ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การบริหารการทดสอบระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2559 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 18
2
การบริหารการจัดสอบระดับศูนย์สอบ ปีการศึกษา 2559 โดย ผอ
การบริหารการจัดสอบระดับศูนย์สอบ ปีการศึกษา 2559 โดย ผอ.กลุ่ม นิเทศฯ ธนนันท์ คณะรมย์
3
หน้าที่หลักของศูนย์สอบ
1. ประสานงานกับสทศ. ดำเนินการตามนโยบายและแนวปฏิบัติของสทศ. 2. กำกับและติดตามให้โรงเรียนส่งข้อมูลรายชื่อนักเรียนให้ครบถ้วนและ ถูกต้องตามช่วงเวลาที่สทศ. กำหนด 3. จัดสนามสอบและห้องสอบผ่านระบบ O-NET ภายในเวลาที่กำหนด 4. พิจารณาอนุมัติในกรณีมีผู้เข้าสอบกรณีพิเศษที่ไม่มีเลขที่นั่งสอบ โดย ตรวจสอบว่านักเรียนเป็นผู้มีสิทธิ์สอบและแจ้งสนามสอบทราบในวันสอบ
4
หน้าที่หลักของศูนย์สอบ
5. แต่งตั้งตัวแทนศูนย์สอบและส่งไปปฏิบัติหน้าที่ประจำสนามสอบ 6. แต่งตั้งคณะทำงานระดับศูนย์สอบ และคณะกรรมการระดับสนามสอบ ควบคุม กำกับให้การดำเนินการจัดสอบของศูนย์สอบและสนามสอบเป็นไป ด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ 8. แก้ปัญหาในการดำเนินการจัดสอบของศูนย์สอบและสนามสอบ บริหารค่าใช้จ่ายในการดำเนินการจัดสอบ ส่งรายงานสรุปผลการดำเนินการจัดสอบและสรุปค่าใช้จ่ายในการจัดสอบ แจ้ง ให้ สทศ. ทราบ ภายใน 30 วันหลังเสร็จสิ้นการสอบ
5
คณะทำงานระดับศูนย์สอบ
1 ประธานศูนย์สอบ 2 คณะทำงานประสานงานการจัดสอบ 3 คณะทำงานรับ-ส่ง เก็บรักษาแบบทดสอบกระดาษคำตอบ 4 คณะทำงานจัดทำฐานข้อมูลโรงเรียน นักเรียนและศูนย์สอบ 5 คณะทำงานการเงิน 6 ตัวแทนศูนย์สอบ
6
ประธานศูนย์สอบ ดำเนินการตามนโยบายที่ สทศ.กำหนด
แต่งตั้งคณะทำงานระดับศูนย์สอบ และคณะทำงานระดับสนามสอบ ควบคุม กำกับ ติดตามให้การดำเนินการบริหารการจัดสอบ O-NET ระดับ ศูนย์สอบและสนามสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อย พิจารณาอนุมัติการเบิกจ่ายเงินจัดสรร ในการดำเนินการบริหารการทดสอบ O-NET ให้อยู่ภายใต้บัญชีแนบท้ายของสทศ. พิจารณาตรวจสอบ สั่งการ ติดตามกรณีที่เกิดปัญหาในการบริหารการจัดสอบ ทั้งระดับศูนย์สอบและระดับสนามสอบ
7
คณะทำงานประสานงานการจัดสอบ
ประสานงานการจัดสอบในด้านต่างๆ ระหว่าง สทศ.-ศูนย์สอบ-โรงเรียน จัดหาคณะกรรมการระดับสนามสอบและกรรมการคุมสอบ จัดทำคำสั่งคณะทำงานชุดต่างๆ ในระดับศูนย์สอบ ระดับสนามสอบและ ตัวแทนศูนย์สอบ เตรียมจัดการประชุมชี้แจงบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการสอบทั้งระดับ ศูนย์สอบและระดับสนามสอบ ตอบข้อซักถามและบริหารการจัดสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
8
คณะทำงานรับ-ส่ง เก็บรักษาแบบทดสอบกระดาษคำตอบ และอุปกรณ์การสอบ
จัดเตรียมห้องมั่นคงหรือสถานที่ที่มีความเหมาะสม เพื่อใช้ในการเก็บ แบบทดสอบและกระดาษคำตอบ ควบคุม ดูแล กำกับการขนส่งแบบทดสอบและกระดาษคำตอบจากศูนย์สอบ – สนามสอบ จัดเจ้าหน้าที่เพื่อดูแล รักษาและควบคุมแบบทดสอบและกระดาษคำตอบที่ เก็บรักษาไว้ศูนย์สอบ ประสานงานเรื่องการรับแบบทดสอบจาก สทศ. ตามวันและเวลาที่กำหนด
9
คณะทำงานรับ-ส่ง เก็บรักษาแบบทดสอบกระดาษคำตอบและอุปกรณ์การสอบ
หลังเสร็จสิ้นการสอบประสานงานกับสนามสอบเรื่องการรับกล่อง กระดาษคำตอบจากสนามสอบ ประสานงานเรี่องการส่งกล่องกระดาษคำตอบและเอกสารการจัดสอบ (สทศ.5, สทศ.6) ให้สทศ.
10
คณะทำงานจัดทำฐานข้อมูลโรงเรียน ข้อมูลนักเรียนและข้อมูลศูนย์สอบ
ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลศูนย์สอบ และข้อมูลโรงเรียนในระบบ O-NET ให้เป็นปัจจุบัน ประสานงานกับ สทศ. เรื่องการเพิ่มข้อมูลโรงเรียนที่มีการตั้งใหม่เข้าระบบ กำกับ ติดตามให้โรงเรียนส่งรายชื่อนักเรียนที่สิทธิ์สอบ ภายในวันที่ 31 ส.ค ดำเนินการจัดสนามสอบ ห้องสอบ ในระบบ O-NET ให้แล้วเสร็จภายใน วันที่ 30 ก.ย. 2559
11
คณะทำงานการเงิน พิจารณาเบิกจ่ายค่าตอบแทน ค่าดำเนินการต่างๆ ทั้งระดับศูนย์สอบและ สนามสอบ ตามบัญชีแนบท้าย 3 อัตราค่าใช้จ่ายในการดำเนินการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) จัดส่งใบเสร็จรับเงินให้กับ สทศ. ทันที หลังจากที่ได้รับเงินจัดสรรในแต่ละ งวดเป็นที่เรียบร้อย จัดทำรายงานสรุปค่าใช้จ่ายการจัดทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน ระดับ ศูนย์สอบ (O-NET 9)
12
ตัวแทนศูนย์สอบ ตัวแทนศูนย์สอบ ให้ศูนย์สอบพิจารณาแต่งตั้งจากบุคลากร ภายในศูนย์สอบ ครูต่างเครือข่ายหรือจากหน่วยงานอื่นๆที่มี คุณสมบัติเหมาะสม (ทั้งด้านคุณวุฒิและวัยวุฒิ มีความรับผิดชอบ ต่องานที่ได้รับมอบหมาย มีความซื่อสัตย์และเป็นผู้นำที่ดี) จำนวนตัวแทนศูนย์สอบให้ใช้อัตรา 2 คนต่อสนามสอบ
13
บทบาทหน้าที่ของตัวแทนศูนย์สอบ
1. รับ-ส่งกล่องแบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบระหว่างศูนย์สอบกับสนาม สอบ 2. กำกับการเปิดกล่องแบบทดสอบให้ตรงตามตารางสอบและเวลาที่กำหนด ร่วมกับหัวหน้าสนามสอบ และกรรมการกลาง 3. เมื่อกรรมการกลางตรวจนับกระดาษคำตอบครบถ้วนและบรรจุใส่ซองพร้อมทั้ง ปิดผนึกซองกระดาษคำตอบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้ตัวแทนศูนย์สอบเป็นผู้ที่ ทำหน้าที่ปิดเทปกาวพิเศษแบบทำลายตนเองที่ปากซองกระดาษคำตอบ พร้อมทั้งลงชื่อกำกับที่หน้าซองกระดาษคำตอบ
14
บทบาทหน้าที่ของตัวแทนศูนย์สอบ
กำกับ ดูแลการจัดสอบภายในสนามสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตาม มาตรฐานการทดสอบ กำกับการบรรจุซองกระดาษคำตอบลงกล่องทันทีหลังเสร็จสิ้นการสอบแต่ละ วิชา และปิดผนึกกล่องกระดาษคำตอบกลับด้วยเทปกาวของ สทศ. พร้อมทั้ง ให้ตัวแทนศูนย์สอบลงชื่อที่ใบปะหน้ากล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ.
15
บทบาทหน้าที่ของตัวแทนศูนย์สอบ
นำกล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับที่ปิดผนึกเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ส่งศูนย์สอบหลังจากเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละวัน ห้ามทิ้งกล่องบรรจุ ซองกระดาษคำตอบไว้ที่สนามสอบ รายงานการจัดสอบของสนามสอบให้ศูนย์สอบทราบตาม เอกสารรายงานการปฏิบัติงานของตัวแทนศูนย์สอบ
16
การโอนเงินจัดสรรให้ศูนย์สอบ
งวดที่ เดือน จำนวนเงิน 1 ภายใน 23 พฤศจิกายน 2559 30% ของงบประมาณที่จัดสรรให้ 2 ภายใน 10 มกราคม 2560 งบประมาณส่วนที่เหลือทั้งหมดร้อยละ 70 จำนวนเงินที่จัดสรร =รายวิชาสอบ(5วิชา)*จำนวนผู้มีสิทธิ์สอบ*อัตราเหมาจ่ายรายหัว ขอให้ศูนย์สอบส่งใบเสร็จรับเงินกลับคืน สทศ. ซึ่งใบเสร็จรับเงินต้องระบุจำนวนเงินให้ชัดเจนว่าได้รับเงินการจัดสอบชั้นละเท่าใดและยอดเงินเท่าใดเพื่อเป็นหลักฐานการรับเงิน
17
การบริหารการจัดสอบ ระดับสนามสอบ
การบริหารการจัดสอบ ระดับสนามสอบ ปีการศึกษา 2559
18
การแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ
เป็นประธานศูนย์เครือข่าย/ ผู้อำนวยการต่างโรงเรียน หรือผู้ที่ศูนย์สอบพิจารณาแต่งตั้งตามความเหมาะสม หัวหน้าสนามสอบ อัตรา 1 คน : 3 ห้องสอบ (หากไม่ถึง 3 ห้องสอบแต่งตั้งได้ 1 คน) กรรมการกลาง อัตรา 2 คน : 1 ห้องสอบ ต้องไม่คุมสอบนักเรียนตนเอง และทั้งสองคนต้องมาจากต่างโรงเรียนกัน กรรมการคุมสอบ อัตรา 1 คน : 5 ห้องสอบ ต้องไม่คุมสอบนักเรียนตนเอง และทั้งสองคนต้องมาจากต่างโรงเรียนกัน สำรอง
19
การแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ
ครู อาจารย์ ผู้บริหารของโรงเรียนที่เป็นสนามสอบ ทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานเรื่องอาคารสถานที่ โดยไม่ต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการสอบ เจ้าหน้าที่ประสานงานประจำสนามสอบ ครู อาจารย์โรงเรียนที่เป็นสนามสอบ เพื่อทำหน้าที่ในการประชาสัมพันธ์การสอบ โดยไม่ต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการสอบ เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ อัตรา 1 คน : 5 ห้องสอบ (ขั้นต่ำ 1 คนต่อสนามสอบ) นักการ ภารโรง
20
การแต่งตั้งบุคลากรประจำสนามสอบ
ศูนย์สอบต้องแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ ซึ่งหัวหน้าสนามสอบ กรรมการกลางและกรรมการคุมสอบ ให้ใช้สลับกลุ่มกัน (อาจสลับระหว่างกลุ่มเครือข่าย กลุ่มอำเภอ หรือ กลุ่มสนามสอบ) กรรมการกลางและกรรมการคุมสอบต้องมาจากต่างโรงเรียนและจะต้องไม่คุมสอบนักเรียนตนเอง ซึ่งบุคลากรทุกตำแหน่งในสนามสอบจะต้องเป็นบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจากประธานศูนย์สอบ การประสานงานเรื่องการแต่งตั้งบุคลากรประจำสนามสอบ โรงเรียนที่ได้เป็นสนามสอบสามารถประสานงานโดยตรงไปที่ศูนย์สอบที่รับผิดชอบ
21
การแต่งตั้งคณะทำงานระดับสนามสอบ
22
คุณสมบัติของกรรมการกลางและกรรมการคุมสอบ
ตำแหน่งกรรมการคุมสอบและกรรมการกลาง ต้องเป็นข้าราชการครูหรือบุคลากรทางการศึกษาระดับ 3 ขึ้นไปหรือเทียบเท่า หรือพนักงานประจำตั้งแต่ระดับปริญญาตรีขึ้นไป เป็นบุคลากรต่างโรงเรียน/ต่างกลุ่มเครือข่าย/ต่างอำเภอ สลับไขว้กัน 3. ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน
23
คุณสมบัติของกรรมการกลางและกรรมการคุมสอบ
4. มีความรับผิดชอบ 5. ตรงต่อเวลา 6. เก็บรักษาความลับได้เป็นอย่างดี 7. ปฏิบัติตามระเบียบและข้อกำหนดอย่างเคร่งครัด 8. มีความละเอียด ถี่ถ้วน รอบคอบและให้ความสำคัญในเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง
24
บทบาทหน้าที่ของสนามสอบ
หัวหน้าสนามสอบ/กรรมการกลาง/กรรมการคุมสอบ ต้องปฏิบัติตามแนวนโยบายที่สถาบันทดสอบฯ กำหนดไว้ใน คู่มือการจัดสอบอย่างเคร่งครัดเพื่อให้การดำเนินการในทุก สนามสอบเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ และเป็นไปตาม มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
25
บทบาทหน้าที่ของสนามสอบ (ต่อ-2)
ประสานงานกับศูนย์สอบ และดำเนินการตามนโยบายและแนว ปฏิบัติของศูนย์สอบอย่างเคร่งครัด กรอกข้อมูลห้องสอบผ่านระบบทางเว็บไซต์ ภายในเวลาที่ สทศ. กำหนด เสนอชื่อคณะกรรมการที่ทำงานในระดับสนามสอบ ให้ศูนย์สอบ พิจารณาอนุมัติแต่งตั้ง
26
บทบาทหน้าที่ของสนามสอบ (ต่อ-3)
เตรียมความพร้อมก่อนการจัดสอบ เกี่ยวกับสถานที่สอบและ ห้องสอบ การประชาสัมพันธ์การสอบ การประกาศรายชื่อและ เลขที่นั่งสอบ ดำเนินการจัดสอบภายในสนามสอบให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส มีความยุติธรรม และเป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ สทศ. กำหนด
27
บทบาทหน้าที่ของสนามสอบ (ต่อ-4)
รวบรวมกระดาษคำตอบของผู้เข้าสอบในแต่ละห้องสอบให้ ครบถ้วนไม่ให้ตกหล่นที่สนามสอบ เพื่อรักษาผลประโยชน์ให้กับ ผู้เข้าสอบ รวมทั้งส่งคืนแบบทดสอบทุกฉบับกลับคืน สทศ. ประสานงานกับศูนย์สอบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายค่าตอบแทนและ รายงานสรุปการดำเนินการจัดสอบระดับสนามสอบให้ศูนย์สอบ ทราบ
28
บทบาทหน้าที่ของสนามสอบ (ต่อ-5)
รายงานค่าสถิติจำนวนผู้เข้าสอบหลังเสร็จสิ้นการสอบในแต่ ละวิชา ผ่าน / ระบบรายงานสถิติจำนวนผู้ เข้าสอบ / ใส่ Username และ Password ของสนามสอบ
29
ข้อเน้นย้ำสำหรับปีการศึกษา 2559
30
แบบทดสอบและกระดาษคำตอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิชาภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิชาภาษาไทย ด้วยรูปแบบข้อสอบอัตนัยเป็นครั้งแรก สำหรับการสอบวิชาภาษาไทยกระดาษคำตอบจะแบ่งเป็น 2 ชุด ได้แก่ 1. กระดาษคำตอบสำหรับตอบแบบทดสอบรูปแบบปรนัย 2. กระดาษคำตอบสำหรับตอบแบบทดสอบรูปแบบอัตนัย
31
การทดสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิชาภาษาไทย จะประกอบด้วย กระดาษคำตอบสำหรับตอบแบบทดสอบรูปแบบปรนัย และกระดาษคำตอบ สำหรับตอบแบบทดสอบรูปแบบอัตนัย ขอให้กรรมการคุมสอบบรรจุ กระดาษคำตอบใส่ซองให้ถูกประเภทของกระดาษคำตอบ และปฏิบัติตามแนว ปฏิบัติที่ สทศ. กำหนด การสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิชาภาษาไทย สามารถดูรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่
32
ตัวอย่าง : กระดาษคำตอบสำหรับตอบแบบทดสอบ รูปแบบอัตนัย
ตัวอย่าง : กระดาษคำตอบสำหรับตอบแบบทดสอบ รูปแบบอัตนัย
33
2. แบบทดสอบ แบบทดสอบมีรหัสชุดข้อสอบ แตกต่างกัน 6 ชุด ในแต่ละวิชา และ สทศ. ได้จัดเรียงสลับชุดไว้ แล้ว ให้กรรมการคุมสอบแจกให้ ผู้เข้าสอบตามลำดับที่นั่งสอบเป็น รูปตัว U
34
แบบทดสอบ (ต่อ) 1. กรรมการคุมสอบ ต้องตรวจสอบว่าผู้เข้าสอบระบายและกรอกรหัสชุดข้อสอบที่ตนเองได้รับถูกต้อง 2. ห้ามกรรมการคุมสอบหรือบุคคลอื่นมีการอ่านและวิเคราะห์แบบทดสอบ 3. ขอให้กรรมการคุมสอบแจกแบบทดสอบและกระดาษคำตอบ เป็นรูปตัว U ไม่ต้องดำเนินการสลับแบบทดสอบ ด้วยตนเอง 4. กรรมการคุมสอบต้องกำกับให้ผู้เข้าสอบกรอก ข้อมูลบนปกแบบทดสอบ เพื่อเป็นหลักฐาน สำหรับการตรวจสอบ
35
3. การจัดที่นั่งสอบและการแจก-เก็บรูปตัว U
หน้าห้อง โต๊ะกรรมการ 1 1 12 13 24 25 2 11 14 23 26 3 10 15 22 27 4 9 16 21 28 5 8 17 20 29 6 7 18 19 30 โต๊ะกรรมการ 2
36
4. กระดาษคำตอบแบบลงข้อมูล
37
5. กระดาษคำตอบสำรอง
38
6. ระบายรหัสชุดข้อสอบบนกระดาษคำตอบ
กรรมการคุมสอบกำกับให้ผู้เข้าสอบระบายชุดข้อสอบที่ ได้รับให้ถูกต้องบนกระดาษคำตอบ
39
7. กรอกรหัสชุดข้อสอบบน สทศ.2
กรรมการคุมสอบกำกับให้ผู้เข้าสอบกรอกรหัสชุดข้อสอบที่ได้รับให้ถูกต้องในใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.2)
40
7. การกรอก – ระบาย รหัสชุดข้อสอบ
7. การกรอก – ระบาย รหัสชุดข้อสอบ ได้รหัสชุดข้อสอบใด ระบายและกรอกรหัสชุดข้อสอบที่ได้รับ ให้ตรงกันทั้งหมด
41
8.การบรรจุกระดาษคำตอบของผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ
ให้บรรจุในซองกระดาษคำตอบกลับสำหรับผู้เข้าสอบกรณี พิเศษ สทศ. จัดเตรียมให้เฉพาะต่างหากวิชาละ 1 ซอง หากในสนามสอบนั้นๆ ไม่มีผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ สนามสอบ ต้องส่งซองกระดาษคำตอบกลับสำหรับผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (ที่ไม่ได้ใช้) คืน สทศ. โดยให้บรรจุอยู่ในกล่องบรรจุซอง กระดาษคำตอบกลับ ( ไม่ต้องนำกระดาษคำตอบสำรองที่ไม่ได้ ใช้ใส่ในซองนี้คืน สทศ.)
42
9. การบรรจุซองกระดาษคำตอบลงกล่องปรับขนาด (กล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ.)
ให้สนามสอบบรรจุซองกระดาษคำตอบใส่กล่องปรับขนาด (กล่องสำหรับบรรจุ ซองกระดาษ คำตอบกลับ สทศ.) โดยใช้ 1 วิชาต่อ 1 กล่อง ห้ามรวมรายวิชา 1. กล่องปรับขนาด (กล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ.) คือ กระดาษรูปกากบาทที่ สทศ.จัดส่งให้ โดยสนามสอบต้องนำมาขึ้นรูปเพื่อทำเป็น กล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบ 2. การบรรจุซองกระดาษคำตอบใช้ 1 กล่องต่อรายวิชา และแยกตาม ระดับชั้น
43
9. การบรรจุซองกระดาษคำตอบลงกล่องปรับขนาด (กล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ.)
3. ใบปะหน้ากล่องกระดาษคำตอบเพื่อส่งกลับ สทศ. ได้แยกเป็นรายวิชาที่จัด สอบ สนามสอบต้องนำมาติดให้ถูกต้อง และระบุจำนวนซองกระดาษคำตอบที่ บรรจุอยู่ในกล่องให้ถูกต้อง 4. สทศ.จัดทำเทปกาวของ สทศ. เพื่อใช้ในการติดกล่องกระดาษคำตอบกลับ เพื่อส่ง สทศ. โดยจัดเตรียมไว้ 3 เส้นต่อ 1 กล่อง 5. ตัวแทนศูนย์สอบนำกล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ. ที่ ปิดผนึกเป็นที่เรียบร้อยแล้วส่งศูนย์สอบหลังจากเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละวัน ห้ามทิ้งกล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ. ไว้ที่สนามสอบ
44
เส้นที่ 1 เส้นที่ 2 เส้นที่ 3
9. การบรรจุซองกระดาษคำตอบลงกล่องปรับขนาด (กล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ.) 6. สนามสอบต้องกรอกข้อมูลบนใบปะหน้ากล่องให้ครบถ้วน และให้หัวหน้า สนามสอบลงนามให้เรียบร้อย พร้อมทั้งส่งมอบให้กับตัวแทนศูนย์สอบตรวจดู ความเรียบร้อยของกล่องและลงนามที่ใบปะหน้ากล่อง เส้นที่ 1 เส้นที่ 2 เส้นที่ 3
45
ภาพแสดง เทปกาว สทศ. สำหรับติดกล่องกระดาษคำตอบ
เส้นที่ 2 , 3 ใช้ สำหรับติดด้านข้าง ทั้งสองด้าน เส้นที่ 1 ใช้สำหรับติดด้านยาว
46
10. การรวบรวมเอกสารการจัดสอบส่ง สทศ.
ให้สนามสอบรวบรวม สทศ.5 และ สทศ.6 ใส่ซองเอกสารสีน้ำตาล นำส่งศูนย์สอบพร้อมกล่องกระดาษคำตอบ และศูนย์สอบรวบรวมซองเอกสารพร้อมกล่องกระดาษคำตอบให้กับ สทศ. ในวันที่ไปรับกระดาษคำตอบ
47
ระเบียบและข้อปฏิบัติ
48
ระเบียบการเข้าห้องสอบ
ไม่มีเลขที่นั่งสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ ไม่มีบัตรแสดงตน ไม่มีสิทธิ์สอบ ไปผิดสนามสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ ไปสายเกิน 30 นาที ไม่มีสิทธิ์สอบในวิชานั้น ห้าม นำเครื่องมืออุปกรณ์สื่อสารเข้าห้องสอบ ให้นั่งสอบจนหมดเวลา อนุญาต ให้นำนาฬิกาเข้าห้องสอบ (ต้องเป็นนาฬิกาธรรมดา ที่ใช้ดูเวลา เท่านั้น)
50
การรับ-ส่งเอกสารจัดสอบ แบบทดสอบและกระดาษคำตอบ
ระหว่าง สทศ,ศูนย์สอบ,สนามสอบ
51
1. การจัดส่งคู่มือการจัดสอบ O-NET ระดับสนามสอบและ DVD การจัดสอบ
52
2.การจัดส่งเอกสารและอุปกรณ์การจัดสอบ
ศูนย์สอบจัดส่งเอกสารและอุปกรณ์การจัดสอบให้กับสนามสอบ ซึ่งเอกสาร การจัดสอบที่ สทศ.จัดส่งไปให้นั้น แบ่งเป็น 1.เอกสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ให้กับผู้เข้าสอบ เพื่อให้ผู้เข้าสอบรวมทั้ง บุคลากรในสนามสอบได้ทราบแนวปฏิบัติและข้อห้ามต่างๆที่ไม่ควรปฏิบัติ โดยมุ่งหวังให้การสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อย โปร่งใส ยุติธรรม และ เป็นไปตามมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
53
2.การจัดส่งเอกสารและอุปกรณ์การจัดสอบ
เอกสารจัดสอบติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ เอกสารจัดสอบติดหน้าห้องสอบ บัญชีรายชื่อผู้เข้าสอบ(สำหรับติดบอร์ดประชาสัมพันธ์) บัญชีรายชื่อผู้เข้าสอบ(สำหรับติดหน้าห้องสอบ) ตารางสอบ(สำหรับติดบอร์ดประชาสัมพันธ์) ตารางสอบ(สำหรับติดหน้าห้องสอบ) ระเบียบการเข้าห้องสอบ(สำหรับติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ ขนาด A3) ระเบียบการเข้าห้องสอบ(สำหรับติดหน้าห้องสอบ ขนาด A4) สำเนาราชกิจจานุเบกษา ระเบียบสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์กรมหาชน) ว่าด้วยแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการทดสอบ พ.ศ.2557(สำหรับติดบอร์ดประชาสัมพันธ์)ขนาด A2 จำนวน 1 แผ่น/สนามสอบ แผนผังที่นั่งสอบ(สำหรับติดหน้าห้องสอบ) คำเตือนสำหรับกรรมการประจำสนามสอบและกรรมการคุมสอบ(สำหรับติดหน้าห้องสอบ) ขนาด A3 จำนวน 1แผ่น/ห้องสอบ
54
2.การจัดส่งเอกสารและอุปกรณ์การจัดสอบ
2.เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดสอบในห้องสอบและสนามสอบ เป็นเอกสารที่ใช้ในกระบวนการสอบซึ่งถือเป็นเอกสารที่มี ความสำคัญและเป็นหลักฐานเพื่อใช้ในการตรวจสอบการเข้า สอบ และเมื่อหลังเสร็จสิ้นการสอบสนามสอบต้องรวบรวมส่ง ศูนย์สอบ เพื่อจัดส่งให้ต่อไป
55
2.การจัดส่งเอกสารและอุปกรณ์การจัดสอบ
รายการเอกสาร สนามสอบส่งศูนย์สอบ ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.2) แผ่นที่ 1 สำหรับสนามสอบใช้หุ้มกระดาษคำตอบ และส่งคืนสทศ. (บรรจุอยู่ในซองกระดาษคำตอบของแต่ละห้องสอบ) แผ่นที่ 2 สำหรับสนามสอบส่งคืนศูนย์สอบ ศูนย์สอบเก็บไว้ ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (สทศ.3) แบบฟอร์มสำหรับผู้เข้าสอบปฏิบัติผิดระเบียบการสอบ(สทศ.5) แบบฟอร์มคำขอแก้ไขข้อมูล(สทศ.6) ซองกระดาษคำตอบผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ
56
2.การจัดส่งเอกสารและอุปกรณ์การจัดสอบ
3.เอกสารและแบบฟอร์มเพื่อเป็นหลักฐานระหว่าง สนามสอบกับศูนย์สอบ เป็นเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการ ทำงานในระดับสนามสอบ ซึ่งการส่งมอบเอกสารและ การจัดการเอกสารขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการของ แต่ละศูนย์สอบ
57
2.การจัดส่งเอกสารและอุปกรณ์การจัดสอบ
O-NET 1 บัญชีรับส่งแบบทดสอบและกระดาษคำตอบระหว่างหัวหน้าสนามสอบ/กรรมการกลางกับกรรมการคุมสอบ O-NET 2 บัญชีส่งจำนวนกล่องกระดาษคำตอบ และเอกสารอื่นๆจากหัวหน้าสนามสอบถึงศูนย์สอบ O-NET 5 รายงานผลการปฏิบัติงานการดำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET)ระดับสนามสอบ
58
2.การจัดส่งเอกสารและอุปกรณ์การจัดสอบ
O-NET 7 รายงานผลการปฏิบัติงานของตัวแทนศูนย์สอบประจำสนามสอบ O-NET 10 เอกสารกำกับการเปิดกล่องบรรจุแบบสดสอบและกล่องกระดาษคำตอบ O-NET 11 เอกสารกำกับการเปิดซองบรรจุแบบทดสอบสำรอง ใบสำคัญรับเงิน
59
3.การจัดส่งกล่องแบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบก่อนการสอบ
ตัวแทนศูนย์สอบนำกล่องแบบทดสอบ กล่องกระดาษคำตอบ กล่องกระดาษคำตอบสำรองและกล่องบรรจุกระดาษคำตอบ เพื่อส่งกลับ สทศ.(กล่องปรับขนาด) ไปส่งยังสนามสอบใน ตอนเช้าวันสอบ ซึ่งรายละเอียดในการขนส่งขึ้นอยู่กับการ บริหารจัดการของแต่ละศูนย์สอบ โดยคำนึงถึงความเหมาะสม ของแต่ละพื้นที่
60
หลังการสอบเสร็จสิ้น หลังจากสอบเสร็จสิ้นในแต่ละวัน ตัวแทนศูนย์สอบนำกล่องบรรจุ กระดาษคำตอบเพื่อส่งกลับ สทศ. ซองแบบทดสอบที่ตรวจนับจำนวนครบถ้วน บรรจุใส่กล่อง และเก็บไว้ที่สนามสอบหรือศูนย์สอบ จนกระทั่ง สทศ. ได้ประกาศผลสอบเป็นที่เรียบร้อย จึงอนุญาติให้ทำลาย
61
การลงลายมือชื่อที่ซองกระดาษคำตอบ
การลงลายมือชื่อที่ซองกระดาษคำตอบและใบปะหน้า กล่องกระดาษคำตอบให้หัวหน้าสนามสอบและตัวแทน ศูนย์สอบเป็นผู้ลงลายมือชื่อร่วมกัน
62
ติดต่อประสานงานการสอบ O-NET
63
ติดต่อประสานงานการสอบ O-NET
นางธนนันท์ คณะรมย์ ผอ.กลุ่มนิเทศฯ เบอร์โทรฯ (เรื่องการบริหารงานการจัดสอบ) นางสาวกานต์รวี ทองคำ ธุรการกลุ่มนิเทศฯ เบอร์โทรฯ (เรื่องการเปลี่ยนชื่อในคำสั่ง)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.