งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความหมาย (ตามพระราชกฤษฎีกาการจ่ายเงินเดือน)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความหมาย (ตามพระราชกฤษฎีกาการจ่ายเงินเดือน)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความหมาย (ตามพระราชกฤษฎีกาการจ่ายเงินเดือน)
หลักการ เป็นเงินค่าตอบแทนหรือผลประโยชน์ตอบแทนที่ทางราชการจ่ายให้เนื่องจากข้าราชการได้มาทำงานให้แก่ทางราชการ ความหมาย (ตามพระราชกฤษฎีกาการจ่ายเงินเดือน) เป็นเงินที่ทางราชการจ่ายตอบแทนให้แก่ข้าราชการทุกประเภทเป็นรายเดือนตามอัตราที่กำหนดไว้แน่นอนในบัญชีท้ายพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง และรวมตลอดถึงเงินอื่นที่กระทรวงการคลังกำหนดให้จ่ายเป็นรายเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือน

2 ความหมายของเงินเดือน
การสนับสนุนเงินเดือน มี 3 รายการ 1. รายการเงินเดือน หมายถึงเงินที่จ่ายให้แก่ข้าราชการทหาร ประจำการและพลทหารประจำการเป็นรายเดือน 2. รายการเงินเพิ่มพิเศษต่าง ๆ หมายถึง เงินเพิ่มพิเศษต่าง ๆที่ กำหนดให้จ่ายควบกับรายการเงินเดือน ได้แก่ เงินเพิ่มพิเศษรายเดือนสำหรับค่าวิชา (พ.) เงินเพิ่มพิเศษสำหรับการสู้รบ (พ.ส.ร.) เงินเพิ่มนักบินประจำกอง (พ.น.บ.)

3 ความหมายของเงินเดือน
เงินเพิ่มสำหรับผู้ทำการบนอากาศยานเป็นประจำ (พ.ป.อ.) เงินเพิ่มศิษย์การบินมัธยม (พ.ศ.ม.) เงินเพิ่มพิเศษผู้บังคับอากาศยาน (พ.บ.อ.) เงินเพิ่มครูการบิน (พ.ค.บ.) 3. รายการเงินประจำตำแหน่ง หมายถึงเงินที่จ่ายเป็นรายเดือนให้แก่ข้าราชการทหารสัญญาบัตร ที่บรรจุในตำแหน่งที่มีสิทธิได้รับเงินประจำตำแหน่ง มี 5 ประเภท ได้แก่ 3.1 ประเภทผู้บริหาร 3.2 ประเภทวิชาชีพเฉพาะ

4 ความหมายของเงินเดือน
3.3 ประเภทผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ 3.4 ประเภทวิชาการ (ประจำโรงเรียน) 3.5 ประเภทตุลาการพระธรรมนูญและอัยการทหาร

5 สิทธิและหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเดือน
ตารางเทียบชั้นเงินเดือนที่จะได้รับสำหรับผู้ที่ผ่านการประเมิน ป 2 ขั้น เทียบเท่า ป 3 ขั้น 21.5 ป 3 ขั้น เทียบเท่า น 2 ขั้น 18 น 1 ขั้น เทียบเท่า น 2 ขั้น 18 น 2 ขั้น เทียบเท่า น 3 ขั้น 14.5 น 3 ขั้น เทียบเท่า น 4 ขั้น 14.5 น 4 ขั้น เทียบเท่า น 5 ขั้น 18 น 5 ขั้น เทียบเท่า น 6 ขั้น 14

6 สาระสำคัญของการเบิกเงินเดือน
หน่วยต้องจัดทำฎีกาแยก ดังนี้ สัญญาบัตร ประทวน พลทหาร นถปภ.รอ.- สัญญาบัตร นถปภ.รอ. - ประทวน นถปถ.รอ. - พลอาสาสมัคร

7 การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน
สิทธิและหลักเกณฑ์ การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน การเลื่อนขั้นเงินเดือน ตามมติ ครม. ที่ นร 0204/ว 64 ลง 12 เม.ย.44 ได้มีมติการเลื่อนขั้นเงินเดือน จาก ปีละ 1 ครั้ง เป็นปีละ 2 ครั้ง คือ เม.ย. และ ต.ค.

8 การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน
สิทธิและหลักเกณฑ์ การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน มีสิทธิได้รับเงินไม่เต็มเดือน ให้จ่ายตามส่วนของจำนวนวันที่มีสิทธิในเดือนนั้น บรรจุใหม่ ให้จ่ายตั้งแต่วันที่เริ่มเข้าปฏิบัติหน้าที่ มีการเลื่อนชั้นหรือเลื่อนระดับเงินเดือน ให้จ่ายได้ตั้งแต่วันที่ระบุในคำสั่งของผู้มีอำนาจสั่งเลื่อน

9 การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน
สิทธิและหลักเกณฑ์ การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งใหม่ ให้จ่ายตามคำสั่งของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง การโอนข้าราชการ ให้จ่ายทางสังกัดใหม่และงดจ่ายทางสังกัดเดิม ละทิ้งหน้าที่ราชการหรือหนีราชการโดยไม่มีเกตุผลอันสมควร ไม่ให้จ่ายสำหรับวันละทิ้งหน้าที่ ถ้าตายห้ามจ่ายเงินช่วยพิเศษ

10 การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน
สิทธิและหลักเกณฑ์ การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน ถูกลงโทษตัดเงินเดือน ให้ตัดตามจำนวนหรือตามส่วนของเงินเดือนที่กำหนดไว้ในคำสั่งฯ ลาออก ให้จ่ายถึงวันก่อนกำหนดลาออก ให้ออก ปลดออก ไล่ออก ให้จ่ายถึงวันก่อนวันที่ระบุใน คำสั่งฯ

11 การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน
สิทธิและหลักเกณฑ์ การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน ส่งมอบหน้าที่ กรณีลาออก ให้ออก ปลดออก หรือไล่ออก ให้จ่ายถึงวันส่งมอบหน้าที่แต่ต้องไม่เกิน 15 วัน นับแต่วันที่ระบุในคำสั่งฯ เกษียณอายุราชการ ให้จ่ายได้ถึงวันสิ้นปี งป. ตายระหว่างรับราชการ ให้จ่ายถึงวันถึงแก่ความตาย

12 การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน
สิทธิและหลักเกณฑ์ การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน ถูกควบคุมตัว การจ่ายเงินให้ปฏิบัติตามข้อบังคับ กห ว่าด้วย การตัด งด และจ่ายเงินเดือน พ.ศ.2504 และแก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2506 ให้งดจ่ายเงินเดือนและค่าเช่าบ้านตามวันที่ถูกควบคุมตัว

13 การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน
สิทธิและหลักเกณฑ์ การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน ถูกสั่งพักราชการ การจ่ายเงินให้ปฏิบัติตามข้อบังคับ กห ว่าด้วย การสั่งให้ทหารพักราชการ พ.ศ.2528 และข้อบังคับ กห. ว่าด้วย การตัด งด และจ่ายเงินเดือน พ.ศ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2506 ให้จ่ายเงินเดือนและค่าเช่าบ้านตั้งแต่วันที่ถูกสั่งพักราชการ

14 การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน
สิทธิและหลักเกณฑ์ การจ่าย - งดจ่ายเงินเดือน การจ่ายเงินเดือนระหว่างลาของข้าราชการสังกัด กห. ให้เป็นไปตามข้อบังคับ กห. ว่าด้วย การตัด งด และจ่ายเงินเดือน พ.ศ.2504 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2506

15 หลักเกณฑ์การจ่ายเงินเดือนระหว่างพักราชการ
ให้จ่ายเมื่อคดีหรือกรณีถึงที่สุด คดีถึงที่สุดหมายถึง ไม่มีความผิดและไม่มีมลทินหรือมัวหมอง ให้จ่ายเงินเดือน ค่าเช่าบ้านที่งดจ่ายเต็มจำนวน ไม่ได้กระทำผิด แต่มีมลทินหรือมัวหมอง ให้จ่ายไม่เกินครึ่งหนึ่ง ของเงินได้รายเดือนที่ได้รับ แต่ค่าเช่าบ้านให้จ่ายเต็มจำนวน ได้กระทำความผิด ห้ามมิให้จ่ายเงินที่งดไว้

16 การจ่ายระหว่างการลาของข้าราชการสังกัด กห.
1. ลาป่วย 1.1 ธรรมดา ปีละไม่เกิน 120 วันทำการ (60วันแรกไม่ต้องอนุญาตการจ่าย 60 วันหลังต้องได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชาตั้งแต่อธิบดีหรือเทียบเท่าขึ้นไป 1.2 เจ็บป่วยเพราะปฏิบัติราชการ 2. ลาคลอดบุตร ไม่เกิน 90 วัน 3. ลากิจส่วนตัว ปีละไม่เกิน 45 วันทำการ ปีแรกที่เริ่มรับราชการ ไม่เกิน 25วันทำการ

17 การจ่ายระหว่างการลาของข้าราชการสังกัด กห.
4. ลาพักผ่อน รับราชการไม่ครบ 6 เดือน ไม่มีสิทธิ ปฏิบัติไม่น้อยกว่า 10 ปี ลาได้ 30 วัน 5. ลาอุปสมบทพิธีฮัท ไม่เกิน 120 วัน (รับราชการไม่น้อยกว่า 12 เดือน) 6. ลาระดมพล พิจารณาแล้วไม่มาทำการใน 7 วัน ให้งดจ่ายเงินเดือน

18 การจ่ายระหว่างการลาของข้าราชการสังกัด กห.
7. ลาศึกษา อบรม ดูงาน ไม่เกิน 4 ปี จำเป็นลาได้อีก 2 ปี ไม่เกิน 6 ปี 8. ลาปฏิบัติงาน องค์กรต่างประเทศ ได้เท่ากับอัตราเงินเดือน 9. ลาติดตามคู่สมรส (ไม่ให้จ่ายเงินเดือน ลาได้ไม่เกิน 2 ปี จำเป็นลาต่อ ได้อีก 2 ปี เกิน 4 ปี ต้องลาออก)

19 ถ้าข้าราชการตายก่อนคดีถึงที่สุด
เข้าพิจารณาตามกฏหมายที่มีอยู่ว่าช่วยได้หรือไม่ ให้ออก ปลดออก ไล่ออก ให้จ่ายถึงวันที่ระบุในคำสั่ง

20 การจ่ายเงินเดือน กรณี ข้าราชการตาย
เมื่อข้าราชการถึงแก่ความตายในระหว่างรับราชการให้จ่าย เงินเดือนจนถึงวันที่ถึงแก่ความตาย เงินช่วยพิเศษ 3 เท่าของเงินเดือน เงินเพิ่มต่าง ๆ ที่เบิกควบกับเงินเดือน จ่ายจนถึงวันที่ถึงแก่ความตาย เงินเดือนที่จ่ายให้จนถึงวันที่ถึงแก่ความตายหรือเงินเดือนค้างจ่าย เป็นทรัพย์สินของผู้ตาย ให้จ่ายให้ผู้มีสิทธิตามกฏหมายว่าด้วย ครอบครัวและ มรดก ดังนี้ จ่ายเป็นสินสมรสให้แก่คู่สมรสจำนวนครึ่งหนึ่ง ส่วนที่เหลือ ครึ่งหนึ่ง จ่ายให้แก่ทายาทโดยชอบธรรม ได้แก่ บิดา 1 ส่วน มารดา 1 ส่วน คู่สมรส 1 ส่วน บุตร คนละ 1 ส่วน

21 ตายระหว่างรับราชการ (ต่อ)
เงินบำเหน็จตกทอด 30 เท่าของเงินเดือน คู่สมรส 1 ส่วน บิดา มารดา 1 ส่วน บุตร คนละ 1 ส่วน ถ้า 2 คน 2 ส่วน ถ้า 3 คน 3 ส่วน แต่ได้ไม่เกิน 3 ส่วน ถ้ามีบุตร 4 คน ก็ได้เพียง 3 ส่วนเท่านั้น

22 ตายระหว่างรับราชการ (ต่อ)
เงินช่วยพิเศษ เป็นเงินที่ทางราชการจ่ายให้แก่ทายาทของข้าราชการหรือลูกจ้าง กรณีที่ถึงแก่ความตายในระหว่างรับราชการเพื่อสงเคราะห์ทายาทในการจัดพิธีศพ โดยจ่ายให้ 3 เท่าของเงินเดือนรวมถึงเงินเพิ่ม พ.ค.ว. พ.ส.ร. ผู้มีสิทธิได้รับ ได้แก่ ตามที่ได้ระบุไว้ในหนังสือแสดงเจตนา คู่สมรส บุตร บิดา มารดา ผู้จัดการศพ โดยให้หักค่าใช้จ่ายที่เหลือคืนให้ทายาทเพียงคนเดียวตามลำดับก่อนหลัง

23 ทะเบียนคุมการเบิกเงินเดือน
ระเบียบ กค. ว่าด้วยการเบิกและการจ่ายเงิน เงินปี และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน พ.ศ.2533 ข้อ 14 “กรณีขอเบิกเงินเดือนเป็นรายตัว การวางฎีกาประจำเดือนแรกของปีงบประมาณให้ ส่วนราชการผุ้เบิกแสดงเลขที่ประจำตำแหน่ง ชื่อ ชั้น ระดับชั้น เงินเพิ่ม และจำนวนเงินเดือน คงเบิกของข้าราชการทุกคนในใบแนบฎีกา โดยเรียงรายชื่อตามลำดับในบัญชีถือจ่ายเงินเดือน ประจำปี” สำหรับฎีกาประจำเงินเดือนอื่นนอกจากเดือนแรกของปีงบประมาณ ให้ส่วนราชการแสดงเฉพาะรายการที่เปลี่ยนแปลงเงินเดือนของเงินเดือนปัจจุบันที่ขอเบิกกับเดือนก่อนในแบบแนบฎีกา” ข้อ 15 “กรณีเบิกเงินเดือนเป็นรายอัตรา ให้ส่วนราชการผู้เบิกแสดงเฉพาะชั้น ระดับ ชั้น จำนวนอัตราและจำนวนเงินเดือนตกเบิกใบแบบแนบฎีกา”

24 บัญชีถือจ่าย ระเบียบ กค. ว่าด้วยการเบิกและการจ่ายเงินเดือน เงินปี และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน พ.ศ.2533 ข้อ 8 “การเบิกจ่ายเพื่อจ่ายเป็นเงินเดือน ให้เบิกได้ตามอัตราในบัญชีถือจ่าย เงินเดือนที่ กรมบัญชีกลาง ตรวจสอบรับรองแล้ว และให้ผู้เบิก ตรวจสอบ และควบคุมให้การเบิกและการจ่ายเงินเป็นไปตาม กฎหมาย และระเบียบที่กำหนดไว้” - บัญชีถือจ่ายรายตัว - บัญชีถือจ่ายรายอัตรา

25 การเบิกจ่ายเงินเดือน
ให้ใช้บัญชีถือจ่ายประจำปีชั่วคราวหรือบัญชีถือจ่ายเงินเดือน ประจำปีงบประมาณที่กรมบัญชีกลางอนุมัติเพื่อ เป็นฐานการคำนวณโควต้าเลื่อนขั้นและ 1 ขั้น ไม่เกิน 1.5 ขั้น ไม่เกิน 15% ของข้าราชการ ณ วันที่ 1 มี.ค. และวงเงินเลื่อนขั้นเงินเดือนทั้งปีไม่เกิน 6% ของอันตราเงินเดือนข้าราชการใน 1 ก.ย. โดยแนบกับคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน

26 การเบิกเงินเดือนลักษณะต่าง ๆ
การเบิกเงินประจำเดือนอื่นนอกเหนือจากเดือน ต.ค. และ เม.ย.

27 การเบิกเงินเดือนลักษณะต่าง ๆ
การเบิกเงินเดือนที่ไม่ใช่เป็นการเบิกประจำเดือน ค้างเบิก ตกเบิก เบิกใช้คืนเหล่าทัพ

28 การเบิกเงินเดือนลักษณะต่าง ๆ
การเบิกหักผลักส่งใช้คืนเหล่าทัพ ในการจัดทำฎีกา แยกฎีกาเดือนละ 1 ฎีกา แยกแต่ฎีกาแต่ละ เหล่าทัพ

29 การเบิกเงินเดือนลักษณะต่าง ๆ
การเบิกเงินเดือนค้างเบิกข้ามปี ต้องเสนอให้ สปช.ทหาร รับรองงบประมาณคงเหลือในปีที่ล่วงมาแล้วว่ามีเหลือเพียงพอหรือไม่ที่จะเบิกจากงบประมาณปีปัจจุบัน การทำขอส่วนเทียบปัจจุบัน สปช.ทหาร จะไม่มีการอนุมัติแล้ว

30 การทำฎีกาเบิกเงิน แยกตามกลุ่ม ดังนี้
การทำฎีกาเบิกเงิน แยกตามกลุ่ม ดังนี้ งบบุคคลากร - เงินเดือน , ค่าจ้าง เงินประจำตำแหน่ง เงินตอบแทนเงินประจำตำแหน่ง - เงินค่าครองชีพ - ค่าตอบแทนรายเดือน ,ตอบแทน 3500 (2% - 8%) ใช้แบบฟอร์ม กง.9 – 9.1

31 การทำฎีกาเบิกเงิน แยกตามกลุ่ม ดังนี้
การทำฎีกาเบิกเงิน แยกตามกลุ่ม ดังนี้ - เงิน กบข. - เงิน กสจ. - เงินบำเหน็จลูกจ้าง เงินช่วยพิเศษ เงินประกันสังคม เงินค่าตอบแทนพิเศษ ค่าเช่าบ้าน ค่าตอบแทนเหมาจ่ายแทนการจัดหารถประจำตำแหน่ง ค่าตอบแทนสาธารณสุข เงินพิเศษเพิ่มแพทย์ ผู้ที่ไม่ปฏิบัติเวช กำลังพลที่ปฏิบัติงานภาคใต้ งบกลาง ใช้แบบฟอร์ม กง.10 + (รายละเอียด กง.10.1) งบดำเนินงาน

32 กำหนดวันที่วางฎีกา ฎีกาประจำเดือน - ฎีกาย่อย ( ตกเบิก,ค้างเบิก,ย้าย)
- ฎีกาย่อย ( ตกเบิก,ค้างเบิก,ย้าย) ภายในวันที่ 5 ของเดือน ภายในไม่เกินวันที่ 15 ของเดือน

33 หนังสือรับรองการจ่ายเงินเดือนครั้งสุดท้าย
สัญญาบัตร ประทวน ย้ายใน บก.ฯ น.การเงินหน่วยลงนาม ย้ายนอก บก.ฯ หน่วยเบิกเดิม / หน่วยเบิกใหม่ กทม./กทม. (สัญญาบัตร , ประทวน) หน่วยบันทึก กงด.ฯ รับรอง กทม./คลัง จว. สัญญาบัตร หน่วยบันทึก กงด.ฯ รับรอง ประทวน หน่วยบันทึก กงด.ฯ รับรอง

34 การจ่ายเงินเดือน นำเงินเข้าบัญชีธนาคารเป็นรายบุคคล จ่ายเป็นเช็ค
จ่ายเป็นเงินสด

35 การยืมเงินเดือน ยอดเงินยืมต้องเป็นยอดหลังจากหัก กบข. และ ภาษี แล้ว
หลักฐานต้องประกอบด้วย หนังสือชี้แจงเหตุผล (ใบปะหน้า) ใบยืมเงิน สำเนาคำสั่งปรับย้าย (ตามคำสั่ง บก.ทหารสูงสุดไม่ใช้คำสั่งเหล่าทัพ) สำนาแบบ 5110 (หนังสือรับรองการจ่ายเงินเดือนครั้งสุดท้าย)

36 ค่าครองชีพชั่วคราว ตาม ครม.มีมติเห็นชอบให้ปรับปรุงค่าตอบแทนเพื่อช่วยเหลือการครองชีพของข้าราชการ ลูกจ้าง และ พนักงานราชการระดับต้น ตั้งแต่ 1 ต.ค. 47 โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ เงินเดือนไม่ถึง 8200 บาท ให้เบิกค่าครองชีพเพิ่มจากเงินเดือนให้ถึง 8200 บาท เงินเดือน ไม่ถึง บาท ให้เบิกค่าครองชีพเพิ่ม 1500 บาท แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน บาท ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 พ.ค.51 เป็นต้นไป

37 ค่าครองชีพของบุคลากรภาครัฐ
ตามมติ ครม. เมื่อ 19 มี.ค.52 ให้จ่ายค่าครองชีพของบุคลากรภาครัฐให้กับ ข้าราชการทหาร พลอาสาสมัคร และ ลูกจ้างประจำ ที่มีรายได้ต่ำกว่าเดือนละ บาท รายละ 2000 บาท โดยจ่ายภายใน เม.ย.52 ต่อมา มีมติ ครม. ให้จ่ายค่าครองชีพดังกล่าวเพิ่มอีก 6 กลุ่ม โดยให้รวมถึง พลทหารกองประจำการ แต่ไม่รวมถึงนักเรียนในสังกัด กห โดยจ่ายใน มิ.ย.52

38 เงินประจำตำแหน่ง เป็นเงินที่จ่ายให้ข้าราชการที่ได้รับเงินแต่งตั้งไปดำรงตำแหน่งที่ ก.ม.กำหนดให้เป็นตำแหน่งที่มีสิทธิ ได้รับเงินประจำตำแหน่ง และจะต้องปฏิบัติงานในหน้าที่หลักของตำแหน่งนั้น ๆ อัตราเงินประจำตำแหน่ง ให้เบิกไปตามมาตราบัญญัติเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง พ.ศ.2538 ตามพระราชกฤษฎีกา หมายถึง เงินประจำตำแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง

39 การเบิกจ่ายเงินประจำตำแหน่ง
- จ่ายให้กับข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่หลักของตำแหน่งที่ตนดำรงอยู่ - เบิกตามอัตราในบัญชีถือจ่าย - เบิกจ่ายจากงบประมาณหมวดเงินเดือน และค่าจ้างประจำ - วางฎีกาเบิกพร้อมกับการวางฎีกาเบิกเงินเดือน - จ่ายควบกับเงินเดือน

40 เงินประจำตำแหน่งข้าราชการทหาร
1. ประเภทบริหาร ประเภทวิชาชีพเฉพาะ ประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะ 4. ประเภทตุลาการพระธรรมนูญ และอัยการทหาร 5. ประเภทวิชาการในโรงเรียนทหาร

41 บัญชีถือจ่ายเงินประจำตำแหน่ง
จัดทำจากตำแหน่งที่ได้รับอนุมัติให้ได้รับเงินประจำตำแหน่ง ตามคำสั่ง กห.

42 การเบิกเงินประจำตำแหน่งจาก กง.ทหาร
การเบิกเงินประจำตำแหน่งจาก กง.ทหาร จัดทำเป็น 4 ฎีกา - ฎีกาเงินประจำตำแหน่งประเภทผู้บริหาร - ฎีกาเงินประจำตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ - ฎีกาเงินประจำตำแหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะ - ฏีกาเงินประจำตำแหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะ ( นปก.)

43 ทะเบียนคุมเงินประจำตำแหน่ง
- ยศ ชื่อ นามสกุล (เรียงตามชั้นยศ) - อัตราเงินประจำตำแหน่ง - ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (กำหนด 10 %) กง.ทหารกำหนดเอง - จำนวนเงินรับสุทธิ

44

45

46 สิทธิหลักเกณฑ์ การจ่าย งดจ่ายเงินประจำตำแหน่ง ตาม พรก
สิทธิหลักเกณฑ์ การจ่าย งดจ่ายเงินประจำตำแหน่ง ตาม พรก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการจ่ายเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการและผู้ดำรงตำแหน่ง ผู้บริหาร ซึ่งไม่เป็นข้าราชการ พ.ศ.2539 - ให้จ่ายได้ตั้งแต่วันเริ่มเข้าปฏิบัติหน้าที่หลักของตำแหน่งนั้น - กรณีรับไม่เติมเดือน ให้จ่ายตามส่วนของวัน เงินประจำตำแหน่ง = เงินประจำตำแหน่ง  จำนวนวันตามสิทธิ จำนวนวันในเดือนนั้น

47 กบข. วัตถุประสงค์ - เป็นหลักประกันการจ่ายบำเหน็จบำนาญ
- เป็นหลักประกันการจ่ายบำเหน็จบำนาญ - ส่งเสริมการออมทรัพย์ - จัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน์อื่นให้สมาชิก

48 ประเภทของสมาชิก 1. ขรก.ที่รับราชการอยู่ก่อน 27 มี.ค.40 2. ขรก.ที่รับราชการตั้งแต่ 27 มี.ค.40 เงินสะสม หัก 3% ของเงินเดือน - เบิกลด เงินสมทบ รัฐจ่ายให้ 3% ของเงินเดือน เงินชดเชย % ของเงินเดือน

49 เงินประเดิม รัฐจ่ายเงินก้อนเข้ากองทุน ให้ผู้ที่เป็นสมาชิกก่อน
27 มี.ค.40 หลักการ เริ่มวันที่รับราชการ – วันที่ 27 มี.ค.40 ตามสูตร ของ กบข. การสิ้นสุดสมาชิก กบข เมื่อออกจากราชการ (ไม่สามารถลาออกจาก กบข.ได้ในขณะที่ยังรับราชการอยู่)

50 สูตรการคำนวณบำเหน็จบำนาญ
บำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย  เวลาราชการ บำนาญ = เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย  เวลาราชการ 50 ทั้งนี้ไม่เกิน 70% ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย หมายเหตุ เวลาราชการรวมวันทวีคูณ

51 - การจัดทำ งาน กบข. นำส่งให้ กง.ทหาร
- การจัดทำแผ่นงาน กบข. สำหรับฎีกาใช้หนี้ใบยืม

52 เงินตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือน
ระดับ น.4 ขรก. ระดับ พ.อ.ขึ้นไป ที่ไม่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง ให้ได้รับค่าตอบแทนรายเดือน เท่ากับ 3,500 บาท

53 เงินตอบแทนพิเศษ 2% และ 4%

54 คำสั่งให้รับเงินตอบแทนพิเศษ
เอกสารประกอบการเบิก กง.10 กง.10.1 คำสั่งให้รับเงินตอบแทนพิเศษ

55 ค่าตอบแทนรายเดือน สำหรับข้าราชการที่เต็มขั้น 2% , 4%, 6% และ 8%
สำหรับข้าราชการที่เต็มขั้น 2% , 4%, 6% และ 8% ขรก. และ ลูกจ้างประจำ ระดับ ที่ได้รับเงินเดือนยังไม่ถึงขั้นสูงสุด หรือสูงสุดให้ได้รับค่าตอบแทนเพิ่มดังนี้ เหลือ ขั้น ได้รับค่าตอบแทนเพิ่ม ร้อยละ 2 เหลือ 1 ขั้น ได้รับค่าตอบแทนเพิ่ม ร้อยละ 4 เหลือ .5 ขั้น ได้รับค่าตอบแทนเพิ่ม ร้อยละ 6 ได้รับขั้นสูงสุดของอันดับ ให้ได้รับค่าตอบแทนเพิ่มร้อยละ 8

56 การเบิกค่าเช่าบ้าน ความหมายและเจตนารมณ์
ค่าเช่าบ้านเป็นเงินตอบแทนที่ทางราชการจ่ายให้ข้าราชการที่ได้รับความเดือดร้อนในเรื่องที่อยู่อาศัยอันเนื่องมาจากทางราชการเป็นเหตุ และให้ข้าราชการที่มีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้าน หากมีความประสงค์จะมีบ้านเป็นของตนเองให้สามารถนำหลักฐานการเช่าซื้อมาเบิกจากทางราชการได้

57 ผู้มีสิทธิ์ได้รับค่าเช่าบ้าน
ต้องเป็นข้าราชการ ต้องได้รับคำสั่งให้ประจำสำนักงานในต่างท้องที่ ที่มิใช่ท้องที่เริ่มรับราชการครั้งแรก สำนักงานเดิมย้ายไปตั้งในท้องที่ใหม่ ที่มิใช่ท้องที่ใกล้เคียงที่เดิม ทางราชการไม่สามารถจัดที่พักให้ ไม่มีเคหะสถานเป็นของตนเอง หรือคู่สมรสที่พออาศัยอยู่รวมกันได้ ต้องเข้าพักอาศัยจริงในบ้านหลังที่เช่า และจ่ายค่าเช่าบ้านจริง

58 ผู้ไม่มีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้าน
ทางราชการจัดที่พักอาศัยให้แล้ว มีเคหสถานของตนเอง หรือของสามีหรือภรรยา ในท้องที่ที่ไปประจำใหม่ ที่พออาศัยอยู่รวมกันได้ ได้รับคำสั่งให้เดินทางไปประจำในท้องที่ที่รับราชการครั้งแรก ได้รับคำสั่งให้เดินทางไปประจำสำนักงานใหม่ ตามคำร้องขอ ของตนเอง สำนักงานเดิม ย้ายไปท้องที่ใกล้เคียงที่เดิม เป็นข้าราชการวิสามัญ

59 กฎหมายและระเบียบที่ใช้
พรก. ค่าเช่าบ้านข้าราชการ พ.ศ.2527 ใช้บังคับตั้งแต่ 1 ต.ค.27 และแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 5 พ.ศ.2539 ฉบับที่ 6, 7 พ.ศ.2541 ระเบียบ กค. ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าเช่าบ้านข้าราชการ พ.ศ.2530 ใช้บังคับตั้งแต่ 1 ต.ค.30

60 แนวทางปฏิบัติในการใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านข้าราชการ กรณีผ่อนชำระเงินกู้เพื่อชำระราคาบ้านของโครงการบ้านเอื้ออาทร การเคหะแห่งชาติ ตามหนังสือกระทรวงการคลังที่ /ว.20 ลง 23 เม.ย.50 เนื่องจากมีส่วนราชการหารือแนวทางปฏิบัติฯการใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านข้าราชการ กรณีข้าราชการได้ทำสัญญาจะซื้อจะขายบ้านของโครงการบ้านเอื้ออาทรกับการเคหะแห่งชาติ โดยมีเงื่อนไขว่า หลังจากชำระมัดจำครบแล้วจะต้องกู้เงินจากธนาคารที่การเคหะแห่งชาติกำหนด มาชำระราคาบ้านส่วนที่เหลือทั้งหมดในวันส่งมอบทรัพย์สิน โดยจะดำเนินการจดทะเบียนซื้อขายเพื่อโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ผู้ซื้อเมื่อครบกำหนด 5 ปี นับแต่วันทำสัญญาเงินกู้จึงยังไม่มีสัญญาซื้อขายมายื่นประกอบการใช้สิทธิ์เบิกค่าเช่าบ้านตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินค่าเช่าบ้านข้าราชการ พ.ศ.2549 ข้อ 7 และไม่มีราคาบ้านที่จะนำไปเปรียบเทียบวงกู้ ตามมาตรา 17(5) แห่งพระราชกฤษฎีกาค่าช่าบ้านข้าราชการ พ.ศ.2547

61 หลักเกณฑ์การเบิกเงินค่าเช่าบ้าน
1. กรณีสามี , ภรรยา รับราชการในท้องที่เดียวกัน ให้เบิกฝ่ายที่มีสิทธิ์ ได้รับค่าเช่าบ้านสูงกว่า ( เท่ากันให้เบิกทางสามี) 2. เมื่อเงินเดือนสูงขึ้น ก็ให้เบิกเพิ่มเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินวงเงินตามสิทธิ 3. กรณีถูกลงโทษ ลดหรืองดจ่าย เนื่องจากการลงโทษ มีสิทธิได้ รับค่าเช่าบ้าน 4. ลาติดตามคู่สมรส ซึ่งย้ายไปรับราชการต่างประเทศ เบิกไม่ได้ 5. ถูกงดจ่ายเงินเดือน เนื่องจากถูกพิจารณา ให้งดเบิก 6. ได้รับค่าเช่าบ้านอยู่แล้ว หากย้ายไปท้องที่อื่น คู่สมรส , บุตรยังอยู่ ที่เดิมสามารถนำค่าเช่ามาเบิกในสังกัดหน่วยใหม่ได้

62 หลักเกณฑ์การนำหลักฐานการเช่าซื้อ หรือผ่อนชำระเงินกู้ เพื่อชำระค่าบ้าน มาเบิกค่าเช่าบ้าน
ต้องเป็นผู้มีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน ตนเองและคู่สมรสได้เช่าซื้อหรือผ่อนชำระเงินกู้ เพียงหลังเดียวในท้องที่นั้น ต้องผ่อนชำระกับสถาบันการเงิน รัฐวิสาหกิจ หรือ สหกรณ์ ตามที่ กค. กำหนด ต้องไม่เคยใช้สิทธิเบิกค่าเช่าซื้อหรือผ่อนชำระเงินกู้ในบ้านหลังใดในท้องที่นั้นมาก่อน เว้นแต่จะได้กลับมารับราชการในท้องที่นั้นอีก ห้ามขยายงวดผ่อนชำระ ถ้าใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านในห้องที่ใดอยู่ หากย้ายไปท้องที่อื่นซึ่งมีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน จะนำหลักฐานการเช่าซื้อในท้องที่เดิมมาเบิกค่าเช่าบ้านในท้องที่ใหม่ได้โดยไม่ต้องไปเช่าอยู่ใหม่

63 สถาบันการเงิน ที่ กค.กำหนด
สถาบันการเงิน ที่ กค.กำหนด 1. ธนาคารพาณิชย์ 2. รัฐวิสาหกิจที่ดำเนินการเกี่ยวกับการเคหะ 3. สหกรณ์ที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการเคหะ 4. บริษัทอสังหาริมทรัพย์ ที่ดำเนินการรับซื้อ หรือ โอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของสถาบันการเงิน 5. กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ

64 สิทธิ สิทธิเริ่มต้น - ตั้งแต่ได้เช่าและได้เข้าพักอาศัยอยู่
- ตั้งแต่ได้เช่าและได้เข้าพักอาศัยอยู่ - ไม่ก่อนวันรายงานตัว เพื่อเข้ารับหน้าที่ สิทธิสิ้นสุด วันที่ขาดจากอัตราเงินเดือน - วันที่อยู่ในข่ายหมดสิทธิ์ 1. วันถัดจากวันที่ถึงแก่ความตาย 2. วันที่ได้รับอนุญาตให้ออกจากราชการ 3. วันที่พ้นจากราชการ ตาม กม.ว่าด้วยบำเหน็จ บำนาญ 4. วันที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งใหม่ 5. วันที่หมดภาระในการเช่าซื้อ หรือผ่อนชำระเงินกู้

65 คณะกรรมการต้องตรวจสอบสาระสำคัญ
ดังนี้ ... 1. เป็นผู้มีสิทธิตามพระราชกฤษฎีกา 2. ได้เช่าจริง อยู่จริงหรือไม่ ตั้งแต่เมื่อใด 3. อัตราเช่าบ้านเหมาะสมกับสภาพแห่งบ้านหรือไม่

66 การรับรองสิทธิ 1. พ.ต. รับรองให้ข้าราชการในสังกัดที่เป็นผู้ใต้บังคับบัญชา กรณี เป็น หน.สำนักงาน แยกจากส่วนราชการ ระดับกรม 2. พ.ท.ขึ้นไป รับรองกรณีสิทธิให้ พ.ต. ได้ 3. ผู้มีอำนาจรับรองการใช้สิทธิตนเอง พ.อ.(พ) น.5 ชั้น 6 ขึ้นไป ผู้มีอำนาจอนุมัติ 1. ส่วนกลางผู้มีอำนาจสั่งจ่าย ตั้งแต่ พ.ท.ขึ้นไป 2. ส่วนภูมิภาค หน.ส่วนราชการผู้เบิกเงินจากคลัง

67 สาระสำคัญการเบิกค่าเช่าบ้าน
1. การเช่าบ้านไม่จำเป็นต้องเช่าในท้องที่ปฏิบัติราชการ แต่การเช่าซื้อ ผ่อนชำระ ต้องอยู่ในท้องที่ปฏิบัติราชการ 2. การผ่อนชำระเงินกู้ หากคู่สมรสเป็นคู่สัญญา มีกรรมสิทธิร่วมกัน ถ้ามิใช่คู่สมรส ให้พิจารณาเบิกค่าเช่าบ้านได้ตามสัดส่วนแห่งสิทธิ 3. ค่าเช่าบ้าน เป็นรายจ่ายเมื่อรับแบบขอเบิกเงิน ไม่เป็นค่าใช้จ่าย ค้างเบิกข้ามปี 4. เมื่อยื่นแบบขอเบิก ฯ ให้ส่วนราชการส่งสำเนาแบบ และ เอกสารที่เกี่ยวข้องให้ สตง. ตรวจสอบพร้อมงบเดือน

68 การตรวจสอบและการเบิกของเจ้าหน้าที่
1. ความครบถ้วนของเอกสาร 2. ตรวจสอบอัตราเบิก 3. ตรวจสอบสัญญา 4. เบิกในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ 5. ทำฎีกาแยก และ ลงชื่อรับรอง 6. วางฎีกาเบิกภายในวันที่ 5 และจ่ายพร้อมเงินเดือน

69 การเบิกค่าเช่าบ้าน การจัดบุคคลเข้าบ้านพักของทางราชการ
เมื่อบ้านพักของทางราชการว่างลง ให้ส่วนราชการจัดให้ข้าราชการที่มีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้านไม่ว่าจะเป็นผู้กำลังใช้สิทธิอยู่หรือไม่ ก็ตาม เข้าพักอาศัยในบ้านพักของทางราชการก่อน หากยังมีบ้านว่างเหลืออยู่จึงจะจัดให้ ข้าราชการที่ไม่มี สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านเข้าอยู่อาศัยได้

70 การเบิกค่าเช่าบ้าน การจัดบุคคลเข้าบ้านพักของทางราชการ
- ข้าราชการที่มีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน ถ้าสละสิทธิไม่เข้าพักอาศัยในบ้านพักที่ทางราชการจัดให้จะมาขอเบิกค่าเช่าบ้านไม่ได้

71 การเบิกค่าเช่าบ้าน มติคณะรัฐมนตรี
ตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร ๐๒๐๔/ว ๖๑ ลง ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๑ กำหนดให้ส่วนราชการ และข้าราชการตรวจสอบสิทธิของตนเองว่า ใช้สิทธิถูกต้องหรือไม่ หากไม่ถูกต้องให้งดจ่าย ข้าราชการรายใดมีเจตนาใช้สิทธิเบิกไม่ถูกต้อง ขัดกับ พ.ร.ฎ. ค่าเช่าบ้าน ให้ถือว่าเป็นการทุจริตมีความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ส่วนราชการพิจารณาลงโทษไล่ออก


ดาวน์โหลด ppt ความหมาย (ตามพระราชกฤษฎีกาการจ่ายเงินเดือน)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google