งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561
สำนักแผนงานและโครงการพิเศษ 18 ตุลาคม 2560

2 ประเด็นการนำเสนอ แผนกลยุทธ์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ พ.ศ. 2560-2564
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายการให้บริการ ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2561 แผนงบประมาณ/ผลผลิต ปีงบประมาณ 2561 ความเชื่อมโยงของวิสัยทัศน์ เป้าหมายกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ และแผนงาน/โครงการ การขับเคลื่อนงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2561 การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ 2561 กรอบงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 แผนงบประมาณ ปี 2561 เป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2561

3 ประเด็นการนำเสนอ แผนกลยุทธ์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ พ.ศ. 2560-2564
วิสัยทัศน์ เป้าหมายการให้บริการ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์

4 กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมี ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” นำไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุข และตอบสนองตอบต่อการบรรลุ ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนา คุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูง เป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ

5 ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี
. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ ) เป้าหมาย เกษตรกรมีความเข้มแข็งและรายได้เพิ่มขึ้น สถาบันเกษตรกร มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพ สินค้าเกษตรมีประสิทธิภาพและมีมาตรฐาน การเกษตรก้าวไกลด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรม ประสิทธิภาพของหน่วยงานรัฐ 1. 2. 3. 4. 5. ผลลัพธ์สุดท้าย Smart Groups Smart Agriculture หลุดพ้นประเทศกับดักรายได้ปานกลาง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย SWOT ปัญหา และ ความ ท้าทาย รัฐ ประชาชน ผู้ประกอบการ ชุมชน เกษตรกร Roadmap การดำเนินงานตามแผน ปีที่ 1-5 6-10 11-15 16-20 Smart Farmers ยุทธศาสตร์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 5 การบริหารจัดการภาครัฐ KPI Outcome กษ.ได้มีการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ ) โดยสรุปประเด็นปัญหาที่ผ่านมาและความท้าทายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต มีการวิเคราะห์ SWOT (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค) ที่มีผลกระทบต่อภาคการเกษตร มีการระดมความเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในภาคการเกษตร และมากำหนดเป็นยุทธศาสตร์ รวม 5 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 5 การบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และผลลัพธ์สุดทายตามที่ได้กำหนดไว้ KPI Output FEEDBACK

6 ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 5 ปี
วิสัยทัศน์ เกษตรกรมั่นคง ภาคการเกษตรมั่งคั่ง ทรัพยากรการเกษตรยั่งยืน 1. ความผาสุกของเกษตรกรเพิ่มขึ้น อยู่ที่ระดับ 85 ในปี 2564 2. สถาบันเกษตรกรมี ความเข้มแข็งและทำ ธุรกิจมีรายได้สุทธิเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 ต่อปี 3. เศรษฐกิจภาคเกษตรเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 3 ต่อปี 4. จำนวนงานวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ด้านการเกษตร ถูกนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น อย่างน้อยร้อยละ 5 ต่อปี 5. ทรัพยากรการเกษตรได้รับการฟื้นฟูและใช้ประโยชน์อย่างสมดุลและยั่งยืน โครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตร ได้รับการพัฒนาเพิ่มขึ้น เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับมาตรฐานสินค้า ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริหาร จัดการภาครัฐ แผนงานสำคัญ ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ พัฒนาศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก. 882 ศูนย์) และเครือข่าย สร้าง Smart Farmer พัฒนาและส่งเสริมเครือข่ายสหกรณ์และสถาบันเกษตรกร พัฒนาการเกษตรด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แผนงานสำคัญ พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร (GAP/GMP/Q) บริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน (เช่น แผนข้าวครบวงจร) ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร สร้างมูลค่าเพิ่มสินค้า ส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ ธนาคารสินค้าเกษตร แผนงานสำคัญ เสริมสร้างระบบการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตร ปรับปรุงพันธุ์พืช ปศุสัตว์ ประมง แผนงานสำคัญ บริหารจัดการน้ำและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน บริหารจัดการการใช้สารเคมีการเกษตรทั้งระบบ เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค แก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย บริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม โดยใช้ Agri map แผนงานสำคัญ พัฒนาบุคลากรภาครัฐ ปรับและพัฒนาโครงสร้างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนากฎหมาย และกฎระเบียบ จากยุทธศาสตร์ฯ 20 ปีดังกล่าวข้างต้น กษ. ได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตร ระยะ 5 ปี ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ ) เพื่อให้เห็นแนวทางการดำเนินงานที่ชัดเจนขึ้นในแต่ละยุทธศาสตร์ โดยมีเป้าหมายหลักดังนี้ ความผาสุกของเกษตรกรเพิ่มขึ้นอยู่ที่ระดับ 85 ในปี 2564 สถาบันเกษตรกรมีความเข้มแข็งและทำธุรกิจมีรายได้สุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ต่อปี 3. เศรษฐกิจภาคเกษตรเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 3 ต่อปี 4. งานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านการเกษตร ถูกนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5 ต่อปี 5. ทรัพยากรการเกษตรได้รับการฟื้นฟูและใช้ประโยชน์อย่างสมดุลและยั่งยืน โครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตรได้รับการพัฒนาเพิ่มขึ้น ในแต่ละยุทธศาสตร์ มีแผนงานสำคัญดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 มีแผนงานสำคัญ คือ ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ พัฒนาศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก. 882 ศูนย์) และเครือข่าย สร้าง Smart Farmer กำหนดเป้าหมาย 2.5 ล้านราย พัฒนาและส่งเสริมเครือข่ายสหกรณ์และสถาบันเกษตรกร กำหนดเป้าหมาย 2.5 แสนราย) ยุทธศาสตร์ที่ 2 แผนงานสำคัญคือ พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร (GAP/GMP/Q) บริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน (เช่น แผนข้าวครบวงจร) ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ กำหนดเป้าหมาย 7,000 แปลง ยุทธศาสตร์ที่ 3 แผนงานสำคัญคือ เสริมสร้างระบบการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตร ปรับปรุงพันธุ์พืช ปศุสัตว์ ประมง ยุทธศาสตร์ที่ 4 แผนงานสำคัญคือ บริหารจัดการน้ำและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน ล้านไร่ บริหารจัดการการใช้สารเคมีการเกษตรทั้งระบบ แก้ไขปัญหา IUU บริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม โดยใช้ Agri map กำหนดเป้าหมายข้าว 5.7 แสนไร่ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ แผนงานสำคัญคือ พัฒนาบุคลากรภาครัฐ ปรับและพัฒนาโครงสร้างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนากฎหมาย และกฎระเบียบ ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (เป้าหมาย7,000 แปลง) สร้าง Smart Farmer (เป้าหมาย 2.5 ล้านราย)

7

8 Smart Agricultural Curve

9 แผนกลยุทธ์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ พ.ศ. 2560-2564
กษ. วิสัยทัศน์ เกษตรกร มั่นคง ภาคการเกษตร มั่งคั่ง ทรัพยากรการเกษตร ยั่งยืน “ภายในปี 2564 สหกรณ์และเกษตรกร มีระบบบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชี ที่มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ” กตส.

10 เป้าหมายการให้บริการ
แผนกลยุทธ์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ พ.ศ เป้าหมายการให้บริการ สถาบันเกษตรกรมีความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชี 1 เกษตรกรมีการใช้ข้อมูลทางบัญชีเพื่อพัฒนาอาชีพ 2

11 พันธกิจกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 2560 – 2564
แผนกลยุทธ์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ พ.ศ พันธกิจกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 2560 – 2564 1. พัฒนาระบบการตรวจสอบบัญชีและระบบควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล 2. พัฒนามาตรฐานการบัญชีสหกรณ์และส่งเสริมความรู้การจัดทำบัญชี และการบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และเกษตรกร 3. เสริมสร้างเสถียรภาพทางการเงินและระบบการควบคุมภายใน ที่ดีแก่สหกรณ์ 4. พัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลและการเตือนภัยทางการเงินแก่สหกรณ์ 5. พัฒนาระบบการให้คำปรึกษาแนะนำด้านการเงินการบัญชี แก่สหกรณ์และเกษตรกร

12 มีระบบบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชี ที่มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ
แผนกลยุทธ์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ พ.ศ ภายในปี 2564 สหกรณ์และเกษตรกร มีระบบบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชี ที่มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ ยุทธศาสตร์ที่ 4 มีระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ ในการรองรับภารกิจที่ “เร่งด่วน ท้าทาย และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง” และสามารถสร้างความเป็น AUDITOR ให้ “มีความชัดเจนและเป็นจริง” ยุทธศาสตร์ที่ 1 คุณประโยชน์ของการปฏิบัติตาม หลักธรรมาภิบาลจะต้องเป็นที่ประจักษ์ อย่างชัดเจนและนำไปสู่การพัฒนาสหกรณ์ได้อย่างเป็นรูปธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 3 คุณประโยชน์ของการทำบัญชี และบริหารการเงินที่มีคุณภาพ จะต้องเป็นที่ประจักษ์ต่อเกษตรกร ได้อย่างกว้างขวางชัดเจนและเข้าถึงได้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างผู้บริหารสหกรณ์เพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาสหกรณ์แห่งอนาคต

13 มีระบบบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชี ที่มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ
แผนกลยุทธ์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ พ.ศ ภายในปี 2564 สหกรณ์และเกษตรกร มีระบบบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชี ที่มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 4 6 กลยุทธ์ 10 กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 1.1 สร้างความเชื่อมั่นและโปร่งใส ให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1.2 พัฒนาระบบการตรวจสอบกิจการ ของสหกรณ์ให้มีประสิทธิภาพ 1.3 เพิ่มขีดความสามารถในการจัดทำ บัญชี งบการเงิน และยกระดับ ชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1.4 พัฒนามาตรฐานการบัญชีสหกรณ์ ให้ก้าวทันมาตรฐานการบัญชี และสามารถนำไปใช้กับสหกรณ์ ได้อย่างเหมาะสมและบังเกิดผล 1.5 ส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์ตระหนัก และมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ การดำเนินการของสหกรณ์ 1.6 พัฒนาวิสาหกิจชุมชนให้เข้มแข็ง และพึ่งพาตนเองได้ ยุทธศาสตร์ที่ 3 4 กลยุทธ์ 4.1 ผลักดันให้มีการปรับปรุงโครงสร้างและระบบการบริหาร จัดการองค์กรที่เหมาะสมกับสถานการณ์ 4.2 ปรับระบบบริหารทรัพยากรบุคคลและผลักดันให้นำไป สู่การปฏิบัติ 4.3 ปรับระบบการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ 4.4 ปรับระบบการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสู่การปฏิบัติงาน อย่างมืออาชีพ 4.5 สร้างต้นแบบ Smart Cooperative Auditing Office 4.6 จัดตั้งหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ (Service Delivery Unit : SDU) รองรับการจัดจ้างผู้สอบบัญชีภาคเอกชน 4.7 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.8 ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา 4.9 บูรณาการกำกับดูแลการป้องกันและปราบปราม การฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงิน แก่การก่อการร้าย 4.10 สร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กร ด้านสหกรณ์ทั้งในและต่างประเทศ 5 กลยุทธ์ 2.1 สร้างจิตสำนึกในการเป็น ผู้บริหารสหกรณ์ที่ดีแก่ คณะกรรมการสหกรณ์ 2.2 พัฒนาสมรรถนะฝ่ายบริหาร สหกรณ์ให้สามารถใช้ข้อมูล การเงินการบัญชีเพื่อบริหารงาน สหกรณ์อย่างมืออาชีพ 2.3 พัฒนาผู้บริหารสหกรณ์ให้มี ความสามารถในการควบคุม และกำกับดูแลการปฏิบัติงาน ของฝ่ายจัดการ 2.4 ผลักดันการใช้ประโยชน์จาก รายงานการตรวจสอบบัญชีและ รายงานการตรวจสอบกิจการ 3.1 สร้างความตระหนักรู้ ประโยชน์การจัดทำ บัญชีแก่เกษตรกร 3.2 นำคุณค่าการจัดทำบัญชี สู่เกษตรกรอย่างยั่งยืน 3.3 สร้างเกษตรกรพันธุ์ใหม่ ที่ทำบัญชีได้ใช้บัญชีเป็น 3.4 ส่งเสริมการพัฒนา เครือข่ายด้านบัญชี 3.5 ส่งเสริมการจัดทำบัญชี แก่กลุ่มเป้าหมายตาม โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ

14 ประเด็นการนำเสนอ แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2561
แผนงบประมาณ/ผลผลิต ปีงบประมาณ 2561 ความเชื่อมโยงของวิสัยทัศน์ เป้าหมายกรมตรวจบัญชี สหกรณ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ และแผนงาน/โครงการ การขับเคลื่อนงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2561

15 แผนงบประมาณ/ผลผลิต ปีงบประมาณ 2561 แผนงบประมาณ / ผลผลิต / โครงการ
เป้าหมาย งบประมาณ (ล้านบาท) 1. แผนงาน : บุคลากรภาครัฐ รายการ : บุคลากรภาครัฐส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 2. แผนงานพื้นฐาน : พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง ผลผลิตที่ 1 : สหกรณ์และสถาบันเกษตรกรได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง 11,600 ผลผลิตที่ 2 : เกษตรกร เยาวชน และประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านบัญชี 124,000 3. แผนงานยุทธศาสตร์ : ส่งเสริมการดำเนินงานตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการ 1 : โครงการระบบการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 10,500 4. แผนงานบูรณาการ : พัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร โครงการ 2 : โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 60,000 โครงการ 3 : โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 882 โครงการ 4 : โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม 3,000 5.5528 โครงการ 5 : โครงการส่งเสริมการเกษตรทฤษฎีใหม่ 70,000 5. แผนงานบูรณาการ : ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการ 6 : โครงการเสริมสร้างการบริหารการเงินแก่สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 9,600 รวมงบประมาณทั้งสิ้น 1,

16 แผนงบประมาณ/ผลผลิต/กิจกรรม ปีงบประมาณ 2561
1. แผนงานบุคลากรภาครัฐ ล้านบาท 3. แผนงานยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการดำเนินงานตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ล้านบาท 2. แผนงานพื้นฐานพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง ล้านบาท 2.1 ผลผลิต : สหกรณ์และสถาบันเกษตรกรได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง ล้านบาท 1) ตรวจสอบบัญชีประจำปีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 11,600 แห่ง 2) พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร จำนวน 2,316 แห่ง 3) ฝึกอบรมเศรษฐกิจการเงินขั้นพื้นฐานแก่สมาชิกสหกรณ์ จำนวน 14,000 ราย 4) ตรวจสอบความถูกต้องในการทำธุรกรรมทางการเงินระหว่างสหกรณ์และสมาชิก จำนวน 24,500 ราย 2.2 ผลผลิต : เกษตรกร เยาวชน และประชาชนเป้าหมายได้รับการพัฒนา ล้านบาท 1) สอนแนะการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ จำนวน 100,000 ราย 2) ฝึกอบรมการใช้ข้อมูลทางบัญชีในการประกอบอาชีพ จำนวน 15,000 ราย 3) ฝึกอบรมเพิ่มศักยภาพในการประกอบอาชีพแก่เกษตรกรอย่างยั่งยืน จำนวน 9,000 ราย 1) โครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริแก่นักเรียนและเกษตรกร จำนวน 10,500 ราย 4. แผนงานบูรณาการ ล้านบาท 2.1 แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาชายแดนภาคใต้ ล้านบาท 1) โครงการเสริมสร้างการบริหารการเงินแก่สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 9,600 ราย 2.2 แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร ล้านบาท 1) โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จำนวน 60,000 ราย 2) โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร จำนวน 882 ศูนย์ 3) โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม จำนวน 3,000 ราย 4) โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ จำนวน 70,000 ราย

17 ความเชื่อมโยงของวิสัยทัศน์ เป้าหมายกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ และแผนงาน/โครงการ
ภายในปี สหกรณ์และเกษตรกร มีระบบบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีที่มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ เป้าหมาย หน่วยงาน สถาบันเกษตรกรมีความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชี เกษตรกรมีการใช้ข้อมูลทางบัญชีเพื่อพัฒนาอาชีพ ตัวชี้วัดเป้าหมายหน่วยงาน ร้อยละของสหกรณ์ ภาคเกษตรที่จัดทำบัญชีและงบการเงินได้เพิ่มขึ้น ร้อยละของสหกรณ์ ภาคเกษตรมีระดับ ชั้นคุณภาพ การควบคุมภายในดี ร้อยละของสหกรณ์ ภาคเกษตรที่มีเสถียรภาพ ทางการเงินอยู่ในระดับมั่นคง ร้อยละของศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ที่มีครูบัญชีประจำศูนย์ สามารถให้บริการความรู้ด้านการจัดทำบัญชีแก่เกษตรกรที่ขอรับบริการได้ ร้อยละของเกษตรกร ที่สามารถนำข้อมูลทางบัญชีไปใช้ในการ พัฒนาอาชีพ ร้อยละของเกษตรกรเป้าหมายที่มีความรู้ความเข้าใจ ในการจัดทำบัญชี ยุทธศาสตร์ 1. คุณประโยชน์ของการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล จะต้องเป็นที่ประจักษ์อย่างชัดเจนและนำไปสู่ การพัฒนาสหกรณ์ได้อย่างเป็นรูปธรรม 2. สร้างผู้บริหารสหกรณ์เพื่อ เป็นรากฐานของการพัฒนา สหกรณ์แห่งอนาคต 3. คุณประโยชน์ของการทำบัญชีและบริหารการเงิน ที่มีคุณภาพ จะต้องเป็นที่ประจักษ์ต่อเกษตรกร ได้อย่างกว้างขวางชัดเจนและเข้าถึงได้ 4. มีระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพในการรองรับภารกิจที่ “เร่งด่วน ท้าทาย และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง” และสามารถสร้างความเป็น AUDITOR ให้ “มีความชัดเจนและเป็นจริง” แผนงาน/โครงการ 60 1. การตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 11,600 แห่ง 2. โครงการสร้างความเชื่อมั่นต่อการทำธุรกรรมทางการเงิน ของสมาชิกสหกรณ์ 24,500 คน 3. โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดทำบัญชีและ งบการเงินแก่สหกรณ์ 920 แห่ง 4. โครงการเพิ่มศักยภาพการจัดทำงบการเงินแก่สหกรณ์ 559 แห่ง 5. โครงการเสริมสร้างการบริหารการเงินแก่สมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 9,600 คน 6. โครงการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเศรษฐกิจการเงิน ขั้นพื้นฐานแก่สมาชิกสหกรณ์ 14,000 คน 1. โครงการเพิ่มศักยภาพ การใช้ข้อมูลทางการเงิน การบัญชีเพื่อการบริหาร สหกรณ์ 837 แห่ง 1. โครงการศูนย์เรียนรู้ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร ศูนย์ 1. โครงการส่งเสริมการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ แก่เกษตรกร 200,000 คน 2. โครงการพัฒนาเกษตรกรที่ทำบัญชีได้ใช้บัญชีเป็น 15,000 คน 3. โครงการพัฒนาเกษตรกรให้ใช้ข้อมูลทางบัญชี อย่างยั่งยืน 9,000 คน 4. โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 60,000 คน 5. โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ จำนวน 70,000 คน 6. โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม จำนวน 3,000 คน 7. โครงการพระราชดำริ 10,500 คน

18 การขับเคลื่อนงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2561
ตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร พัฒนาด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์ พัฒนาการจัดทำบัญชีแก่เกษตรกร เสริมสร้างความเข้มแข็ง ด้านการเงินการบัญชี สหกรณ์ เกษตรกร

19 สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์
1. ตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 11,600 แห่ง ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ และระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ เพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบ โดยใช้เทคโนโลยีช่วยตรวจสอบ ควบคุมคุณภาพการสอบบัญชี ตามมาตรฐานสากล เพื่อ...... สร้างความ “โปร่งใส”และ “น่าเชื่อถือ” ในการดำเนินธุรกิจ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

20 สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร(ภาพรวม) สอบบัญชี พัฒนาการทำบัญชี 1. สก./กลุ่มเกษตรกร ที่จัดทำบัญชี/งบการเงินได้ 2,551 แห่ง (25%) เข้าสู่กระบวนการ พัฒนาการทำบัญชี โดย สตท. 2. สก./กลุ่มเกษตรกร ที่จัดทำบัญชี/งบการเงินไม่ได้ 7,639 แห่ง (75%) สามารถจัดทำ งบการเงินได้เอง มีผู้ช่วยเหลือ ไม่มีผู้ช่วยเหลือ กลุ่มพร้อมรับ การตรวจสอบ เข้าสู่กระบวนการ สอบบัญชี 8,264 แห่ง(81%) 2.1 ส่งงบการเงินได้ 5,713 แห่ง 2.2 ส่งงบการเงินไม่ได้ 1,926 แห่ง กลุ่มไม่พร้อมรับ การตรวจสอบ การจำแนกกลุ่มเข้าสู่การพัฒนา ส่งงบได้ (แห่ง) ส่งงบไม่ได้ (แห่ง) รวม (แห่ง) 1) ทำเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีไม่ได้ 484 633 1,117 2) บันทึกบัญชีขั้นต้นไม่ได้ 1,827 406 2,233 3) บันทึกบัญชีขั้นปลายไม่ได้ 1,410 424 1,834 4) จัดทำงบทดลองไม่ได้ 431 131 562 5) จัดทำงบการเงินไม่ได้ 1,561 332 1,893 เข้าสู่กระบวนการ ตรวจแนะนำ โดย สตส. แจ้งข้อสังเกต

21 สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์
2. พัฒนาด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์ 2.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรสหกรณ์ แบบ “ยกสหกรณ์” 837 แห่ง (คณะกรรมการสหกรณ์ 4,185 คน สมาชิกสหกรณ์ 124,000 คน) เพื่อ...... สหกรณ์มีระบบการบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีที่มีประสิทธิภาพ สร้างความมั่นคงทางการเงินและมีศักยภาพในการดำเนินธุรกิจ สมาชิกมีคุณภาพชีวิตที่ดี Smart 4M Member - ตรวจสอบข้อมูลทางการเงินของตนเองในสหกรณ์ได้ตลอดเวลา - ลดความเสี่ยงการเกิดทุจริต Smart สมาชิกรู้ - ติดตามตรวจสอบการดำเนินงานของสหกรณ์ รู้ความเคลื่อนไหวทางการเงิน แบบ Real Time Manage Smart กรรมการรู้ Monitor - ติดตามความเคลื่อนไหวและความผิดปกติทางการเงินของสหกรณ์ - ทราบระดับการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงิน Smart ผู้เกี่ยวข้องรู้ Me - เกษตรกร/สมาชิกสหกรณ์จัดทำบัญชีครัวเรือนอย่างเป็นระบบ - สร้างวินัยทางการเงิน เป็นภูมิคุ้มกันการเป็นหนี้ Smart เรารู้

22 สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์
2.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรสหกรณ์ แบบ “ยกสหกรณ์” 837 แห่ง (คณะกรรมการสหกรณ์ 4,185 คน สมาชิกสหกรณ์ 124,000 คน) อบรมคณะกรรมการ 4,185 ราย Smart Manage อบรมสมาชิกสหกรณ์ 124,000 ราย Smart Me สหกรณ์ภาคเกษตร ที่ใช้ FAS เต็มระบบ 837 แห่ง อบรมสมาชิกสหกรณ์ 14,000 ราย Smart Member ยืนยันยอดฯ สมาชิกสหกรณ์ 24,500 ราย

23 สหกรณ์ที่ยกระดับโดยใช้ Smart 4M
ปิดบัญชี ได้ทุกวัน ใช้รายงานวิเคราะห์ อายุหนี้ Post บัญชี อัตโนมัติ FAS

24 สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์
2. พัฒนาด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์ 2.2 พัฒนาสหกรณ์ที่ยังไม่สามารถจัดทำบัญชีและงบการเงินได้ 1,479 แห่ง (อบรมพนักงานบัญชีของสหกรณ์ 1,479 คน) เพื่อ...... - สหกรณ์สามารถจัดทำ บัญชีและงบการเงินได้ - ผู้บริหารมีข้อมูลทางบัญชี เพื่อใช้ในการวางแผน และตัดสินใจ  ใช้โปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์ครบวงจร (FAS)  อบรมการจัดทำบัญชีและงบการเงินแก่บุคลากรสหกรณ์  กำกับแนะนำการจัดทำบัญชีและงบการเงิน จัดช่องทางให้บริการความรู้ด้านการบัญชีผ่านทาง “Application”

25 กระบวนการพัฒนาการจัดทำบัญชีและงบการเงิน
ผู้รับผิดชอบ - สตท. กิจกรรม ประเมินศักยภาพการทำบัญชี จัดกลุ่มตามศักยภาพ - จำแนกเป็น 2 กลุ่ม : ทำบัญชีได้ หรือ ทำงบการเงินได้ จัดทำแผนการพัฒนาศักยภาพ - จัดทำโครงการ - กำหนดเป้าหมาย - กำหนดวิธีการพัฒนา - กำหนดผู้ดำเนินการ - กำหนดระยะเวลาในการดำเนินการ ดำเนินการพัฒนาศักยภาพ ประเมินผลการพัฒนาศักยภาพ - ประเมินทุกขั้นตอนระหว่างการพัฒนา 5.จัดทำงบการเงิน จัดทำงบการเงิน 4.จัดทำงบทดลอง 3.บันทึกบัญชีขั้นปลาย 3.1 บัญชีคุม 3.2 บัญชีย่อย จัดทำบัญชี 2.บันทึกบัญชีขั้นต้น 1. ทำเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี 1.จัดทำเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี

26 สร้างความเข้มแข็งด้านการบัญชีแก่เกษตรกร
3. พัฒนาการจัดทำบัญชีแก่เกษตรกร 3.1 สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดทำบัญชีครัวเรือนและบัญชีต้นทุนอาชีพแก่เกษตรกร ภายใต้โครงการบูรณาการ 4 โครงการ เพื่อ...... เกษตรกรมีวินัยทางการเงิน เป็นภูมิคุ้มกันการเป็นหนี้ สามารถใช้ข้อมูลทางบัญชีในการวางแผนการผลิตและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพ  โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 60,000 ราย  โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ 70,000 ราย  โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกร 3,000 ราย  โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร 882 ศูนย์

27 สร้างความเข้มแข็งด้านการบัญชีแก่เกษตรกร
3. พัฒนาการจัดทำบัญชีแก่เกษตรกร 3.2 โครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จำนวน 10,500 ราย ภายใต้ 8 โครงการ - โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารฯ 1,980 ราย - โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านบัญชีในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียงชุมชน 1,230 ราย - โครงการพัฒนากลุ่มอาชีพประชาชนในถิ่นทุรกันดารฯ 190 ราย - โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 3,000 ราย - โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 2,200 ราย - โครงการศิลปาชีพ 1,200 ราย - โครงการหลวง 700 ราย - โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ 924 ครั้ง เพื่อ...... เกษตรกรมีวินัยทางการเงิน เป็นภูมิคุ้มกันการเป็นหนี้ สามารถใช้ข้อมูลทางบัญชีในการวางแผนการผลิตและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพ

28 สร้างความเข้มแข็งด้านการบัญชีแก่เกษตรกร
3. พัฒนาการจัดทำบัญชีแก่เกษตรกร เพื่อ...... สมาชิกสหกรณ์มีวินัยทางการเงินและมีเงินรายได้เพิ่มขึ้น สมาชิกสหกรณ์มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สหกรณ์มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน 3.3 โครงการเสริมสร้างการบริหารการเงินแก่สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 9,600 ราย

29 ประเด็นการนำเสนอ การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ 2561
กรอบงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 แผนงบประมาณ ปี 2561 เป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2561

30 กรอบงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
(หน่วย : บาท) งบรายจ่าย ปี 2560 ปี 2561 ผลต่าง +เพิ่ม/-ลด ร้อยละ 1. งบบุคลากร 790,025,000 800,740,400 + 10,715,400 1.36 2. งบดำเนินงาน 512,987,500 516,216,100 + 3,228,600 0.63 3. งบลงทุน 42,363,700 33,775,500 - 8,588,200 -20.27 4. งบเงินอุดหนุน - 5. งบรายจ่ายอื่น รวมทั้งสิ้น 1,345,376,200 1,350,732,000 + 5,355,800 0.40 งบประมาณ ปี 2561 กรมฯ ได้รับจัดสรรเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.40

31 แผนงบประมาณ / ผลผลิต / โครงการ
แผนงบประมาณ ปี 2561 แผนงบประมาณ / ผลผลิต / โครงการ เป้าหมาย งบประมาณ (ล้านบาท) 1. แผนงาน : บุคลากรภาครัฐ รายการ : บุคลากรภาครัฐส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 2. แผนงานพื้นฐาน : พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง ผลผลิตที่ 1 : สหกรณ์และสถาบันเกษตรกรได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง 11,600 ผลผลิตที่ 2 : เกษตรกร เยาวชน และประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านบัญชี 124,000 3. แผนงานยุทธศาสตร์ : ส่งเสริมการดำเนินงานตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการ 1 : โครงการระบบการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 10,500 4. แผนงานบูรณาการ : พัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร โครงการ 2 : โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 60,000 โครงการ 3 : โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 882 โครงการ 4 : โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม 3,000 5.5528 โครงการ 5 : โครงการส่งเสริมการเกษตรทฤษฎีใหม่ 70,000 5. แผนงานบูรณาการ : ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการ 6 : โครงการเสริมสร้างการบริหารการเงินแก่สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 9,600 รวมงบประมาณทั้งสิ้น 1, Company Logo

32 เป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2561
ภาพรวม ไตรมาส 2 : ไตรมาส 3 : ไตรมาส 4 : ไตรมาส 1 : แผนกรม มติ ครม. 30.61 30.29 54.40 52.29 77.99 74.29 100 96.00 ไตรมาส 1 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 2 ปี 2561 งบลงทุน ไตรมาส 2 : ไตรมาส 3 : ไตรมาส 4 : ไตรมาส 1 : แผนกรม มติ ครม. 100 21.11 43.11 65.11 88.00 ไตรมาส 4 ไตรมาส 3 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

33 ขอบคุณค่ะ Company Logo


ดาวน์โหลด ppt ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google