชีวศึกษาจะต้องปฏิบัติงานได้จริง รวมทั้งอัตราการมีงานทำจะต้องสูงอีกด้วย ผู้จ้างจะต้องมีความพึงพอใจต่อทักษะของผู้จบการศึกษา นักศึกษาได้งานทำในสาขาที่จบมา ผู้จบการศึกษาพอใจในงานและมีความก้าวหน้าในงาน
27
แนวคิด : หลักสูตรอาชีวศึกษา
แนวคิด : หลักสูตรอาชีวศึกษา 6. ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน (School - Community Relationships) การอาชีวศึกษามีความเกี่ยวพันโดยตรงกับภาคการเกษตร ธุรกิจ และอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นผู้ใช้ผลผลิต (ผู้สำเร็จการศึกษา) หลักสูตรจึงต้องสนองความต้องการของชุมชน ผู้จ้างก็จะต้องบอกความต้องการได้อย่างแน่ชัดและช่วยสนับสนุนให้สถานศึกษาสนองความต้องการนี้ได้ ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน รวมทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ผู้จ้างหรือผู้ใช้ผลผลิตอาจร่วมเป็นกรรมการที่ปรึกษาในการพัฒนาหลักสูตร สนับสนุนอุปกรณ์และวัสดุให้สถานศึกษา มีความร่วมมือในการจัดอาชีวศึกษาโดยการเป็นสถานที่ฝึกงาน/ประสบการณ์วิชาชีพ ร่วมมือในการฝึกอาชีพในระบบทวิภาคี
28
แนวคิด : หลักสูตรอาชีวศึกษา
แนวคิด : หลักสูตรอาชีวศึกษา 7. การตอบสนองอย่างทันเหตุการณ์ (Responsiveness) หลักสูตรต้องตอบสนองการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีในสังคมปัจจุบัน ทันต่อเหตุการณ์ การปฏิวัติอุตสาหกรรมและการผสมผสานเทคโนโลยีในชีวิตประจำวันมีผลกระทบต่อหลักสูตรอาชีวศึกษาอย่างมาก การพัฒนาที่เกิดขึ้นใหม่ ๆ จะต้องนำไปเสริมในหลักสูตร เพื่อให้ผู้สำเร็จมีความสามารถในการทำงานได้เต็มสมรรถภาพ การสนับสนุนจากภาครัฐบาล (Government Involvement) รัฐจะต้องสนับสนุนการจัดอาชีวศึกษา ซึ่งมีผลโดยตรงต่อหลักสูตรและคุณภาพของการศึกษา โดยอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ต่าง ๆ สามารถยืดหยุ่นได้ รวมทั้งไม่เป็นอุปสรรคต่อนวัตกรรมต่าง ๆ ที่ต้องพัฒนา
29
แนวคิด: หลักสูตรอาชีวศึกษา
9. การจัดการด้านทรัพยากร (Logistics) วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และทรัพยากรต่าง ๆ เป็นองค์ประกอบที่จะทำให้เกิดความสำเร็จ อุปกรณ์ต่าง ๆ ต้องพร้อมที่จะใช้ในการปฏิบัติหรือประลอง ต้องบำรุงรักษาอย่างดีและเปลี่ยน แปลงเมื่อล้าสมัย วัสดุฝึกจะต้องมีการจัดซื้อเก็บไว้ จัดทำรายการ จัดระบบการเบิกจ่าย ฯลฯ ต้องคำนึงถึงและพิจารณาการจัดทำมาตรฐานครุภัณฑ์ ประกอบการพัฒนาหลักสูตรและการใช้หลักสูตร
30
แนวคิด: หลักสูตรอาชีวศึกษา
10. ค่าใช้จ่าย (Expense) ค่าใช้จ่ายบางอย่างของสถานศึกษาทุกแห่งจำเป็นต้องใช้เช่นเดียวกัน เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าสาธารณูปโภค แต่หลักสูตรอาชีวศึกษามีความจำเป็นที่ต้องใช้สูงกว่า โดยเฉพาะค่าวัสดุ ครุภัณฑ์ ค่าบำรุงรักษา การเน้นการปฏิบัติงานจริงต้องลงทุนและใช้งบดำเนินการสูง โดยเฉพาะปัจจุบันซึ่งเทคโนโลยีก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมาก จึงมีความจำเป็นที่จะต้องจัดหาอุปกรณ์ให้ทันสมัยอยู่เสมอ
31
การผลิตและพัฒนา กำลังคน
มาตรฐานและคุณภาพการจัดการศึกษาของประเทศ คุณภาพ ระบบการ จัดการศึกษา ระดับ/ประเภท มาตรฐาน การศึกษาของชาติ คุณภาพ การผลิตและพัฒนา กำลังคน ของประเทศ มาตรฐาน การจัดการศึกษา ตาม ระดับ/ประเภท คุณภาพ ผู้เรียน/ผู้จบ การศึกษา ระดับ/ประเภท
32
หลักการ : คุณภาพในการผลิตและพัฒนากำลังคน
กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ NQF : National Qualification Framework กรอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพของกลุ่มอาชีพ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ NPQF : National Professional Qualification Framework (5-7) NVQF : National Vocational Qualification Framework (1-4) สมาคมวิชาชีพ องค์กรวิชาชีพ สภาวิชาชีพ มาตรฐานอาชีพ กระทรวงแรงงาน มาตรฐานฝีมือแรงงาน กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิการศึกษา TQF : Thai Qualification Framework - กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา TQF for Higher Education - กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา TQF for Vocational Education - กรอบมาตรฐานคุณวุฒิขั้นพื้นฐาน TQF for Basic Education
33
กรอบคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง
กรอบคุณวุฒิอาเซียน AQRF: Asian Qualification Reference Framework กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ NQF : National Qualification Framework กรอบคุณวุฒิการศึกษา TQF : Thai Qualification Framework -กรอบคุณวุฒิการอุดมศึกษา TQF for H.Ed : Thai Qualification Framework for Higher Education - กรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษา TQF for V.Ed : Thai Qualification Framework for Vocational Education กรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ NPQF : National Professional Qualification Framework มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ NSS : National Skill Standard -ตามอาชีพ NOSS : National Occupational Skill Standard -ตามอุตสาหกรรม NISS : National Industrial Skill Standard
34
กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF)
ระดับสมรรถนะ การเทียบโอน/เทียบเคียง/เติมเต็ม ความรู้/ทักษะ/การประยุกต์ใช้และคุณลักษณะ ระดับคุณวุฒิ การศึกษา ระดับ 9 ปริญญาเอก ระดับ 8 ประกาศนียบัตรบัณฑิตขั้นสูง ระดับ 7 ปริญญาโท ระดับ 6 ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับ 5 ปริญญาตรี ระดับ 4 อนุปริญญา/ปวส. ระดับ 3 ปวช. ระดับ 2 ม.ปลาย +ทักษะอาชีพ ระดับ 1 ม.ต้น +ทักษะอาชีพ
35
กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ( NQF)
ระดับ ชื่อคุณวุฒิ ผลลัพธ์การเรียนรู้ 3 ประกาศ- นียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการและวิธีดำเนินงาน สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ทักษะ ในขอบเขตสำคัญ และบริบทต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กัน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานประจำสามารถประยุกต์ทักษะ ความรู้ และ ICT ไปสู่บริบทใหม่ ๆ สามารถให้คำแนะนำและแก้ปัญหาเฉพาะด้าน อาจต้องรับผิดชอบต่อผู้อื่น รวมทั้งมีส่วนร่วมและ / หรือมีการประสานงานกลุ่มหรือหมู่คณะ มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ
36
กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ( NQF)
ระดับ ชื่อคุณวุฒิ ผลลัพธ์การเรียนรู้ 4 ประกาศ- นียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความรู้ในวิชาการที่สัมพันธ์กับวิชาชีพในขอบเขตทั่วไปของงานที่หลากหลายบางงานที่มีความซับซ้อนและไม่เป็นงานประจำ สามารถประยุกต์ทักษะ ความรู้ และเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ในการจัดการ การแก้ปัญหา มีความตระหนักในการทำงานอย่างปลอดภัย การวางแผนและจัดการทรัพยากรได้เหมาะสม มีส่วนร่วมในการพัฒนาวิธีการ ริเริ่มสิ่งใหม่ ๆ มีความรับผิดชอบต่อตนเองผู้อื่น และหมู่คณะ มีส่วนร่วมเกี่ยวกับการวางแผน การประสานงานและการประเมินผล มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ
37
กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ( NQF)
ระดับ ชื่อคุณวุฒิ ผลลัพธ์การเรียนรู้ 5 ปริญญาตรี สามารถค้นคว้าพัฒนานวัตกรรมและประยุกต์ความรู้ ทักษะและ ICT ในวิชาการและการปฏิบัติงานที่ใช้เทคโนโลยี หรืองานวิชาชีพในขอบเขตที่กว้างขวางและสัมพันธ์กับวิชาชีพตามแนวทางของตนเองในการวางแผนและจัดการทรัพยากรที่เหมาะสม มีส่วนร่วมพัฒนาและริเริ่มวิธีการปฏิบัติ รับผิดชอบต่อตนเองและหมู่คณะ มีอิสระในการปฏิบัติงานที่ซับซ้อน หรือจัดการงานผู้อื่น มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ
38
ความเชื่อมโยงระหว่าง มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ กับ มาตรฐานการศึกษา ระหว่าง โลกของการทำงาน กับ โลกของการศึกษา เงื่อนไขที่อาชีพต้องการ สถานที่ทำงาน สภาพงาน พื้นฐานการศึกษา อายุ เพศ สภาพร่างกาย ลักษณะนิสัย ฯลฯ เงื่อนไขในการจัดการเรียนรู้ - เนื้อหาสาระที่สอดคล้องกับผลลัพธ์ ของการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การประเมินทรัพยากร เช่น อาคารสถานที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ บุคลากร ข้อกำหนดอื่นๆ เช่น ระยะเวลาการ จัดการเรียนรู้ แหล่งฝึกอาชีพ ค่าใช้จ่ายของผู้เรียน ประสบการณ์ ในอาชีพของผู้สอน สมรรถนะการทำงานที่ต้องการ ในอาชีพ สมรรถนะที่กำหนดในการเรียนรู้ แปลง ผลลัพธ์ของ การทำงาน ผลลัพธ์ของ การเรียนรู้ ถ่ายโอน มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ (ผลลัพธ์) (กระบวนการ) มาตรฐานการศึกษา
39
ป.ตรี เทคโนโลยี/ปฏิบัติการ
คุณวุฒิการศึกษา พื้นฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษา ป.เอก ประกาศนียบัตรชั้นสูง ป.โท ประกาศนียบัณฑิต ป.ตรี เทคโนโลยี/ปฏิบัติการ ป.ตรี ปวส. อนุปริญญา มัธยมศึกษาตอนปลาย ปวช. มัธยมศึกษาตอนต้น ประถมศึกษาตอนปลาย ประถมศึกษาตอนต้น ****อาชีวศึกษาและฝึกอบรม จัดหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น/วิชาชีพเฉพาะ ****
40
สมรรถนะกำลังคนที่ประเทศต้องการ
การพัฒนาศักยภาพกำลังแรงงาน เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน ผ่านระบบอาชีวศึกษาและระบบคุณวุฒิวิชาชีพ สมรรถนะกำลังคนที่ประเทศต้องการ แรงงาน นักศึกษา มาตรฐานอาชีพ/ สมรรถนะ มาตรฐาน การทำงาน หลักสูตร อาชีวศึกษา ทำงาน การเรียน การสอน ฝึกงาน ประเมิน ประเมินในสถานประกอบการ/สถาบัน ประเมิน ศึกษาเพิ่มเติม TPQ/TVQ ปวช./ปวส./ ป.ตรี+ TPQ/TVQ Knowledge Worker
41
สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ
องค์กรกลาง ในการสนับสนุน ส่งเสริมพัฒนาทักษะความรู้ของกำลังคน พัฒนามาตรฐานอาชีพ พัฒนาคุณภาพกำลังคนจากระบบคุณวุฒิวิชาชีพเพื่อการรับรองสมรรถนะวิชาชีพ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของให้มีสมรรถนะตรงกับเส้นทางความก้าวหน้าทางสายอาชีพ - วิจัยและพัฒนา - ส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มอาชีพจัดทำมาตรฐานอาชีพ/มาตรฐาน สมรรถนะ - ศูนย์กลางข้อมูลเกี่ยวกับระบบคุณวุฒิวิชาชีพ และมาตรฐานอาชีพ/มาตรฐานสมรรถนะ -รับรองสมรรถนะบุคคล รับรององค์กรที่รับรองสมรรถนะบุคคล - ร่วมมือกับหน่วยงาน องค์กรวิชาชีพ สมาคมวิชาชีพ สถานศึกษา
42
ความร่วมมือ สอศ.และ สคช.(สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ)
จัดทำและ พัฒนามาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนและ การฝึกอบรมวิชาชีพ (กำหนดมาตรฐานในหลักสูตรให้สอดคล้องกับ มาตรฐานอาชีพที่สคช.ได้ประกาศฯ) พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ ตรงตามมาตรฐานอาชีพ สนับสนุนโครงการนำร่องศูนย์ทดสอบรับรองสมรรถนะของบุคคลตาม มาตรฐานอาชีพ ประชาสัมพันธ์มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพให้เป็นที่รับรู้และ เป็นที่ยอมรับของทุกภาคส่วน
43
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ (NPQF/NVQF)
ระดับ (Level) คำอธิบาย ระดับ 7 National Qualification of Advanced Professional Competence (NPQ) Top management, Novel & Original ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารอาวุโสระดับสูง ระดับ 6 National Qualification of Higher Professional Competence (NPQ) Experienced Specialists and Senior management ผู้เชี่ยวชาญพิเศษในอาชีพ ผู้บริหารในอาชีพระดับสูง ระดับ 5 National Qualification of Professional Competence (NPQ) Professionally qualified, and mid-management ผู้เชี่ยวชาญในอาชีพ ผู้บริหารระดับกลาง ระดับ 4 National Advanced Diploma Qualification of Vocational Competence (NVQ) supervisors, foremen, superintendents academically qualified workers, junior management, ผู้ชำนาญการในอาชีพ, ผู้บริหารระดับต้น ระดับ 3 National Qualification of Vocational Competence 3 (NVQ) Skilled personnel/worker ผู้มีทักษะเฉพาะทาง ระดับ 2 Competence 2 (NVQ) Semi-Skilled personnel /worker ผู้มีทักษะฝีมือ ระดับ 1 National Qualification of Vocational Competence 1 (NVQ) Low Skilled personnel/worker ผู้มีทักษะเบื้องต้น
44
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ (NPQF/ NVQF)
ชั้น (Level) คำอธิบายทั่วไป (Description) ชั้น 3 National Qualification of Vocational Competence (NVQF) Skilled personnel/ worker ผู้มีทักษะเฉพาะทาง มีทักษะระดับฝีมือในการปฏิบัติงาน กระบวนการคิดและปฏิบัติที่หลากหลาย สามารถแก้ปัญหาทางเทคนิคควบคู่กับการใช้คู่มือ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องภายใต้การแนะแนวของผู้บังคับบัญชา
45
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ (NPQF/ NVQF)
ชั้น (Level) คำอธิบายทั่วไป (Description) ชั้น 4 National Advanced Diploma Qualification of Vocational Competence (NVQF) supervisors, foremen, superintendents academically qualified workers, junior management ผู้เชี่ยว ชาญในอาชีพ ระดับต้น ผู้บริหารระดับต้น มีทักษะทางเทคนิคในการปฏิบัติงาน มีทักษะทางความคิดและปฏิบัติที่หลากหลาย ครอบคลุมการปฏิบัติงาน หาข้อสรุปและการตัดสินใจแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับงานโดยใช้ทฤษฎีและเทคนิคอย่างอิสระด้วยตนเอง
46
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ (NPQF/ NVQF)
ชั้น (Level) คำอธิบายทั่วไป (Description) ชั้น 5 National Qualification of Professional Competence (NPQF) Professionally qualified, and mid-management ผู้เชี่ยวชาญใน อาชีพ ผู้บริหาร ระดับกลาง มีทักษะทางเทคนิคในการปฏิบัติงานมีทักษะในการปฏิบัติงานที่ซับซ้อน มีส่วนร่วมในการวางแผน บริหารจัดการ และกำหนดนโยบายขององค์กรโดยใช้ทฤษฎีและเทคนิคในการแก้ปัญหาอย่างอิสระ สามารถพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่ๆได้สามารถใช้ภาษา ต่างประเทศและเทคโนโลยีในการปฏิบัติงานและสามารถอบรมและฝึกฝนบุคคลอื่นได้
47
ระดับ 1 (ระดับต้น) ระดับ 2 (ระดับกลาง) ระดับ 3 (ระดับสูง)
มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระดับ 1 (ระดับต้น) ใช้ความรู้ ทักษะ พื้นฐานของสาขานั้นๆ ทำงานได้ตามที่กำหนดไว้โดยไม่ต้องอาศัยการตัดสินใจ ต้องมีผู้ควบคุมการทำงานหรือตรวจสอบ ระดับ 2 (ระดับกลาง) ใช้ความรู้ ความสามารถสูง ใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพสูง ไม่ต้องมีผู้ควบคุมการทำงาน แต่อาจต้องการคำแนะนำในบางกรณี คุณภาพสูง ระดับ 3 (ระดับสูง) ใช้ความรู้ ทักษะ สูง สามรถวินิจฉัยงานได้ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้ ให้คำปรึกษา แนะนำ ช่วยเหลือผู้อื่นได้ สามารถประยุกต์เทคโนโลยีใหม่ให้เป็นประโยชนฯต่องานได้ มีความรู้เชิงบริหาร และจัดการธุรกิจในสาขาที่รับผิดชอบ
48
ความร่วมมือ สอศ.และ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
บูรณาการระบบการเรียนการสอนในสถานศึกษาและการฝึกอบรม การทดสอบ ให้ผู้จบ และผู้เรียนที่ยังไม่จบ หรือฝึกอบรมวิชาชีพ ได้รับหรือสามารถเข้ารับการทดสอบเพื่อให้ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานได้โดยสะดวก ร่วมจัดการศึกษาที่เน้นบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน ร่วมจัดการศึกษาเพื่อเปิดโอกาสให้คนที่อยู่ในโลกการทำงานสามารถได้รับการศึกษาได้โดยสะดวก ร่วมดำเนินการในด้านอื่นๆที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาอาชีวศึกษา
49
AQRF: Asian Qualification Reference Framework
กรอบคุณวุฒิอาเซียน AQRF: Asian Qualification Reference Framework ระดับ คำอธิบาย 1 มีความรู้และทักษะในเรื่องพื้นฐานทั่วไปเกี่ยวกับการกระทำอันเป็นกิจวัตรธรรมดาและง่ายๆ 2 มีความรู้และทักษะในเรื่องทั่วไปและเป็นข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับการปฏิบัติที่ได้มาตรฐาน 3 มีความรู้และทักษะประกอบด้วยหลักการทั่วไปและที่เกี่ยวกับกรอบแนวคิดบางประการ การเลือกและนำไปใช้เป็นเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และข้อมูล 4 มีความรู้และทักษะทางเทคนิคเฉพาะด้าน และทฤษฎีที่ครอบคลุมสาขาพื้นฐานทั่วไป เกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาปรับปรุง
50
กรอบคุณวุฒิอาเซียน : AQRF
ระดับ คำอธิบาย 5 มีความรู้และทักษะในรายละเอียดทางเทคนิค และความรู้เชิงทฤษฎีในสาขาทั่วไป เกี่ยวข้องกับการคิดวิเคราะห์ 6 มีความรู้และทักษะ ความเชี่ยวชาญทางเทคนิค และความรู้ทางทฤษฎีในสาขาเฉพาะด้าน มีการคิดวิเคราะห์และวิพากษ์วิจารณ์ได้ 7 มีความรู้และทักษะในระดับแถวหน้าของสาขาและแสดงความชำนาญในองค์ความรู้ มีความคิดวิพากษ์วิจารณ์อย่างเป็นอิสระ ซึ่งเป็นพื้นฐานในการทำวิจัยเพื่อเผยแพร่หรืออธิบายความรู้และการนำไปปฏิบัติ 8 มีความรู้และทักษะอยู่ในระดับที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษและมีการพัฒนาสูงสุดอยู่ในระดับแถวหน้าของสาขาวิชา มีความคิดอิสระเป็นของตนเอง มีการทำวิจัยที่ส่งผลให้เกิดการสร้างความรู้และการปฏิบัติงานใหม่ๆ
51
การเทียบเคียงระหว่างคุณวุฒิอาชีวศึกษาและคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง ปัจจุบัน
AQRF NQF NVQF/NPQI NSS TQF for V.Ed. level 8 7 6 5 4 3 2 1 level 9 8 7 6 5 4 3 2 1 level 7 6 5 4 3 2 1 level 3 2 1 V.Ed. level BECH. DIP 1 Cert 2
52
การเทียบเคียงระหว่างคุณวุฒิอาชีวศึกษาและคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง อนาคต
AQRF NQF NVQF/NPQI NSS TQF for V.Ed. level 8 7 6 5 4 3 2 1 level 8 7 6 5 4 3 2 1 level 8 7 6 5 4 3 2 1 V.Ed. level BACH. DIP 1 CERT 2 level 5 4 3 2 1
53
Arrangements: MRAsของอาเซียนทั้งหมด 7 สาขา
ปัจจุบันมีข้อตกลงยอมรับรวมในคุณสมบัตินักวิชาชีพMutual Recognition Arrangements: MRAsของอาเซียนทั้งหมด 7 สาขา 1.แพทย์ (Medical Practitioners) 2.ทันตแพทย์ (Dental Practitioners) 3.พยาบาล (Nursing Services) 4.สถาปัตยกรรม(Architectural Services) 5.การสำรวจ (Surveying Qualifications) 6.นักบัญชี(Accountancy Services) 7.วิศวกรรม (Engineering Services) สำหรับด้านโรงแรมและการท่องเที่ยวมีข้อตกลงใน 32 ตำแหน่งงาน โดยมีการแบ่งเป็น 2 สาขา 1.สาขาด้านโรงแรม 4 แผนก แผนกต้อนรับ แผนกแม่บ้าน แผนกอาหาร และอาหารกับเครื่องดื่ม 2.สาขาด้านการท่องเที่ยว 2แผนก แผนกนำเที่ยว และแผนกบริหารธุรกิจนำเที่ยวในสาขาที่พักและการเดินทาง
54
มาตรฐานอาชีพ/มาตรฐานสมรรถนะ/มาตรฐานการปฏิบัติงาน
มาตรฐานหลักที่เกี่ยวข้องกับการจัดการอาชีวศึกษา คุณภาพ ผู้ประกอบอาชีพ คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานอาชีพ/มาตรฐานสมรรถนะ/มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Occupational Standards/ Competency Standards/ performance Standards) มาตรฐานการอาชีวศึกษา (Vocational Education Standards/Institutional Standards) มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ/ มาตรฐานวิชาชีพสาขาวิชา (General Vocational Education Standards /Curriculum Standards) คุณภาพ การอาชีวศึกษา
55
*มาตรฐานอาชีพ/มาตรฐานสมรรถนะ
มาตรฐานและคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษา มาตรฐานการศึกษาของชาติ พรบ.ที่เกี่ยวข้อง กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ มาตรฐานการอาชีวศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ อาชีวศึกษาแห่งชาติ มาตรฐาน อื่นๆที่ เกี่ยวข้อง กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ *มาตรฐานอาชีพ/มาตรฐานสมรรถนะ มาตรฐานและตัวบ่งชี้เพื่อ การประกันคุณภาพภายใน มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา ระดับปวช. ปวส. และ ป.ตรีเทคโนโลยี/ปฏิบัติการ มาตรฐานการศึกษา และตัวบ่งชี้ที่สถาบันการอาชีวศึกษา/สถานศึกษา กำหนดเพื่อการประกันคุณภาพภายใน หลักสูตร ประเภทวิชา ...สาขาวิชา..... ปวช. ปวส. และป.ตรี เทคโนโลยี/ปฏิบัติการ (กรอบคุณวุฒิการ ศึกษาวิชาชีพสาขาวิชา :คอศ.1) -มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ หลักสูตรสาขาวิชา ของสถาบันฯ/สถานศึกษา (คอศ.2)
56
แนวคิด : กรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ (TQF for Vocational Education)
คุณภาพผู้เรียน/ผู้สำเร็จการอาชีวศึกษาโดยภาพรวม คุณภาพผู้เรียน/ผู้สำเร็จการอาชีวศึกษาตามระดับคุณวุฒิ คุณภาพผู้เรียน/ผู้สำเร็จการอาชีวศึกษาตามระดับประเภท วิชา สาขาวิชา สาขางาน คุณภาพหลักสูตร *** เชื่อมโยงกับ NQF , TQF พื้นฐาน อุดมศึกษา , TPQF *** เทียบเคียงกับต่างประเทศ เช่น ASEAN QF ,EQF , AQF ข้อกำหนดในการรับรองความรู้ ความสามารถ ของผู้เรียนและผู้จบการอาชีวศึกษา ใช้เป็นมาตรฐานเทียบเคียงกับการศึกษาในระดับเดียวกันในประเทศ และประเทศอื่นทั้งในระบบการศึกษาและการทำงาน
57
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ (TQF for Vocational Education)
ใช้ในการกำหนดมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาในแต่ละระดับ ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนสอน พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้สามารถผลิตผู้สำเร็จการศึกษาที่มีคุณภาพ ประโยชน์ต่อการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิผู้สำเร็จการศึกษา ประกาศกระทรวงฯ 31 มกราคม 2556
58
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ (TQF for Vocational Education)
ระดับคุณวุฒิอาชีวศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ คุณภาพของผู้สำเร็จการอาชีวศึกษาทุกระดับ คุณวุฒิ ประเภทวิชา และสาขาวิชาต่าง ๆ ต้องครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ด้านสมรรถนะวิชาชีพ ด้านสมรรถนะวิชาชีพ มาตรฐานอาชีพ มาตรฐานวิชาชีพ
59
ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป - ความรู้
-คุณธรรม จริยธรรม -จรรยาบรรณวิชาชีพ -พฤติกรรมลักษณะนิสัย -ทักษะทางปัญญา สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ความรู้ การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -การพัฒนาการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน -การทำงานร่วมกับผู้อื่น -การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ -การประยุกต์ใช้ตัวเลข -การจัดการและการพัฒนางาน ด้านสมรรถนะวิชาชีพ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาชีพสู่การปฏิบัติจริง รวมทั้งประยุกต์สู่อาชีพ
60
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552
2 กรกฎาคม 2552 ( TQF for Higher Education ) เป็นกรอบให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ และเพื่อประโยชน์ต่อการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิในระดับอุดมศึกษา ระดับที่ ๑ อนุปริญญา (๓ ปี) ระดับที่ ๒ ปริญญาตรี ระดับที่ ๓ ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับที่ ๔ ปริญญาโท ระดับที่ ๕ ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ระดับที่ ๖ ปริญญาเอก
61
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552
คุณภาพของบัณฑิตทุกระดับคุณวุฒิและสาขา/สาขาวิชาต่างๆต้อง เป็นไปตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่สกอ.กำหนด และต้องครอบคลุม อย่างน้อย ๕ ด้าน ด้านคุณธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ *สำหรับสาขา/สาขาวิชา ที่เน้นทักษะทางปฏิบัติต้องเพิ่ม มาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
62
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ (TQF for Vocational Education )
มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ TQF ระดับ -หลักสูตรแกนกลางระดับ ปวช. ประเภทวิชา สาขาวิชา *มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ สาขาวิชา สาขางาน -หลักสูตรแกนกลาง ระดับปวส. ประเภทวิชา สาขาวิชา *มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ สาขาวิชา สาขางาน กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ สาขาวิชา(คอศ.1) TQF สาขาวิชา *มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ สาขาวิชา สาขางาน หลักสูตรสถานศึกษา/สถาบันฯ หลักสูตรสถานศึกษา/สถาบันฯ หลักสูตรสถาบันฯ(คอศ.2)
63
มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับปวช. ปวส. ป.ตรีสายเทคโนโลยี/ปฏิบัติการ
ชื่อคุณวุฒิการศึกษา คุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ ปวช. ปวส. ป.ตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ปรัชญาและวัตถุประสงค์ การจัดการศึกษา การคิดหน่วยกิตต่อภาคเรียน จำนวนหน่วยกิต โครงสร้างหลักสูตร เงื่อนไขการจัดการเรียนรู้ คุณสมบัติผู้เรียน คุณสมบัติผู้สอน การลงทะเบียน การวัดผลและประเมินผลการเรียน และการสำเร็จการศึกษา การประกันคุณภาพหลักสูตร การกำหนดมาตรฐานคุณวุฒิ หลักสูตรและการอนุมัติ ประกาศกระทรวงฯ 31 มกราคม 2556
64
คุณวุฒิอาชีวศึกษาระดั บ ปวช.
มีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการและการดำเนินงาน มีทักษะการปฏิบัติ งานในขอบเขตสำคัญและบริบทต่างๆที่สัมพันธ์กัน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานประจำ สามารถประยุกต์ ใช้ความรู้และทักษะไปสู่บริบทใหม่ สามารถให้คำแนะนำ แก้ปัญหาเฉพาะด้าน และรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น มีส่วนร่วมในคณะทำงานหรือมีการประสานงานกลุ่ม รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่เหมาะสมในการทำงาน
65
คุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ ปวส.
สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในวิชาการที่สัมพันธ์ กับวิชาชีพ ในการวางแผน แก้ปัญหา และจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานได้อย่างเหมาะสม มีส่วนร่วมในการพัฒนาวิชาการ ริเริ่มสิ่งใหม่ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและหมู่คณะ เป็นอิสระในการปฏิบัติงานที่ซับซ้อนหรือจัดการงานผู้อื่น มีส่วนร่วมที่เกี่ยวกับการวางแผน การประสานงานและการประเมินผล รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่เหมาะสมในการทำงาน
66
คุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ ปริญญาตรี
สายเทคโนโลยี/สายปฏิบัติการ สามารถศึกษาค้นคว้า พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีในวิชาการสัมพันธ์กับวิชาชีพเพื่อประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในขอบเขตที่กว้าง ขวาง วางแผนและบริหารงานการผลิตและบริการในอาชีพ มีส่วนร่วมพัฒนาและริเริ่มวิธีการปฏิบัติ รับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและหมู่คณะ เป็นอิสระในการปฏิบัติงานที่ซับซ้อนหรือจัดการงานผู้อื่น มีส่วนร่วมที่เกี่ยวกับการวางแผน การประสานงานและการประเมินผล รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่เหมาะสมในการทำงาน
67
หลักการกำหนดมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพสาขาวิชาในแต่ละระดับ
ปวช. (เทียบเคียงกับNQF ระดับ3 NVQFระดับ 3) ปวส. (เทียบเคียงกับNQF ระดับ4) NVQFระดับ 4 TQF ของสกอ.ระดับอนุปริญญา) ป.ตรีสายเทคโนโลยี/สายปฏิบัติการ (เทียบเคียงกับNQF ระดับ5) ร่างNPQFระดับ 5 TQF ของสกอ.ระดับ ป.ตรี) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ระดับ ปวช. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ระดับ ปวส. ระดับ ป.ตรีปฏิบัติการ สมรรถนะหลักและ สมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช. สมรรถนะวิชาชีพ
68
กรอบโครงสร้างหลักสูตร ปวช. ปวส. ป.ตรีปฏิบัติการ
1 หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า กลุ่มวิชาภาษา กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 2 หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ 3 หมวดวิชาเลือกเสรี 4 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 21 69 (4) 10 - 18 54 6 15 51 หน่วยกิตรวม 78-90 72-87
69
โครงสร้างหลักสูตร ปวช. 2556
1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาไทย ไม่น้อยกว่า (2) 1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า (6) 1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า (4) 1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า (4) 1.5 กลุ่มวิชาสังคมศึกษา ไม่น้อยกว่า (4) 1.6 กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ไม่น้อยกว่า (2) 2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า หน่วยกิต 2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (18 หน่วยกิต) 2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (24 หน่วยกิต) 2.3 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต) 2.4 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ (4 หน่วยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หน่วยกิต) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร ชั่วโมงต่อสัปดาห์ รวม ไม่น้อยกว่า 103 หน่วยกิต ในการกำหนดให้เป็นสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง ต้องศึกษากลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะในสาขาวิชานั้นๆ รวมไม่น้อยกว่า 35 หน่วยกิต
70
โครงสร้างหลักสูตร ปวส.2557
1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า หน่วยกิต 1.1กลุ่มทักษะภาษาและการสื่อสาร กลุ่มวิชาภาษาไทย ไม่น้อยกว่า(3) 1.1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศไม่น้อยกว่า(6) 1.2กลุ่มทักษะการคิดและการแก้ปัญหา กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า (3) 1.2.2 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า (3) 1.3กลุ่มทักษะทางสังคมและการดำรงชีวิต กลุ่มวิชาสังคมศึกษา ไม่น้อยกว่า (3) 1.3.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ไม่น้อยกว่า (3) 2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า หน่วยกิต 2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15) 2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21) 2.3 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก ไม่น้อยกว่า (12) 2.4 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ (4) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ช.ม. / สัปดาห์) รวมไม่น้อยกว่า 83 หน่วยกิต
71
โครงสร้างหลักสูตร ป.ตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ 2556
1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า หน่วยกิต 1.1 กลุ่มวิชาภาษา ไม่น้อยกว่า (6) 1.2 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า (6) 1.3 กลุ่มวิชาสังคมศึกษาและมนุษยศาสตร์ ไม่น้อยกว่า (3) 2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า หน่วยกิต 2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ ไม่น้อยกว่า (30) 2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก ไม่น้อยกว่า (15) 2.3 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ 2.4 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (6) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า หน่วยกิต กิจกรรมเสริมหลักสูตร (ไม่น้อยกว่า 100 ชั่วโมง) รวมไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต (72-78 หน่วยกิต) ในการกำหนดให้เป็นสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง ต้องศึกษากลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะในสาขาวิชานั้นๆ รวมไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
72
การกำหนดเงื่อนไขการจัดการเรียนรู้
จัดเตรียมความพร้อมด้านอาคารสถานที่ ครุภัณฑ์ และบุคลากร อัตราส่วนของเวลาการเรียนรู้ภาคทฤษฎีต่อภาคปฏิบัติ ในหมวดวิชาชีพ( ปวช. ทฤษฎี : ปฏิบัติ = 20 : 80 ปวส. ป.ตรี ทฤษฎี : ปฏิบัติ = 40 : 60) การพัฒนารายวิชา รูปแบบการจัดการเรียนการสอน (ป.ตรีเน้นทวิภาคี) ความร่วมมือกับสถานประกอบการจัดฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (ระบบปกติ) จัดฝึกอาชีพ(ระบบทวิภาคี) จัดให้ผู้เรียนทำโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ การประเมินมาตรฐานวิชาชีพสาขาวิชา กิจกรรมเสริมหลักสูตร
73
การประกันคุณภาพหลักสูตร ปวช. ปวส.
การประกันคุณภาพหลักสูตร ปวช. ปวส. องค์ประกอบ คำอธิบาย คุณภาพผู้เรียน ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ได้จากมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพที่ประกอบด้วยคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และสมรรถนะวิชาชีพ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ การบริหารหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ การจัดการในการใช้หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การประเมินหลักสูตร การจัดกิจกรรม การนิเทศ การวัดและประเมินผล
74
การประกันคุณภาพหลักสูตร ปวช. ปวส.
การประกันคุณภาพหลักสูตร ปวช. ปวส. องค์ประกอบ คำอธิบาย ทรัพยากรประกอบ การเรียน ผู้สอนและบุคลากรของสถานศึกษา ครูฝึก ผู้เชี่ยวชาญ วัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ สื่อ การสอน เทคโนโลยีที่ทันสมัย อาคารเรียน ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ สถานประกอบการ ที่ เหมาะสมสำหรับสาขาวิชานั้นๆ ความต้องการของ ตลาดแรงงาน ศึกษาความต้องการ วิเคราะห์ skill gap สำรวจความพึงพอใจ ความร่วมมือกับสถาน ประกอบการ
75
ประเภทวิชา.......สาขาวิชา...... หมวดวิชา ทักษะชีวิต หมวดวิชา
วิชาที่เป็นแกนของสาขาวิชา กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ สาขางาน/กลุ่มงาน ที่สอดคล้องกับสาขาวิชา กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก หมวดวิชา ทักษะวิชาชีพ ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ หมวดวิชา เลือกเสรี โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ **กรณีจัดทำสาขางาน/กลุ่มงาน : กำหนดสมรรถนะ และจัดทำรายวิชาในกลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก ที่สอดคล้องกับงานในสถานประกอบการ อาจกำหนดในหมวดวิชาเลือกเสรีด้วยได้ กิจกรรม เสริมหลักสูตร
76
รูปแบบรายวิชาตามหลักสูตร
XXXX-XXXX ชื่อวิชา ท – ป – น (ชื่อวิชาเป็นภาษาอังกฤษ) วิชาบังคับก่อน : (ถ้ามี) จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา คำอธิบายรายวิชา
77
แนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา
มาตรฐานอาชีพ/ มาตรฐาน สมรรถนะ Job Analysis - Functional Analysis กำหนดมาตรฐาน การศึกษาวิชาชีพ คุณลักษณะที่พึง ประสงค์ สมรรถนะหลักและ สมรรถนะทั่วไป สมรรถนะวิชาชีพ หลักสูตร ฐานสมรรถนะ จัดรายวิชาตาม โครงสร้างหลักสูตร - สมรรถนะรายวิชา รายวิชา สมรรถนะ วิเคราะห์ วิเคราะห์ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ กระทรวงแรงงาน องค์การวิชาชีพ สถานประกอบการ สอศ. สถาบันฯ/สถาน ศึกษา สอศ. สถาบันฯ/สถาน ศึกษา องค์การวิชาชีพ สถานประกอบการ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ สอศ. สถาบันฯ/สถาน ศึกษา องค์การวิชาชีพ สถานประกอบการ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ สอศ. สถาบันฯ /สถานศึกษา สถาน ประกอบการ
78
ความสัมพันธ์ของการพัฒนากำลังคน ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผ่านการทดสอบ ฝึกอบรม ผ่านการศึกษา รายวิชา มาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานฝีมือแรงงาน มาตรฐานอาชีพ -มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ -หลักสูตรฐานสมรรถนะ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน สถาบันคุณวุฒิ วิชาชีพ สอศ.
79
กรอบแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรฯ การจัดการเรียนรู้เพื่อมุ่งเน้นสมรรถนะ
มาตรฐานอาชีพ/มาตรฐานสมรรถนะ มาตรฐาน การศึกษาวิชาชีพ โครงสร้างหลักสูตร จัดแผนการเรียนรู้ มุ่งเน้นสมรรถนะ สมรรถนะการทำงานที่ต้องการในอาชีพ (โดยเจ้าของอาชีพ สถาบัน สมาคม ชมรม ฯลฯ) สมรรถนะที่กำหนดในการเรียนรู้ (โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาและงานอาชีพ) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป สมรรถนะวิชาชีพ (มาตรฐานวิชาชีพ) 1.หมวดทักษะชีวิต หมวดทักษะวิชาชีพ -กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน -กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ -กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก -ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ -โครงการพัฒนา ทักษะวิชาชีพ หมวดวิชาเลือกเสรี 5.กิจกรรมเสริมหลักสูตร รายวิชา ... -จุดประสงค์รายวิชา -สมรรถนะรายวิชา -คำอธิบายรายวิชา รายวิชา ... รายวิชา ... รายวิชา ... จัดการเรียนรู้รายวิชา มุ่งเน้นสมรรถนะและ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (Vocational National Educational Test : V-NET) ประกันคุณภาพหลักสูตร ประกันคุณภาพผู้เรียน การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ (Vocational Qualifications : VQ)
80
วงจรของการพัฒนาหลักสูตร
บริบท / สภาวะแวดล้อม Curriculum EVALUATION ประเมินบริบท/ตัวหลักสูตร ประเมินปัจจัยเบื้องต้น ประเมินกระบวนการ ใช้หลักสูตร ประเมินผลที่ได้จาก การใช้หลักสูตร ผลผลิต ผลลัพธ์/ผลกระทบ Curriculum PLANNING วิเคราะห์บริบท กำหนดจุดมุ่งหมาย มาตรฐาน จัดโครงสร้างและเนื้อหา วางแนวทางจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ทดลองใช้ ปรับปรุง/นำไปใช้จริง Curriculum IMPLEMENTATION บริหารหลักสูตร (เอกสาร อุปกรณ์ บุคลากร) สนับสนุน/บริการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประเมินการเรียนรู้ นิเทศการใช้หลักสูตร สารสนเทศสำหรับการปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตร
81
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
การวิเคราะห์/รวบรวม ข้อมูลพื้นฐาน การกำหนดหลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร การเลือกและจัดเนื้อหาและประสบการณ์ในหลักสูตร การประเมินหลักสูตร การนำหลักสูตรไปใช้ในสถานศึกษา การกำหนดแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน/ประเมินหลักสูตร การตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรและปรับแก้ก่อนนำไปใช้
82
ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน
ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน วิเคราะห์ปรัชญาการศึกษา และจิตวิทยาการเรียนรู้ วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู้เรียน วิเคราะห์ข้อมูลทางสังคม สภาพสังคมในปัจจุบันและอนาคตทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง วัฒนธรรม ระบบครอบครัว ค่านิยมของสังคม รวมถึงความเปลี่ยนแปลงทางสังคม ประชาคมอาเซียน ความต้องการตลาดแรงงาน วิเคราะห์อาชีพ มาตรฐานอาชีพ/มาตรฐานสมรรถนะ วิเคราะห์เนื้อหาความรู้ ลักษณะธรรมชาติของเนื้อหาความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ตลอดจนความ เปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าทางวิทยาการ สถานประกอบการ ศึกษาประกาศ หลักเกณฑ์ มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
83
ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ ความเข้าใจ
สมรรถนะ (Competence) ในความหมายทั่วไป ความสามารถในการปฏิบัติงานโดยใช้ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ที่บูรณาการอย่างแนบแน่นเพื่อให้เกิด ประสิทธิผลแประสิทธิภาพ ในความหมายของงานอาชีพ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะปฏิบัติและทักษะด้านความคิดในการปฏิบัติงาน ให้มีประสิทธิผลตามมาตรฐานที่ต้องการของอาชีพ
84
องค์ประกอบของสมรรถนะ
สามารถทำเป็น สามารถคิดเป็น ทักษะอาชีพ ทักษะ Skill ฝึก ความรู้ Knowledge ทัศนคติ Attitude ลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ ความรู้ทั่วไป ความรู้เฉพาะทาง ความรู้เชิงกระบวนการ
85
Functional Analysis Functional Map Key Purpose Unit of Competence
Key Role Key Function Unit of Competence Element of Competence - Performance Criteria - Range Statement Evidence Requirements - Guidance to Assessors
86
ขั้นที่ 2 การกำหนดหลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ขั้นที่ 2 การกำหนดหลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตร กำหนดเป้าหมายของหลักสูตรในหลักการ กำหนดคุณลักษณะของผู้เรียนจบหลักสูตร ในจุดมุ่งหมายให้ชัดเจนความรู้ ทักษะ แนวคิด เจตคติ ความสามารถทำอะไรได้ และเป็นประโยชน์ต่อสังคมได้อย่างไร กำหนด มาตรฐานการเรียนรู้ในหลักสูตร -มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ
87
- คุณลักษณะที่พึงประสงค์ - สมรรถนะหลักและ สมรรถนะทั่วไป
พัฒนาหลักสูตร ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน กำหนดจุดประสงค์สาขาวิชา จัดทำมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ สาขาวิชา สาขางาน - คุณลักษณะที่พึงประสงค์ - สมรรถนะหลักและ สมรรถนะทั่วไป - สมรรถนะวิชาชีพ (วิเคราะห์จากมาตรฐานอาชีพ : บทบาทหลัก หน่วยสมรรถนะ สมรรถนะย่อย)
88
กำหนดสมรรถนะวิชาชีพในมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ
วิเคราะห์จากหน่วยสมรรถนะ สมรรถนะย่อย ตามระดับคุณวุฒิ นำมากำหนดเป็นมาตรฐานสมรรถนะที่สะท้อนในหมวดวิชาชีพ กลุ่ม - ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน - ทักษะวิชาชีพเฉพาะ (สาขาวิชา) - ทักษะวิชาชีพเลือก (สาขางาน) Wanlapha Mar 57
89
ขั้นที่ 3 การเลือกและจัดเนื้อหาและประสบการณ์ในหลักสูตร
ขั้นที่ 3 การเลือกและจัดเนื้อหาและประสบการณ์ในหลักสูตร - เลือกและจัดเนื้อหาและประสบการณ์ ที่ช่วยเอื้อให้ ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามที่คาดหวังไว้ใน จุดมุ่งหมาย ของหลักสูตร ตามระดับการศึกษา - จัดทำโครงสร้างหลักสูตร ประกอบด้วยหมวดวิชา กลุ่ม วิชา รายวิชา เนื้อหา เวลาเรียน จำนวนหน่วยกิต - จัดทำมาตรฐานรายวิชา/สมรรถนะรายวิชา จุดประสงค์ รายวิชา คำอธิบายของเนื้อหาของแต่ละรายวิชา หรือแต่ ละหัวเรื่อง
90
องค์ประกอบในเอกสารหลักสูตร ประเภทวิชา สาขาวิชา
หลักการ จุดหมาย หลักเกณฑ์การใช้หลักสูตร การกำหนดรหัสวิชา จุดประสงค์สาขาวิชา มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ โครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชา หมวดวิชา กลุ่มวิชา รายวิชาในแต่ละหมวด/กลุ่ม/สาขางาน รายละเอียดแต่ละรายวิชา สมรรถนะรายวิชา คำอธิบาย รายวิชา
91
กำหนดแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ขั้นที่ 4 การกำหนดแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแนวทางการประเมินหลักสูตร กำหนดแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กำหนดแนวทางการประเมินหลักสูตร จัดทำระเบียบ หลักเกณฑ์ต่างๆ -ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๖ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงพุทธศักราช ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๘ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรปริญญาตรี พุทธศักราช ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๖
92
ขั้นที่ 5 การตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรและปรับแก้ก่อนนำไปใช้
รูปแบบการตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร ตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ สถานประกอบการ หรือคณะกรรมการ วิเคราะห์แต่ละองค์ประกอบของหลักสูตรเพื่อพิจารณาความเหมาะสมแล้วนำผลการตรวจสอบมาปรับปรุงแก้ไข ทดลองใช้ ประเมิน ** คณะอนุกรรมการฯ ด้านหลักสูตร สอศ. ** คณะกรรมการ สอศ.
93
องค์ประกอบของการบริหารหลักสูตรในสถานศึกษาเชิงระบบ
ขั้นที่ 6 การนำหลักสูตรไปใช้ในสถานศึกษา วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง การวิเคราะห์รายวิชา การแปลงหลักสูตรไปสู่การสอน การจัดปัจจัยสภาพต่างๆในสถานศึกษา การจัดการเรียนสอน การนิเทศ ติดตาม ประเมิน องค์ประกอบของการบริหารหลักสูตรในสถานศึกษาเชิงระบบ Input Process Output - หลักสูตร การดำเนินงาน รูปแบบที่ดี คงไว้ การวางแผน การจัดกิจกรรม พัฒนาต่อ การจัดเรียนการสอน บุคคล เครือข่ายที่มี รูปแบบที่ไม่ดีต้อง การประเมินผล ส่วนร่วม ปรับปรุง การจัดทรัพยากร
94
การนำหลักสูตรไปใช้ วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง
จัดทำสมรรถนะรายปี/ภาค แผนการเรียนรายภาค ผู้สอนวิเคราะห์รายวิชา -จัดทำมอดูล/หน่วยการเรียน (วิเคราะห์จากรายละเอียดของสมรรถนะย่อย – เกณฑ์การปฏิบัติงาน(Performent Criteria) ขอบเขต(Range) หลักฐานความรู้(Evidence) เกณฑ์การประเมิน(Assessment Guidence) -แผนการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะ -แผนการฝึกอาชีพ (ทวิภาคี)
95
หลักสูตรรายวิชา/โครงการสอน/แผนการจัดการเรียนรู้
วิเคราะห์จุดประสงค์สาขาวิชา สมรรถนะรายวิชา คำอธิบายรายวิชา กำหนดหัวข้อ/หน่วยการเรียน จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เนื้อหาในแต่ละหัวข้อ/หน่วยการเรียน เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) หลักฐานความรู้ (Evidence) ขอบเขต (Range) เกณฑ์การประเมิน(Assessment Guidance) กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/วัสดุ/อุปกรณ์ เอกสาร(ใบงาน ใบมอบหมายงาน) เครื่องมือประเมิน
96
การนำหลักสูตรไปใช้ งานบริหารและบริการหลักสูตร
เตรียมบุคลากร จัดผู้สอน จัดวัสดุหลักสูตร จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ จัดบริการสิ่งอำนวยความสะดวก งานดำเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับท้องถิ่น จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ จัดทำแผนการฝึกอาชีพ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผลิตสื่อ การวัดและประเมินผล จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ งานสนับสนุนส่งเสริมการใช้หลักสูตร นิเทศ ติดตาม ประเมินผลผลการใช้หลักสูตร จัดศูนย์วิชาการ มีเครือข่ายความร่วมมือ ระบบสารสนเทศ
97
ผู้บริหาร - ศึกษาทําความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตร - จัดเตรียมบุคลากร
- จัดหาทรัพยากร สื่อการเรียนการสอน วัสดุ อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก - จัดผู้สอน - จัดผู้เรียน - ประชาสัมพันธ์การใช้หลักสูตร - การจัดสภาพแวดล้อม ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีกิจกรรมเสริมหลักสูตร - ประสานเครือข่าย ความร่วมมือ - ให้ขวัญกำลังใจ - นิเทศ ให้คำแนะนำ ติดตามผลการดำเนินงาน -ประเมินผลการใช้หลักสูตร - สร้างสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
98
ขั้นที่ 7 การประเมินหลักสูตร
ขั้นที่ 7 การประเมินหลักสูตร เป็นการประเมินหลักสูตรทั้งระบบทุกขั้นตอน แล้วนำผลจากการประเมินมาพิจารณาร่วมกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนเพื่อตัดสินผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตรและนำผลการประเมินมาปรับปรุงประสิทธิภาพของหลักสูตร ก่อนพัฒนาหลักสูตร ขั้นออกแบบหรือร่างหลักสูตร ก่อนการนำหลักสูตรไปใช้ ระหว่างดำเนินการใช้หลักสูตร -ระบบบริหารและการจัดการหลักสูตร -การจัดกระบวนการเรียนการสอน -ระบบการบริหารและวิธีการนิเทศกำกับดูแล -ผลผลผลิตของหลักสูตร หลังจากการใช้หลักสูตรครบวงจร
99
ขั้นที่ 8 การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร
ขั้นที่ 8 การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร เป็นการนำผลการประเมินหลักสูตรมาปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ในกรณีผลการประเมินพบข้อบกพร่อง หรือปัญหาอุปสรรคในส่วนปลีกย่อย ผู้พัฒนาหลักสูตรจะดำเนินการปรับปรุงหลักสูตร หากพบข้อบกพร่องหรือปัญหาอุปสรรคในประเด็นใหญ่ ซึ่งจะต้องเปลี่ยนโครงสร้างของหลักสูตรก็จะดำเนินการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร
100
การบริหารจัดการหลักสูตรระดับ สอศ.
สอศ. / หน่วยงานระดับชาติ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ ปวช. ปวส. ป.ตรี ปฏิบัติการ หลักสูตรแกนกลาง กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ(คอศ.1) ระดับการศึกษา ประเภทวิชา / สาขาวิชา มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ ส่งเสริมสนับสนุน กำกับดูแลคุณภาพ นโยบาย พัฒนาบุคลากร งบประมาณ ทรัพยากร เผยแพร่ความรู้วิชาการ สถานศึกษา ประกันคุณภาพ ประเมินคุณภาพ ผู้เรียนระดับชาติ วิจัย ติดตามผลการใช้ คณะกรรมการ อศ. กระทรวงศึกษาธิการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กพ. รับรอง
101
การบริหารจัดการหลักสูตรระดับ สถาบัน/สถานศึกษา
*วิเคราะห์ /พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สาขาวิชา สาขาขางาน กลุ่มวิชา รายวิชา *จัดแผนการเรียน วิเคราะห์ มาตรฐานอาชีพ มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ ปวช. ปวส. ป.ตรี ปฏิบัติการ หลักสูตรอาชีวศึกษา /กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ สาขาวิชา มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ การสนับสนุน -บุคลากร -การจัดการ -ทรัพยากร -งบประมาณ การจัดการเรียนการสอน (ในระบบ , นอกระบบ, ทวิภาคี) ด้วยวิธีปกติ,สะสมหน่วยกิต, เทียบโอนผลการเรียน/ ประสบการณ์ , ฝึกอาชีพ การจัดการเรียนรู้เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ กิจกรรม ชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ์ การเรียนรู้ นวัตกรรม โครงการ ประมวลการสอน/โครงการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการฝึกอาชีพ มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชา (สมรรถนะรายวิชา) ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประเมินมาตรฐานวิชาชีพ การประเมินคุณภาพการจัดการ ศึกษาตามหลักสูตร การประกันคุณภาพ
102
คอศ.3-7 ระบบหลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยี/ปฏิบัติการ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ ( TQF for Vocational Education ) - มาตรฐานคุณวุฒิป.ตรี สายเทคโนโลยี/ปฏิบัติการ - หลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติ มคอ.1 TQF (สกอ.)สาขา คอศ.1 TQF (สอศ.)สาขาวิชา มคอ.2 หลักสูตร (สกอ.)สาขา คอศ.2 หลักสูตร สาขาวิชา คอศ.3-7
103
ระบบคุณภาพหลักสูตรป.ตรีสายเทคโนโลยี/ปฏิบัติการ
คอศ. 1 แบบกำหนดมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา (TQFสอศ.สาขาวิชา) คอศ. 2 แบบเสนอหลักสูตรการอาชีวศึกษา คอศ. 3 แบบรายละเอียดของรายวิชาในสถานศึกษา คอศ. 4 แบบรายละเอียดของรายวิชาในสถานประกอบการ คอศ. 5 แบบรายงานผลการดำเนินการของรายวิชาในสถานศึกษา คอศ. 6 แบบรายงานผลการดำเนินการของรายวิชาในสถาน ประกอบการ คอศ. 7 แบบรายงานผลการดำเนินการหลักสูตร
104
ปริญญาตรีสายเทคโนโลยี/ปฏิบัติการ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ อาชีวศึกษาแห่งชาติ TQF:VEd - กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ TQF:HEd - เกณฑ์และหลักเกณฑ์ต่างๆของสกอ.ที่เกี่ยวข้อง - ประกาศกระทรวงฯ ระเบียบ ของสอศ.ในการจัดการ หลักสูตรและการเรียนการสอน มาตรฐานคุณวุฒิระดับ ปริญญาตรีสายเทคโนโลยี/ปฏิบัติการ 5 ปี มาตรฐานคุณวุฒิ อาชีวศึกษา(คอศ.1)สาขาวิชาต่างๆ -รายงานข้อมูล -เทียบหลักสูตร -พิจารณาหลักสูตร -ประมวลการสอน -แผนการจัดการเรียนรู้ -แผนการฝึกอาชีพ วางแผนปรับปรุงและพัฒนา 1 ปี รายละเอียดของหลักสูตร (คอศ.2) ผลการดำเนินการหลักสูตร(คอศ.7) รายละเอียดของรายวิชาในสถานศึกษา(คอศ.3) ผลการดำเนินการของรายวิชาในสถานประกอบการ (คอศ.6) รายละเอียดของรายวิชา ในสถานประกอบการ(คอศ.4) ผลการดำเนินการของรายวิชาในสถานศึกษา(คอศ.5) กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่บรรลุผล ตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ การวัดและประเมินผลตามสมรรถนะรายวิชา/สมรรถนะวิชาชีพ(มาตรฐานวิชาชีพ) นักศึกษา/บัณฑิตได้รับการพัฒนาให้มี มาตรฐานตามที่กำหนด
105
กระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ : มาตรา 22 ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุดต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
106
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
กระบวนการจัดการศึกษาที่ต้องเน้นให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ และพัฒนาความรู้ได้ด้วยตนเอง หรือรวมทั้งมีการฝึกและปฏิบัติในสภาพจริงของการทำงาน มีการเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับสังคมและการประยุกต์ใช้ มีการจัดกิจกรรมและกระบวนการให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินและสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ นอกจากนี้ ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มุ่งพัฒนาความรู้และทักษะทางวิชาชีพ ทักษะชีวิตและทักษะสังคม โดยสะท้อนจากการที่นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชา หรือเลือกทำโครงงานหรือชิ้นงานในหัวข้อที่สนใจในขอบเขตเนื้อหาของวิชานั้นๆ
107
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
สาระวิชาหลักและทักษะเพื่อการดำรงชีวิต สาระวิชาหลัก การอ่าน การเขียน การใช้ตัวเลข (คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย ) สอดแทรกทักษะเพื่อการดำรงชีวิต • ความรู้เรื่องโลก (Global Awareness) • ความรู้ด้านการเงิน, เศรษฐกิจ, ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economic, Business and Entrepreneurial Literacy) • ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี(Civic Literacy) • ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) • ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy)
108
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) การคิดอย่างมีวิจารณญานและการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) การสื่อสารและความร่วมมือ (Communication and Collaboration) ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Literacy) • ทักษะด้านสื่อ (Media Literacy) • ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Communications and Technology, Literacy)
109
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะชีวิตและอาชีพ ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัว (Flexibility and Adaptability) • การริเริ่มและการกำกับดูแลตนเองได้ (Initiative and Self-Direction) • ทักษะด้านสังคมและทักษะข้ามวัฒนธรรม (Social and Cross-Cultural Skills) • การมีผลงานและความรับผิดชอบตรวจสอบได (Productivity and Accountability) • ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (Leadership and Responsibility)
110
การศึกษาในศตวรรษที่21 ปัจจัยการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ตลอดชีวิตมีทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ซึ่งเปรียบเสมือนหัวใจการศึกษา ปัจจัยการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 ขั้นตอนการเรียนรู้ยุคปัจจุบัน Authentic learning Mental Model Building Internal Motivation Multiple Intelligence Social Learning Remember Understand Apply Analysis Evaluate Create
111
9 บทเรียนสำหรับ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
เชื่อมโยงกับชีวิตจริง สอนให้ถึงแก่นวิชา (เนื้อหาและทักษะ) พัฒนาทักษะการคิด กระตุ้นการถ่ายโอนความรู้ สอนวิธีเรียนให้ผู้เรียน แก้ความเข้าใจผิดโดยตรง ให้ความสำคัญของการทำงานเป็นทีมเหมือนผลลัพธ์ ใช้เทคโนโลยีสนับสนุนการเรียนรู้ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
112
STEM Education S =Science การศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ
T= Technology วัสดุ เครื่องมือ รวมถึงผลการพัฒนาปรับปรุง สิ่งต่างๆเพื่อสนองความต้องการหรือความจำเป็นของมนุษย์ E = Engineering กระบวนการแก้ปัญหา การออกแบบและ สร้างสรรค์ชิ้นงานหรือวิธีการ โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด M = Mathematic ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวน ปริมาณ และรูปทรง เรขาคณิตต่างๆ รวมทั้งกระบวนการทางเหตุผล
113
STEM Education เป็นแนวทางการจัดการศึกษาที่เน้นการบูรณาการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้ ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการทำงาน ลักษณะสำคัญของการเรียนรู้แบบ STEM Education มุ่งเน้นการบูรณาการ ให้เห็นความสัมพันธ์กับชีวิตจริง มุ่งเน้นทักษะศตวรรษที่ 21 ท้าทายผู้เรียน
114
ขั้นตอน STEM ขั้นที่ 1 ระบุปัญหา/นวัตกรรมที่ต้องการพัฒนา ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง ขั้นที่ 3 ออกแบบวิธีแก้ปัญหา (S+M+T) ขั้นที่ 4 วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา (E) ขั้นที่ 5 ทดสอบ ประเมินผลและปรับปรุง (E) ขั้นที่ 6 นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรือผล การพัฒนานวัตกรรม
115
Transversal Skill ทักษะข้ามสายงาน
จัดเป็นรายวิชา บูรณาการในกิจกรรมการเรียนการสอน จัดเป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตร ตัวอย่าง Skills Communication Collaboration Entrepreneurship Problem Solving Learning to learn
116
ลักษณะสำคัญการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนสำคัญที่สุด (ตามแนวทางที่ พ
ลักษณะสำคัญการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนสำคัญที่สุด (ตามแนวทางที่ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติกำหนด) มีกิจกรรมหลากหลาย ตอบสนองต่อความแตกต่าง ความสนใจและความต้องการของผู้เรียน พัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง ให้แก่ผู้เรียน เช่น คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหา ตัดสินใจและคิดอย่างมีวิจารณญาณ ส่งเสริมให้ผู้เรียน สร้างความรู้ ด้วยตนเอง พัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ และความใฝ่รู้ ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติ คิดเป็น ทำได้ ทำเป็น ส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง จากภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคโนโลยี ส่งเสริมการพัฒนาพหุปัญญา ส่งเสริม / พัฒนา คุณธรรม จริยธรรม ส่งเสริม / ฝึกทักษะทางสังคม การทำงานร่วมกับผู้อื่น ใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้
117
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
องค์ประกอบและตัวบ่งชี้การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การเรียนรู้ของผู้เรียน เทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตัวเอง การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนทำงานร่วมกับคนอื่น การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
118
การจัดประสบการณ์ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ด้านหลักสูตร - พัฒนาผู้เรียนตามความสามารถของแต่ละบุคคล - เรียนรู้จากประสบการณ์ที่ได้จากการกระทำ - มีความสามารถในการแก้ปัญหาและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ - เน้นการเสนอทางเลือกให้ผู้เรียน ด้านเนื้อหาสาระ - เชื่อมโยงความสัมพันธ์ภายในเนื้อหาวิชาและรวมเนื้อหาวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง - กำหนดหัวข้อหน่วยเนื้อหาให้มีความหมายยืดหยุ่นและสมดุล การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ - จัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีชี้แนะการรู้คิด (Cognitive Guided Instruction) ซึ่งเป็นนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง อาศัยความรู้ของผู้เรียน แต่ละคนเป็นฐานในการจัดการเรียนรู้
119
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
120
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
วิธีสอนแบบเน้นปัญหา (Problem-Based Teaching and Learning) • วิธีสอนแบบเน้นโครงการ (Project-Based Teaching and Learning) • วิธีสอนแบบเน้นทักษะปฏิบัติ (Skill- Based Teaching and Learning) วิธีสอนแบบเน้นกระบวนการสืบสวน (Inquiry-Based) • วิธีสอนแบบเน้นกระบวนการคิด (Thinking-Based) • วิธีสอนแบบเน้นความคิดรวบยอด (Concept-Based) • วิธีสอนแบบเน้นกระบวนการกลุ่ม (Group Process-Based) • วิธีสอนแบบตั้งคำถาม (Questioning - Based) • วิธีสอนแบบโต้วาที (Debate) • วิธีสอนแบบแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) • วิธีสอนแบบกรณีตัวอย่าง (Case) • วิธีสอนแบบใช้บทเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning Module)
121
การบูรณาการการเรียนรู้และการทำงาน Work Integrated Learning : WIL / Work - based Learning
ทวิภาคี (Dual System) สหกิจศึกษา ( Cooperative) ฝึกงาน (Apprentice) ฝึกหัด (Internship) โรงงานในโรงเรียน โรงเรียนในโรงงาน การเรียนรู้ด้วยการสร้างสรรค์ปัญญา (Constructionism) การเรียนรู้ด้วยฐานโครงการ(Project-based Learning)
122
การเรียนรู้จากการทำงาน (Work-based Learning)
การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้เกิดพัฒนาการทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้เนื้อหาสาระ การฝึกปฏิบัติจริง ฝึกฝนทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพ การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง โดยสถานศึกษาร่วมมือกับแหล่งงานในชุมชน สถานประกอบการ รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนร่วมกัน ตั้งแต่การกำหนดวัตถุประสงค์ การกำหนดเนื้อหากิจกรรม และวิธีการประเมิน
123
Project-based Learning
หลักการ อธิบายปัญหา - Explainatory วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน ค้นพบปัญหาและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง - Descriptive เข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์ กระบวนการดำเนินการ - Procedural สรุปข้อค้นพบและผลการดำเนินการ - Personal ประเมิน
124
project-based กับ problem-based
เพราะฉะนั้น ความแตกต่างจึงอยู่ที่จุดเริ่มต้น กับปลายทางการเรียนรู้ ที่การเรียนแบบโครงงานจะต้องให้ผู้เรียนได้สร้างได้ทำอะไรที่เป็น productive ออกมาเป็นรูปธรรม
125
การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน Project based Learning
* พัฒนาผู้เรียนทั้งด้านความรู้และทักษะผ่านการทำงาน ซึ่งจะกระตุ้นความอยากรู้ของผู้เรียน มีการค้นคว้า เกิดการเรียนรู้ จากการปฏิบัติจริง โดยใช้คำถามสำคัญ เป็นตัวขับเคลื่อน กระบวนการเรียนรู้ * โครงงานนั้นต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน และสามารถนำผลการเรียนรู้ไปใช้ในชีวิตจริงได้ * โครงงานจะช่วยสร้างสภาวะการเรียนรู้ภายในชั้นเรียน * กลวิธีการสอนที่หลากหลายที่จะทำให้ผู้เรียนทั้งหมดเกิดการเรียนรู้ แม้จะมีวิธีการเรียนรู้ที่ต่างกันก็ตาม
126
การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน Project based Learning
+ * ผู้เรียนสามารถขอความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญภายนอกหรือชุมชนเพื่อคลี่คลาย ปัญหาหรือเนื้อหาความรู้ที่ลึกซึ้ง * การบูรณาการเทคโนโลยีและกระบวนการประเมินที่หลากหลายจะเป็นตัวช่วย เสริมให้ผลงานของผู้เรียนมีคุณภาพสูง * เป็นรูปแบบวิธีสอนที่จะนำผู้เรียนเข้าสู่การแก้ ปัญหาที่ ท้าทายและสร้างชิ้นงานได้สำเร็จด้วยตนเอง * บทบาทหลากหลายเกิดขึ้นในตัวผู้เรียนให้เป็นผู้ที่แก้ปัญหา คนที่ตัดสินใจ นักค้นคว้า นักวิจัย
127
การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน Project based Learning
* เกิดได้ในหลายกลุ่มสาระการเรียนรู้ ในหลายเนื้อหา * โครงงานจะตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจง ทางการศึกษา ไม่ใช่สิ่งที่แปลกแยกหรือเพิ่มเติมลงไปในหลักสูตรเนื้อหาที่แท้จริง * ผู้เรียนจะนำความรู้มาบูรณาการในการแก้ปัญหา ค้นคว้าหาคำตอบ * เป็นกระบวนการค้นพบ นำไปสู่การเรียนรู้ ผู้เรียนจะเกิดทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการจัดการ * การศึกษาค้นคว้าด้วยกระบวนการวิทยาศาสตร์มาใช้แก้ปัญหา วิเคราะห์ หาคำตอบ สรุปผล
128
ประเภทโครงงาน 1. โครงงงานที่เป็นการสำรวจข้อมูล 2. โครงงานที่เป็นการค้นคว้า ทดลอง 3. โครงงานที่เป็นการศึกษาทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม่ ๆ 4. โครงงานที่เป็นการประดิษฐ์คิดค้น
129
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integrated Learning)
กระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนตาม ความสนใจ ความสามารถ และความต้องการ โดยการเชื่อมโยง สาระการเรียนรู้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงพฤติกรรมของผู้เรียน ทั้งทางด้านสติปัญญา(Cognitive) ทักษะ (Skill) และจิตใจ (Affective) สามารถนำความรู้และทักษะที่ได้ไปแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริงในชีวิต ประจำวัน
130
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integrated Learning)
ลักษณะของการบูรณาการ 1.การบูรณาการเชิงเนื้อหาสาระ เป็นการผสมผสานเชื่อมโยงเนื้อหาสาระ ในลักษณะการหลอมรวมกันโดยการตั้งเป็นหน่วยการเรียน/ หัวเรื่อง 2. การบูรณาการเชิงวิธีการ เป็นการผสมผสานวิธีการสอนแบบต่าง ๆ เข้า ในการสอน 3. การบูรณาการความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ โดยออกแบบการเรียนรู้ให้ มีทั้งการให้ความรู้และกระบวนการไปพร้อม ๆ 4. การบูรณาการความรู้ ความคิด กับคุณธรรม โดยเน้นทั้งพุทธิพิสัยแล จิตพิสัยเป็นการเรียนที่สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อม ๆ กัน 5. การบูรณาการความรู้กับการปฏิบัติ เน้นการปฏิบัติจริง ควบคู่ไปพร้อมๆ กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6.การบูรณาการความรู้ในสถานศึกษากับชีวิตจริงของผู้เรียน
131
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integrated Learning)
ประเภทการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ การบูรณาการภายในวิชา เป็นการเชื่อมโยงการสอนระหว่างเนื้อหาวิชาในกลุ่มประสบการณ์หรือรายวิชาเดียวกันเข้าด้วยกัน การบูรณาการระหว่างวิชา - การสอนบูรณาการแบบสอดแทรก เป็นการสอนในลักษณะที่ผู้สอนในวิชาหนึ่งสอดแทรกเนื้อหาวิชาอื่นๆในการสอนของตน - การสอนบูรณาการแบบคู่ขนาน เป็นการสอนโดยผู้สอนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมวางแผนการสอนร่วมกัน - การสอนบูรณาการแบบสหวิทยาการ เป็นการสอนบูรณาการแบบคู่ขนานแต่มีการมอบหมายงานหรือโครงการร่วมกัน - การสอนแบบบูรณาการแบบข้ามวิชาหรือสอนเป็นคณะ เป็นการสอนที่ผู้สอนวิชาต่างๆร่วมกันสอนเป็นคณะหรือเป็นทีมวางแผนปรึกษาร่วมกัน โดยกำหนดหัวเรื่อง ความคิดรวบยอด ปัญหาร่วมกันแล้วร่วมกันสอนผู้เรียนเป็นกลุ่มเดียว
132
การเรียนรู้แบบสรรคนิยม (Constructivism)
มีความเชื่อพื้นฐานว่า “ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้โดยการอาศัยประสบการณ์แห่งชีวิตที่ได้รับเพื่อค้นหาความจริง โดยมีรากฐานจากทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษาที่หลากหลาย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ กลุ่มที่เน้นกระบวนการรู้คิดในตัวบุคคล (radical constructivism or personal Constructivism or cognitive oriented constructivist theories) เน้นการเรียนรู้ของมนุษย์เป็นรายบุคคล โดยมีความเชื่อว่ามนุษย์แต่ละคนรู้วิธีเรียนและรู้วิธีคิด เพื่อสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 2.กลุ่มที่เน้นการสร้างความรู้โดยอาศัยปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Social constructivism or socially oriented constructivist theories) เน้นว่า ความรู้ คือ ผลผลิตทางสังคม มีข้อตกลงเบื้องต้น 1) ความรู้ต้องสัมพันธ์กับชุมชน ) ปัจจัยทางวัฒนธรรมสังคมและประวัติศาสตร์มีผลต่อการเรียนรู้ ครูมีบทบาทเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้
133
แนวคิดการจัดการเรียนการสอนแบบ Constructionism
Constructionism เป็นทฤษฎีทางการศึกษาที่พัฒนาขึ้นโดย Professor Seymour Papert แห่ง M.I.T. (Massachusetts Institute of Technology) เป็นทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และ เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เป็นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ใหม่ของตนเอง โดยมีการเชื่อมโยงความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นกับความรู้เดิมที่ผู้เรียนมีอยู่แล้ว การสร้างองค์ความรู้ใหม่ของผู้เรียนอาจได้จากการดำเนินกิจกรรมการสอนที่ให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้า ทดลอง ระดมสมอง ศึกษาในความรู้ ฯลฯ การตรวจสอบองค์ความรู้ใหม่ทำให้ได้ทั้งการตรวจสอบกันเอง ในระหว่างกลุ่มผู้เรียน ครูจะเป็นผู้ที่ช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้ตรวจสอบความรู้ใหม่ให้ถูกต้อง
134
ลำดับขั้นตอนการสอนตามแนวความคิด Constructionism
135
แนวคิดการจัดการเรียนการสอนแบบ Constructionism
หลักการ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เรียนรู้จากประสบการณ์ สิ่งแวดล้อม ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือแสวงหาคำตอบ กระบวนการ สำรวจค้นหา Explore ทดลอง Experience เรียนรู้จากการกระทำ Learning by Doing ทำเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ Doing by Learning
136
การจัดห้องเรียนเทคโนโลยีเฉพาะทาง
สอศ. ได้มีโครงการประกวดสถานที่เรียนรู้เทคโนโลยีเฉพาะทาง เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีทิศทางในการพัฒนาคุณภาพห้องเรียนห้องปฏิบัติการ สภาพแวดล้อม เพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ มี 4 องค์ประกอบ
137
องค์ประกอบและข้อกำหนด
องค์ประกอบที่ 1 การจัดสภาพแวดล้อมของการจัดสถานที่เรียนรู้เฉพาะทางอาชีวศึกษา ** เป็นสถานที่เรียนรู้ High – Tech และมีบรรยากาศที่ดี น่าเรียนรู้ในลักษณะของ Modernize 1. ความเหมาะสมของสถานที่ บรรยากาศ การเรียนรู้ ความสะอาดและถูกสุขลักษณะ จัดตามเกณฑ์มาตรฐานรายวิชา โครงสร้างหลักสูตร มีการพัฒนาหลักสูตร แผนการเรียน แผนจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ และจัดสถานที่เรียนรู้ ฯ
138
องค์ประกอบและข้อกำหนด
1.2 จัดรูปแบบสอดคล้องกับขั้นตอนการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม สะอาดและถูกสุขลักษณะ ตามมาตรฐานรายวิชา ความเหมาะสมของระบบความปลอดภัย ระเบียบ ข้อปฏิบัติ คำเตือน ประชาสัมพันธ์ อุปกรณ์ป้องกันภัย อุปกรณ์เตือนภัย(พร้อมใช้งาน)
139
องค์ประกอบและข้อกำหนด
3.ความทันสมัยและเพียงพอของเครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุ ครุภัณฑ์ 3.1 เครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ทันสมัยในการเรียนรุ้ 3.2 เครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุ ครุภัณฑ์ เพียงพอในการเรียน เครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุ ครุภัณฑ์อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน องค์ประกอบที่ 2 การจัดทรัพยากรสนับสนุน มีครูผู้สอนที่มีความชำนาญประจำสถานที่เรียนรู้ เทคโนโลยี เฉพาะทาง
140
องค์ประกอบและข้อกำหนด
2. เปิดโอกาสให้มีผู้เชี่ยวชาญในสถานประกอบการ หรือ บุคคลภายนอกมาเป็นวิทยากรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.มีการวางแผนจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์สามารถพัฒนา ผู้เรียนได้ 4.การบริหารจัดการการใช้สถานที่เรียนรู้เทคโนโลยีเฉพาะทาง อาชีวศึกษาให้มีประโยชน์ต่อส่วนรวม ทั้งผู้เรียนภายในและ ภายนอกสถานศึกษา
141
องค์ประกอบและข้อกำหนด
องค์ประกอบที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. มีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการวิจัย มีระบบช่วยเหลือดูแลผู้เรียนด้านการเรียนการสอน มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน องค์ประกอบที่ 4 ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนสามารถบ่งชี้ให้เห็นถึงคุณลักษณะ อันพึงประสงค์
142
ประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
การประเมินผลผู้เรียนรอบด้านตามสภาพจริงของผู้เรียน เน้นการประเมินที่ดำเนินการไปพร้อม ๆ กับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งสามารถทำได้ตลอดเวลา ทุกสภาพการณ์ เน้นการประเมินที่ยึดพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียนจริง ๆ เน้นการพัฒนาจุดเด่นของผู้เรียน ใช้ข้อมูลที่หลากหลาย ด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและสอดคล้องกับวิธีการประเมิน ตลอดจนจุดประสงค์ในการประเมิน เน้นคุณภาพผลงานของผู้เรียนที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ ความสามารถหลายๆ ด้าน การประเมินด้านความคิด เน้นความคิดเชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์ เน้นให้ผู้เรียนประเมินตนเอง และการมีส่วนร่วมในการประเมิน
143
ประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
1.สิ่งที่ต้องการประเมิน ควรประกอบด้วย การแสดงออกถึงผลของความรู้ ความคิด ความสามารถ ทักษะและเจตคติ เน้นกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการทำงาน ผลผลิต ผลงาน 2. ระยะเวลาที่ประเมิน ควรประเมินอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาตามสภาพ ที่เป็นจริง 3. เครื่องมือที่ใช้ประเมิน ควรประกอบด้วย แบบประเมินผลงาน โครงการหรือโครงงาน แบบทดสอบในลักษณะต่างๆ แบบบันทึกย่อย แบบบันทึกแสดงความรู้สึก แบบแสดงความคิดเห็น แบบบันทึกการสังเกต แบบบันทึกการสัมภาษณ์ แบบบันทึกของผู้เรียน ครู และผู้เกี่ยวข้อง แฟ้มสะสมผลงาน หลักฐาน ที่แสดงถึงร่องรอยจากการเรียน
144
การปฏิบัติ (Performance) ทักษะ (Skills)
ความรู้ ความสามารถ ปัญญา เก่ง K (Knowledge) C (Cognitive Domain) กาย การปฏิบัติ (Performance) ทักษะ (Skills) P (Process, Product) ดี S (Skills) P (Psychomotor) พฤติกรรม การแสดงออก (สะท้อนถึง ความคิด อารมณ์ คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ) มีสุข จิต A (Attitude, Value) A (Attribute) A (Affective Domain)
145
คิดสร้างสรรค์ (Creative) -ส่งถ่ายความรู้ (Transfer)
พุทธิพิสัย คิดสร้างสรรค์ (Creative) -ส่งถ่ายความรู้ (Transfer) - ประยุกต์ใช้ความรู้ (Apply) -ฟื้นคืนความรู้ (Recall) ประเมินค่า (Evaluation) วิเคราะห์ (Analyze) ประยุกต์ใช้ (Apply) ความเข้าใจ (Understand) ความจำ (Remember)
146
จิตพิสัย (Responding) (Reception) บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย คุณธรรม
การสร้างบุคลิกลักษณะ (Characterization) บุคลิกภาพ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม เจตคติ ความคิดเห็น ความซาบซึ้ง ความสนใจ ความตระหนัก ลักษณะนิสัย (Internalization) การตอบสนอง (Responding) การยอมรับ (Reception) การจัดระบบค่านิยม (Organization) การให้คุณค่า หรือ การสร้างค่านิยม (Valuing) การตอบสนอง (Responding) การรับ (Receiving)
147
ทักษะพิสัย การริเริ่ม (Origination) การดัดแปลง (Adaptation)
ทักษะกระบวนการ การแสดงออก การปฏิบัติ (Performance) การตอบสนองที่ซับซ้อน (Complex overt response) กลไก (Mechanism) การตอบสนองตามแนวทางที่ให้ (Guided response) การพร้อม (Set) การรับ(รู้) (Perception)
148
การวิเคราะห์สมรรถนะรายวิชาเพื่อการประเมินตามสภาพจริง
-สมรรถนะรายวิชา /สมรรถนะย่อย (Element) -หน่วยการเรียน เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) ตารางวิเคราะห์ ( Domain Analysis) กำหนด/สร้างเครื่องมือ (Instruments) เกณฑ์การให้คะแนน (Rubic) วัดและประเมิน (Assessment)
149
ประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
วิเคราะห์มาตรฐานวิชาชีพ สมรรถนะวิชาชีพ กำหนดเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) ตารางวิเคราะห์ ( Domain Analysis) ความรู้ ทักษะ เจตคติ สร้างเครื่องมือ ความรู้ - แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ ทักษะ - แบบประเมิน แบบมาตรประมาณค่า แบบตรวจสอบรายการ เจตคติ – แบบประเมิน แบบสังเกต กำหนดเกณฑ์ วัดและประเมิน (Assessment)
150
โครงสร้างบริหารการจัดการในการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
คณะกรรมการอำนวยการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ (ระดับชาติ) คณะกรรมการประเมินมาตรฐานวิชาชีพระดับจังหวัด (คณะกรรมการอาชีวศึกษาจังหวัด) คณะกรรมการประเมินมาตรฐานวิชาชีพระดับสถานศึกษา คณะกรรมการประเมินมาตรฐานวิชาชีพระดับ สาขาวิชา/สาขางาน
151
การบริหารจัดการหลักสูตรอาชีวศึกษา
การจัดการอาชีวศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.