งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง

2 การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
ความหมาย วัตถุประสงค์ ประโยชน์ กระบวนการประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ ตัวอย่าง สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง

3 หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ตรวจสอบภายในภาครัฐ (CGIA)
กระบวนการตรวจสอบ ผลการประเมินความเสี่ยง แผนการ ตรวจสอบ ผลการประเมินความเสี่ยง แผนการ ปฏิบัติงาน ข้อตรวจพบ ปฏิบัติงาน ตรวจสอบ หารือ หน่วยรับตรวจ รายงานผล การตรวจสอบ ติดตามผล การตรวจสอบ หลักสูตร Fundamental วิชา การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

4 การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
ความหมาย วัตถุประสงค์ ประโยชน์ สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง

5 การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
ความหมาย ความเสี่ยง คือ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นหรืออาจจะเกิดขึ้นและส่งผลต่อ การบรรลุเป้าหมายขององค์กร เกิดความเสียหาย ผิดพลาด ฉ้อโกง สูญเปล่า หรือทำให้วัตถุประสงค์ เป้าหมายขององค์กรเบี่ยงเบนไป การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ เป็นการประเมินความเสี่ยงของส่วนราชการ เพื่อนำมาเป็นข้อมูลพิจารณาว่าควรจะตรวจสอบหน่วยงานหรือกิจกรรมใดบ้างให้เหมาะสมกับทรัพยากรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน อันจะเป็นการป้องกันความสูญเสีย/ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับส่วนราชการได้ทันท่วงที

6 การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ตรวจสอบภายในสามารถวางแผนการตรวจสอบ ได้ครอบคลุมภารกิจที่สำคัญและเป็นไปอย่างมีหลักเกณฑ์ มีประสิทธิภาพ และมีความเหมาะสมภายใต้ข้อจำกัดที่มีอยู่ ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของ การตรวจสอบ ได้แก่ วัตถุประสงค์ด้านการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ด้านการเงิน วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ

7 การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
ประโยชน์ เข้าใจในกระบวนการปฏิบัติงานของส่วนราชการ สามารถวางแผนการตรวจสอบได้ตรงกับหน่วยงาน/กิจกรรม ที่มีความเสี่ยงในระดับสูง การตรวจสอบภายในมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามมาตรฐาน การตรวจสอบภายในของส่วนราชการ มีการประสานงานความร่วมมือและความเข้าใจอันดีระหว่าง ผู้ตรวจสอบและผู้รับตรวจ

8 กระบวนการประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ

9 กำหนดปัจจัย/เกณฑ์ ความเสี่ยง (Risk Model)
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ กระบวนการ กำหนดผู้รับตรวจ ศึกษา/รวบรวม ข้อมูล กำหนดปัจจัย/เกณฑ์ ความเสี่ยง (Risk Model) ข้อมูลของ ส่วนราชการ ประเมินความเสี่ยง ข้อมูลจัดทำ แผนการตรวจสอบ

10 ศึกษาและรวบรวมข้อมูล
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ศึกษาและรวบรวมข้อมูล ข้อมูลภาพรวมขององค์กร เช่น โครงสร้างองค์กร สายการบังคับบัญชา หน้าที่ความรับผิดชอบ งบประมาณ แผนกลยุทธ์ (วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ แผนงาน งาน/โครงการ) การบริหารความเสี่ยง เป็นต้น ข้อมูลของหน่วยงาน/กิจกรรม เช่น โครงสร้างและหน้าที่ความรับผิดชอบ ของหน่วยงาน ความรู้ความสามารถของบุคลากร วัตถุประสงค์ เป้าหมาย งบประมาณและรายละเอียดกิจกรรมหรือขั้นตอนการปฏิบัติงาน กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง ระบบการ ควบคุมภายใน ผลการดำเนินงาน ผลการตรวจสอบ ผลการประเมินระบบ การควบคุมภายใน เป็นต้น ข้อมูลอื่นๆ เช่น นโยบายของรัฐบาล นโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นต้น

11 การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
กำหนดผู้รับตรวจ หน่วยงาน : หน่วยงานในแต่ละส่วนราชการ เช่น สำนัก กอง ศูนย์ สำนักงาน ส่วนกลาง - หน่วยงานที่รับผิดชอบภารกิจหลัก - หน่วยงานที่รับผิดชอบภารกิจสนับสนุน ส่วนภูมิภาค กิจกรรม : ภารกิจที่หน่วยงานต้องปฏิบัติ หรืองานตามความรับผิดชอบ ภายในหน่วยงานนั้นๆ เช่น ระบบงาน แผนงาน งาน โครงการ กิจกรรมหลัก งานวิชาการ กิจกรรมรอง งานอำนวยการ

12 กำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ กำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง ระบุสาเหตุที่ทำให้การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด 1. ระบุปัจจัยเสี่ยง 2. วิเคราะห์ ความเสี่ยง การประเมินระดับความมีนัยสำคัญของความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน/กิจกรรม โดยพิจารณาโอกาสและผลกระทบที่จะเกิดจากความเสี่ยงนั้น

13 การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
ระบุปัจจัยเสี่ยง โดยพิจารณาการบริหารจัดการ องค์กรใน 5 ด้าน ด้านกลยุทธ์ ด้านการดำเนินงานหรือการปฏิบัติงาน ด้านการบริหารความรู้ ด้านการเงิน ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ เทคนิคการระบุปัจจัยเสี่ยง * การระดมความคิด * การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ * จัดทำแบบสอบถาม * การสัมภาษณ์ * การศึกษาวิเคราะห์รายการ/ข้อมูลหน่วยงานอื่น * การศึกษาข้อมูลจากผลการตรวจสอบ

14 ตัวอย่างปัจจัยเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ตัวอย่างปัจจัยเสี่ยง ด้าน ปัจจัยเสี่ยง - นโยบายผู้บริหาร นโยบายเกี่ยวกับจรรยาบรรณ - แผนกลยุทธ์ การบริหารทรัพยากรบุคคล - โครงสร้างองค์กร - ระบบการควบคุมภายใน - การมอบหมายงาน - กระบวนการและวิธีการทำงาน - ระบบการสื่อสาร - การกระจายสถานที่ ขนาดและจำนวนหน่วยงาน - แผน-ผลการปฏิบัติงาน - การตรวจสอบของ สตง./ผสน. - ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ - ค่าสาธารณูปโภค - การซ่อมบำรุงทรัพย์สิน - ความรู้ความสามารถของผู้บริหาร การพัฒนาบุคลากร - การจัดการฐานข้อมูลสนับสนุนการดำเนินงาน - รายงานทางการเงิน - งบประมาณ - กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ กลยุทธ์ (Strategic : S) การปฏิบัติตามข้อกำหนด (Compliance : C) การเงิน (Financial : F) การบริหารความรู้ (Knowledge : K) การปฏิบัติงาน (Operation : O)

15 ตัวอย่างปัจจัยเสี่ยง (ต่อ)
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ตัวอย่างปัจจัยเสี่ยง (ต่อ) ความสามารถของผู้บริหาร การเปลี่ยนแปลงระบบงานที่ผ่านมาไม่นาน การเปลี่ยนตัวบุคลากรที่สำคัญ การขยายขอบเขตของการใช้คอมพิวเตอร์ของหน่วยงาน สภาพการแข่งขัน การยอมรับผลการตรวจสอบ ผลการประเมินจากหน่วยงานอื่น

16 การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
วิเคราะห์ความเสี่ยง พิจารณาโอกาสและผลกระทบ ของความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ความรุนแรง ของผลกระทบ โอกาสที่จะเกิดขึ้น 1 - เกิดน้อยมาก 2 - เกิดขึ้นน้อย 3 - เกิดขึ้นบ้าง 4 - เกิดบ่อยครั้ง 5 - เกิดประจำ 5 - รุนแรงมาก 4 - รุนแรง 3 - ปานกลาง 2 - น้อย 1 - น้อยมาก H E M L น้ อ ย ม า ก

17 เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ความเสี่ยง การใช้วิธีทางสถิติ การใช้หลักเกณฑ์การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน ( MATRIX) การอาศัยหลักทางคณิตศาสตร์ การวิเคราะห์เปรียบเทียบ (BENCHMARK ) การกำหนดตัวชี้วัดความเสี่ยงจากระยะเวลาที่เกิดเหตุการณ์ ฯลฯ

18 การจัดทำปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ การจัดทำปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง (Risk Model) เป็นการสร้างแบบจำลองที่นำมาใช้ช่วยในการประเมินความเสี่ยง ให้สามารถตัดสินใจอย่างมีเหตุผล ซึ่งควรกำหนดให้สอดคล้องในการ กำหนดระดับความเสี่ยงการดำเนินงานในแต่ละองค์กร - กำหนด Risk Model ชุดเดียวเพื่อให้เกิดบรรทัดฐานในการกำหนด คะแนนความเสี่ยงของทุกหน่วยงาน/กิจกรรม/กระบวนการ - Risk Model ที่กำหนดควรได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารระดับสูง - ควรกำหนดให้ครอบคลุมความเสี่ยงที่สำคัญ ๆ

19 กำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ กำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง (Risk Model) ปัจจัยเสี่ยง A B C เกณฑ์ความเสี่ยง ต่ำ สูง ปานกลาง L M H

20 ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 แผน-ผลการปฏิบัติงาน (S) - การปรับแผนการปฏิบัติงาน มีการปรับแผนการปฏิบัติงาน ไม่เกิน 1 ครั้ง/ปี มีการปรับแผนการปฏิบัติงาน เท่ากับ ครั้ง/ปี มีการปรับแผนการปฏิบัติงาน เกินกว่า 3 ครั้ง/ปี - ผลสำเร็จของงานตามแผน % % ต่ำกว่า 60% แผน-ผลการปฏิบัติงาน (S)

21 ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 การบริหารทรัพยากรบุคคล (S) - กรอบอัตรากำลังและจำนวนที่มีอยู่จริง อัตรากำลังที่มีอยู่จริงไม่ต่ำกว่า 90% ของกรอบ อัตรากำลังที่มีอยู่จริงอยู่ระหว่าง 90% - 80% ของกรอบ อัตรากำลังที่มีอยู่จริงต่ำกว่า 80% ของกรอบ - การประเมินผลงาน มีการกำหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลชัดเจนและประกาศและเผยแพร่ให้บุคลากรทุกคนทราบ และถือปฏิบัติตามที่กำหนด มีการกำหนดหลักเกณฑ์การประเมินผล แต่ไม่ได้ประกาศหรือเผยแพร่ให้ทราบทั่วกัน และการปฏิบัติยังไม่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ ไม่มีหลักเกณฑ์ การประเมินผล การบริหารทรัพยากรบุคคล (S)

22 ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 ระบบการควบคุมภายใน - การวางระบบการ ควบคุมภายใน มีในทุกกิจกรรมหลัก และจัดทำเป็นเอกสารเผยแพร่ให้บุคลากร ทุกระดับถือปฏิบัติ มีในทุกกิจกรรมหลัก และจัดทำเป็นเอกสาร แต่เผยแพร่ให้บุคลากรถือปฏิบัติยังไม่เพียงพอ มี แต่ไม่ครบทุกกิจกรรมหลัก และจัดทำเป็นเอกสาร แต่เผยแพร่ให้บุคลากรถือปฏิบัติยังไม่เพียงพอ - ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ดี ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ต่ำ-อ่อน ระบบการควบคุม ภายใน (O)

23 ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 ขนาดของสินทรัพย์ (O) - มูลค่าสินทรัพย์ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ไม่เกิน 15% ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของ ส่วนราชการ อยู่ระหว่าง % ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของส่วนราชการ เกิน 30% ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของ ส่วนราชการ - มูลค่าการซ่อมบำรุง ไม่เกิน 20% ของมูลค่าทรัพย์สินที่อยู่ในความรับผิดชอบ อยู่ระหว่าง % ของมูลค่าทรัพย์สินที่อยู่ในความรับผิดชอบ เกิน 40% ของมูลค่าทรัพย์สินที่อยู่ในความรับผิดชอบ ขนาดของสินทรัพย์ (O)

24 ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 การตรวจสอบของ สตง. /ผู้ตรวจสอบภายใน (O) - เวลาตรวจสอบครั้ง สุดท้าย 1 – 6 เดือน 7 – 12 เดือน มากกว่า 1 ปี - ผลการตรวจสอบครั้งสุดท้าย ข้อตรวจพบไม่ใช่ ข้อผิดพลาดที่เป็นสาระสำคัญ ข้อตรวจพบเป็น ข้อผิดพลาดที่เป็นสาระสำคัญพอควร แต่ไม่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงาน และ ได้รับการแก้ไข ในระยะเวลารวดเร็ว ข้อตรวจพบเป็น ข้อผิดพลาดที่เป็นสาระสำคัญ แต่ไม่ส่งผลกระทบต่อ การดำเนินงาน และ ไม่สามารถแก้ไข ในระยะเวลาอันสั้น การตรวจสอบของ สตง. /ผู้ตรวจสอบภายใน (O)

25 ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 ความรู้ความสามารถของผู้บริหาร (K) - ความรู้และประสบ-การณ์ มีคุณวุฒิเหมาะสมกับตำแหน่งและมีประสบ-การณ์ในหน่วยงานหรือกิจกรรมนั้นมากกว่า 3 ปี หรือคุณวุฒิไม่ตรงแต่มีประสบการณ์มากกว่า 5 ปี มีคุณวุฒิเหมาะสมกับตำแหน่งและมีประสบ-การณ์ในหน่วยงานหรือ กิจกรรมนั้นน้อยกว่า ปี แต่ไม่ต่ำกว่า 1 ปี หรือคุณวุฒิไม่ตรงแต่มีประสบการณ์มากกว่า 3 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี มีคุณวุฒิไม่เหมาะสมหรือไม่ตรงกับตำแหน่ง หรือมีประสบการณ์ ในหน่วยงานหรือ กิจกรรมนั้นน้อยกว่า ปี - การพัฒนาตนเอง มีการอบรม/สัมมนา เกี่ยวกับงานในหน้าที่อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ 5 ปี มีการอบรม/สัมมนาเกี่ยวกับงานในหน้าที่อย่างน้อย 2 ครั้งต่อ 5ปี มีการอบรม/สัมมนาเกี่ยวกับงานในหน้าที่อย่างน้อย 1 ครั้งต่อ 5ปี ความรู้ความสามารถของผู้บริหาร (K)

26 ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 การพัฒนาบุคลากร ( - การบริหารความรู้ บุคลากรได้รับการฝึกอบรม/สัมมนา > 30% ของจำนวนบุคลากรในหน่วยงาน/ปี บุคลากรได้รับการฝึกอบรม/สัมมนา >10% < 30% ของจำนวนบุคลากรในหน่วยงาน/ปี บุคลากรได้รับการฝึกอบรม/สัมมนา <10% ของจำนวนบุคลากรในหน่วยงาน/ปี การพัฒนาบุคลากร (K)

27 ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 งบประมาณ (F) - จำนวนเงินงบประมาณ ต่ำกว่า 10% ของเงินงบประมาณทั้งหมด ตั้งแต่ 10% - 30% ของเงินงบประมาณทั้งหมด สูงกว่า 30% ของเงิน งบประมาณทั้งหมด - จำนวนเงินนอกงบประมาณ ต่ำกว่า 10% ของ เงินนอกงบประมาณ ทั้งหมด ตั้งแต่ 10% - 30% ของเงินนอกงบประมาณ ทั้งหมด สูงกว่า 30% ของ เงินนอกงบประมาณ ทั้งหมด - จำนวนรายจ่าย ต่ำกว่า 10% ของ งบประมาณรายจ่าย ตั้งแต่ 10% - 30% ของงบประมาณรายจ่าย สูงกว่า 30% ของ งบประมาณรายจ่าย - จำนวนรายได้ ต่ำกว่า 10% ของเงินรายได้ทุกประเภทหรือเฉพาะรายได้หลัก ตั้งแต่ 10% - 30% ของเงินรายได้ทุกประเภทหรือเฉพาะรายได้หลัก สูงกว่า 30% ของเงินรายได้ทุกประเภทหรือเฉพาะรายได้หลัก งบประมาณ (F)

28 ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 งบประมาณ (ต่อ) - จำนวนเงินประมาณการรายรับเทียบกับ รายรับจริง ต่ำกว่าประมาณการ น้อยกว่า 10% ต่ำกว่าประมาณการ เท่ากับ 10% - 30% ต่ำกว่าประมาณการ สูงกว่า 30% - จำนวนเงินประมาณการรายจ่ายเทียบกับรายจ่ายจริง สูงกว่าประมาณการ ไม่เกิน 10% สูงกว่าประมาณการ เท่ากับ 10% - 30% สูงกว่าประมาณการ เกินกว่า 30% - จำนวนครั้งของการปรับแผนรายได้ ไม่เกิน 3 ครั้ง เท่ากับ 3 – 5 ครั้ง เกินกว่า 5 ครั้ง - จำนวนครั้งของการปรับแผนรายจ่าย งบประมาณ (F)

29 ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ตัวอย่างกำหนดปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ (C) - กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ กฎเกณฑ์การปฏิบัติงานในหน่วยงาน/ กิจกรรม มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ กฎเกณฑ์การปฏิบัติงานที่ชัดเจนทุกกิจกรรม มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ กฎเกณฑ์ การปฏิบัติงานเฉพาะบางกิจกรรม ไม่มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ กฎเกณฑ์ การปฏิบัติงาน - ข้อทักท้วงการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑ์ภายใน ถูกทักท้วงจาก หน่วยงานที่ทำหน้าที่ตรวจสอบ ไม่เกิน 2 ครั้ง/ปี ถูกทักท้วงจาก หน่วยงานที่ทำหน้าที่ตรวจสอบ ไม่เกิน 3 ครั้ง/ปี ถูกทักท้วงจาก หน่วยงานที่ทำหน้าที่ตรวจสอบ เกินกว่า 3 ครั้ง/ปี กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ (C)

30 การประเมินความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ การประเมินความเสี่ยง วิเคราะห์ความเสี่ยง วิเคราะห์ข้อมูลจริงเปรียบเทียบกับ Risk Model กลยุทธ์ (Strategic:S) การปฏิบัติงาน (Operation:O) การบริหารความรู้ (Knowledge:K) การเงิน (Financial:F) การปฏิบัติตามข้อกำหนด (Compliance:C) ระบุ (เลือก) ปัจจัยเสี่ยง จัดลำดับความเสี่ยง เรียงคะแนนความเสี่ยง จากสูงไปต่ำ ข้อมูลจัดทำ แผนการตรวจสอบ

31 ระบุ (เลือก) ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ระบุ (เลือก) ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยง ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 1. แผน-ผลการปฏิบัติงาน 2. ระบบการควบคุมภายใน 3. การพัฒนาบุคลากร 4. งบประมาณ 5. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ………. ………. ……….

32 การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
วิเคราะห์ความเสี่ยง ปัจจัยและเกณฑ์ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 2. ระบบการควบคุมภายใน มีในทุกภารกิจ/กิจกรรมหลัก และจัดทำเป็นเอกสารเผยแพร่ให้บุคลากรทุกระดับถือปฏิบัติ มีในทุกภารกิจ/กิจกรรมหลัก และจัดทำเป็นเอกสาร แต่เผยแพร่ให้บุคลากรถือปฏิบัติยังไม่เพียงพอ มี แต่ไม่ครบทุกภารกิจ /กิจกรรม และมีการประชาสัมพันธ์ไม่เพียงพอ หน่วยงาน ระบบการควบคุมภายใน A 3 B 1 C 2 D E วิเคราะห์ ความเสี่ยง สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง

33 การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
วิเคราะห์ความเสี่ยง หน่วยงาน/ กิจกรรม A B C D E คะแนนความเสี่ยง ปัจจัย เสี่ยงที่ 1 2 3 1 เฉลี่ย เสี่ยงที่ 5 เสี่ยงที่ 4 เสี่ยงที่ 3 เสี่ยงที่ 2 2.0 2.4 2.2 2.6 1.8

34 การจัดลำดับความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ การจัดลำดับความเสี่ยง สูง 2.4 2.2 2.0 ต่ำ D B C A E คะแนนความเสี่ยง หน่วยงาน/กิจกรรม

35 ตัวอย่าง

36 การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
โจทย์ กรม AA มีหน่วยงานในสังกัดทั้งหมดดังนี้ - สำนัก มีกิจกรรม จำนวน กิจกรรม - สำนัก มีกิจกรรม จำนวน กิจกรรม - กอง มีกิจกรรม จำนวน กิจกรรม - กอง มีกิจกรรม จำนวน กิจกรรม - กลุ่มงาน มีกิจกรรม จำนวน กิจกรรม - กลุ่มงาน มีกิจกรรม จำนวน กิจกรรม - ศูนย์ มีกิจกรรม จำนวน กิจกรรม - สำนักงาน มีกิจกรรม จำนวน กิจกรรม สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง

37 โจทย์ (ต่อ) ข้อสมมติ ผู้ตรวจสอบได้ข้อมูลจากการสอบทานวัตถุประสงค์ในระดับกิจกรรมต่างๆ ภายในส่วนราชการ ผู้ตรวจสอบได้รวบรวมปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง ซึ่งได้คัดเลือกมา 7 ปัจจัย

38 กระบวนการประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
ระบุปัจจัยเสี่ยง และเกณฑ์ความเสี่ยง 1 ปัจจัยเสี่ยง ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 วิเคราะห์ความเสี่ยง 2 หน่วยงาน/ กิจกรรม ปัจจัย เสี่ยง 1 เสี่ยง 2 เสี่ยง 3 เสี่ยง 4 เสี่ยง 5 คะแนนความเสี่ยง จัดลำดับความเสี่ยง 3 หน่วยงาน/กิจกรรม คะแนนความเสี่ยง (เรียงจากสูงไปต่ำ)

39 ตารางปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 1. การบริหารทรัพยากรบุคคล (S) - กรอบอัตรากำลังกับจำนวนที่มีอยู่จริง - ความรู้ ความสามารถ - อัตรากำลังที่มีอยู่จริงไม่ต่ำกว่า 90% ของกรอบ - มีคุณวุฒิตรงกับตำแหน่ง > 80% ของบุคลากรในหน่วยงาน - อัตรากำลังที่มีอยู่จริงอยู่ระหว่าง 90% - 80% ของกรอบ - มีคุณวุฒิตรงกับตำแหน่ง > 50 % < 80% ของบุคลากรในหน่วยงาน - อัตรากำลังที่มีอยู่จริงต่ำกว่า 80% ของกรอบ - มีคุณวุฒิตรงกับตำแหน่ง < 50% ของบุคลากรในหน่วยงาน 2. ระบบการควบคุมภายใน (O) - การวางระบบการควบคุมภายใน - ผลการประเมินการควบคุมภายใน - มีในทุกกิจกรรมหลัก และจัดทำเป็นเอกสารเผยแพร่ให้บุคลากรทุกระดับถือปฏิบัติ - ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ดี - มีในทุกกิจกรรมหลัก และจัดทำเป็นเอกสาร แต่เผยแพร่ให้บุคลากรถือปฏิบัติยังไม่เพียงพอ - ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง - มี แต่ไม่ครบทุกกิจกรรมหลัก และจัดทำเป็นเอกสาร แต่เผยแพร่ให้บุคลากรถือปฏิบัติยังไม่เพียงพอ - ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ต่ำ-อ่อน 3. กระบวนการและวิธีการทำงาน (O) - ขั้นตอนของกิจกรรม - คู่มือการปฏิบัติงาน - กระบวนการที่ต้องใช้เทคโนโลยี - การปฏิบัติงานล่วงหน้า - ดำเนินการเบ็ดเสร็จภายในหน่วยงานเดียว - มีครอบคลุมกิจกรรมที่สำคัญและยังใช้ในการปฏิบัติงาน - มีไม่เกิน 20% ของกระบวนการ ทั้งหมด - ไม่มีหรือไม่เกิน 5% ของ วันปฏิบัติงาน /ปี - ดำเนินการผ่านหน่วยงานอื่น ไม่เกิน 1 หน่วยงาน - มีไม่ครอบคลุมกิจกรรมที่สำคัญ และยังใช้ในการปฏิบัติงาน - มีไม่เกิน 60% ของกระบวนการ ทั้งหมด - มีไม่เกิน 20% ของ วันปฏิบัติงาน /ปี - ดำเนินการผ่านหน่วยงานอื่น มากกว่า 1 หน่วยงานหรือหน่วยงานภายนอก - ไม่มี หรือมีแต่ไม่เป็นปัจจุบัน/ ไม่ใช้ในการปฏิบัติงาน - มีมากกว่า 60% ของกระบวนการ ทั้งหมด - มีเกินกว่า 20% ของ วันปฏิบัติงาน /ปี

40 ตารางปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยง
ต่ำ = 1 ปานกลาง = 2 สูง = 3 4. แผน-ผลการปฏิบัติงาน (O) - จำนวนครั้งของการปรับแผนการปฏิบัติงาน - ผลสำเร็จของงานตามแผนการปฏิบัติงาน - มีการปรับแผนการปฏิบัติงาน ไม่เกิน 1 ครั้ง/ปี – 80% - มีการปรับแผนการปฏิบัติงาน เท่ากับ ครั้ง/ปี % - มีการปรับแผนการปฏิบัติงาน เกินกว่า 3 ครั้ง/ปี - ต่ำกว่า 60% 5. การจัดการฐานข้อมูลสนับสนุนการดำเนินงาน (K) - ระบบการจัดเก็บ - มีการจัดเก็บข้อมูลเป็นระบบและ มีเครื่องมือช่วยในการจัดเก็บ - มีการจัดเก็บข้อมูลในระบบ Manual - ไม่มีระบบการจัดเก็บข้อมูล 6. งบประมาณ (F) โดยใช้จำนวนเงินงบประมาณเฉลี่ย 3 ปี ** - จำนวนเงินงบประมาณ - มีจำนวนเงินงบประมาณ 421,000 – 785,000 บาท - มีจำนวนเงินงบประมาณ 785,000 – 1,149,000 บาท - มีจำนวนเงินงบประมาณ 1,149,000 – 1,513,000 บาท 7. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ (C) - ข้อทักท้วงการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑ์ภายใน - ถูกทักท้วงจากหน่วยงานที่ทำ หน้าที่ตรวจสอบ ไม่เกิน 2 ครั้ง/ปี - ถูกทักท้วงจากหน่วยงานที่ทำ หน้าที่ตรวจสอบ ไม่เกิน 3 ครั้ง/ปี - ถูกทักท้วงจากหน่วยงานที่ทำ หน้าที่ตรวจสอบ เกินกว่า 3 ครั้ง/ปี หมายเหตุ ** การแบ่งคะแนนความเสี่ยง คำนวณจาก ค่าพิสัย = (ค่าสูงสุด – ค่าต่ำสุด)/3 = (1,513,000 – 421,000)/3 = 364,000 งบประมาณ 421,000 – 785,000 785,000 – 1,149,000 1,149,000 – 1,513,000 คะแนนความเสี่ยง 1 2 3

41 กรอบอัตรากำลังกับ จำนวนที่มีอยู่จริง ค่าเฉลี่ย คะแนนความเสี่ยง
การวิเคราะห์ความเสี่ยง  การบริการทรัพยากรบุคคล ที่ หน่วยงาน/กิจกรรม กรอบอัตรากำลังกับ จำนวนที่มีอยู่จริง ความรู้ ความสามารถ ค่าเฉลี่ย คะแนนความเสี่ยง 1 สำนัก 1 กิจกรรม 1 2 1.5 สำนัก 1 กิจกรรม 2 3 สำนัก 1 กิจกรรม 3 4 สำนัก 2 กิจกรรม 1 5 สำนัก 2 กิจกรรม 2 6 กอง 1 กิจกรรม 1 7 กอง 1 กิจกรรม 2 8 กอง 2 กิจกรรม 1 9 กอง 2 กิจกรรม 2 10 กอง 2 กิจกรรม 3 11 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 1 12 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 2 13 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 1 14 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 2 2.5 15 ศูนย์ กิจกรรม 1 16 ศูนย์ กิจกรรม 2 17 สำนักงาน กิจกรรม 1 18 สำนักงาน กิจกรรม 2 19 สำนักงาน กิจกรรม 3

42 ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ค่าเฉลี่ย คะแนนความเสี่ยง
การวิเคราะห์ความเสี่ยง  ระบบการควบคุมภายใน ที่ หน่วยงาน/กิจกรรม การวางระบบ การควบคุมภายใน ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ค่าเฉลี่ย คะแนนความเสี่ยง 1 สำนัก 1 กิจกรรม 1 2 สำนัก 1 กิจกรรม 2 3 สำนัก 1 กิจกรรม 3 1.5 4 สำนัก 2 กิจกรรม 1 5 สำนัก 2 กิจกรรม 2 6 กอง 1 กิจกรรม 1 7 กอง 1 กิจกรรม 2 8 กอง 2 กิจกรรม 1 9 กอง 2 กิจกรรม 2 10 กอง 2 กิจกรรม 3 11 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 1 12 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 2 2.5 13 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 1 14 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 2 15 ศูนย์ กิจกรรม 1 16 ศูนย์ กิจกรรม 2 17 สำนักงาน กิจกรรม 1 18 สำนักงาน กิจกรรม 2 19 สำนักงาน กิจกรรม 3

43 การปฏิบัติงานล่วงหน้า ค่าเฉลี่ย คะแนนความเสี่ยง
การวิเคราะห์ความเสี่ยง  กระบวนการและวิธีการทำงาน ที่ หน่วยงาน/กิจกรรม ขั้นตอนของ กิจกรรม คู่มือ การปฏิบัติงาน กระบวนการ ที่ต้องใช้เทคโนโลยี การปฏิบัติงานล่วงหน้า ค่าเฉลี่ย คะแนนความเสี่ยง 1 สำนัก 1 กิจกรรม 1 3 2 2.25 สำนัก 1 กิจกรรม 2 สำนัก 1 กิจกรรม 3 1.5 4 สำนัก 2 กิจกรรม 1 5 สำนัก 2 กิจกรรม 2 6 กอง 1 กิจกรรม 1 7 กอง 1 กิจกรรม 2 8 กอง 2 กิจกรรม 1 9 กอง 2 กิจกรรม 2 1.75 10 กอง 2 กิจกรรม 3 11 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 1 12 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 2 13 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 1 14 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 2 15 ศูนย์ กิจกรรม 1 16 ศูนย์ กิจกรรม 2 17 สำนักงาน กิจกรรม 1 18 สำนักงาน กิจกรรม 2 19 สำนักงาน กิจกรรม 3

44 การวิเคราะห์ความเสี่ยง  แผน-ผลการปฏิบัติงาน
ที่ หน่วยงาน/กิจกรรม จำนวนครั้งของการปรับแผนการปฏิบัติงาน ผลสำเร็จของงานตามแผนการปฏิบัติงาน ค่าเฉลี่ย คะแนนความเสี่ยง 1 สำนัก 1 กิจกรรม 1 3 2 สำนัก 1 กิจกรรม 2 2.5 สำนัก 1 กิจกรรม 3 4 สำนัก 2 กิจกรรม 1 5 สำนัก 2 กิจกรรม 2 1.5 6 กอง 1 กิจกรรม 1 7 กอง 1 กิจกรรม 2 8 กอง 2 กิจกรรม 1 9 กอง 2 กิจกรรม 2 10 กอง 2 กิจกรรม 3 11 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 1 12 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 2 13 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 1 14 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 2 15 ศูนย์ กิจกรรม 1 16 ศูนย์ กิจกรรม 2 17 สำนักงาน กิจกรรม 1 18 สำนักงาน กิจกรรม 2 19 สำนักงาน กิจกรรม 3

45 ค่าเฉลี่ย คะแนนความเสี่ยง
การวิเคราะห์ความเสี่ยง  การจัดการฐานข้อมูลสนับสนุนการดำเนินงาน ที่ หน่วยงาน/กิจกรรม ระบบการจัดเก็บ ค่าเฉลี่ย คะแนนความเสี่ยง 1 สำนัก 1 กิจกรรม 1 3 2 สำนัก 1 กิจกรรม 2 สำนัก 1 กิจกรรม 3 4 สำนัก 2 กิจกรรม 1 5 สำนัก 2 กิจกรรม 2 6 กอง 1 กิจกรรม 1 7 กอง 1 กิจกรรม 2 8 กอง 2 กิจกรรม 1 9 กอง 2 กิจกรรม 2 10 กอง 2 กิจกรรม 3 11 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 1 12 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 2 13 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 1 14 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 2 15 ศูนย์ กิจกรรม 1 16 ศูนย์ กิจกรรม 2 17 สำนักงาน กิจกรรม 1 18 สำนักงาน กิจกรรม 2 19 สำนักงาน กิจกรรม 3

46 ค่าเฉลี่ย คะแนนความเสี่ยง
การวิเคราะห์ความเสี่ยง  งบประมาณ ที่ หน่วยงาน/กิจกรรม จำนวนเงินงบประมาณ เฉลี่ย 3 ปี ค่าเฉลี่ย คะแนนความเสี่ยง 1 สำนัก 1 กิจกรรม 1 599,000 2 สำนัก 1 กิจกรรม 2 593,000 3 สำนัก 1 กิจกรรม 3 859,000 4 สำนัก 2 กิจกรรม 1 771,333.33 5 สำนัก 2 กิจกรรม 2 657,333.33 6 กอง 1 กิจกรรม 1 744,333.33 7 กอง 1 กิจกรรม 2 1,494,000 8 กอง 2 กิจกรรม 1 1,194,000 9 กอง 2 กิจกรรม 2 992,533.33 10 กอง 2 กิจกรรม 3 857,333.33 11 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 1 1,249,333.33 12 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 2 1,283,000 13 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 1 1,290,000 14 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 2 1,298,000 15 ศูนย์ กิจกรรม 1 421,000 16 ศูนย์ กิจกรรม 2 1,083,000 17 สำนักงาน กิจกรรม 1 810,333.33 18 สำนักงาน กิจกรรม 2 890,000 19 สำนักงาน กิจกรรม 3 1,513,000

47 การวิเคราะห์ความเสี่ยง  กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
ที่ หน่วยงาน/กิจกรรม ข้อทักท้วงการปฏิบัติตาม กฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑ์ภายใน ค่าเฉลี่ย คะแนนความเสี่ยง 1 สำนัก 1 กิจกรรม 1 3 2 สำนัก 1 กิจกรรม 2 สำนัก 1 กิจกรรม 3 4 สำนัก 2 กิจกรรม 1 5 สำนัก 2 กิจกรรม 2 6 กอง 1 กิจกรรม 1 7 กอง 1 กิจกรรม 2 8 กอง 2 กิจกรรม 1 9 กอง 2 กิจกรรม 2 10 กอง 2 กิจกรรม 3 11 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 1 12 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 2 13 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 1 14 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 2 15 ศูนย์ กิจกรรม 1 16 ศูนย์ กิจกรรม 2 17 สำนักงาน กิจกรรม 1 18 สำนักงาน กิจกรรม 2 19 สำนักงาน กิจกรรม 3

48 การบริหารทรัพยากรบุคคล กระบวนการ/วิธีการทำงาน กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
ตารางสรุปผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง หน่วยงาน/กิจกรรม OPERATION FINANCE COMPLIANDE ค่าเฉลี่ย คะแนน ความเสี่ยง ด้าน กลยุทธ์ ด้านการดำเนินงาน ด้านบริหารความรู้ ค่าเฉลี่ย ด้านการเงิน ด้านกฎหมายฯ การบริหารทรัพยากรบุคคล ระบบ ควบคุมภายใน กระบวนการ/วิธีการทำงาน แผน-ผล การปฏิบัติงาน การจัดการฐานข้อมูลฯ งบประมาณ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ สำนัก 1 กิจกรรม 1 1.5 1 2.25 3 2.15 2.05 สำนัก 1 กิจกรรม 2 2.5 1.95 2 1.65 สำนัก 1 กิจกรรม 3 1.30 1.43 สำนัก 2 กิจกรรม 1 1.60 1.20 สำนัก 2 กิจกรรม 2 1.55 กอง 1 กิจกรรม 1 1.70 1.57 กอง 1 กิจกรรม 2 1.80 1.93 กอง 2 กิจกรรม 1 2.60 กอง 2 กิจกรรม 2 1.75 2.08 กอง 2 กิจกรรม 3 2.20 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 1 1.85 2.62 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 2 2.68 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 1 2.72 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 2 2.45 2.48 ศูนย์ กิจกรรม 1 ศูนย์ กิจกรรม 2 1.35 1.12 สำนักงาน กิจกรรม 1 1.23 สำนักงาน กิจกรรม 2 1.98 สำนักงาน กิจกรรม 3 1.50 1.17

49 ตารางจัดลำดับความเสี่ยง
หน่วยงาน/กิจกรรม คะแนนความเสี่ยง กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 1 2.72 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 2 2.68 กลุ่มงาน 1 กิจกรรม 1 2.62 กอง 2 กิจกรรม 1 2.60 กลุ่มงาน 2 กิจกรรม 2 2.48 กอง 2 กิจกรรม 3 2.20 กอง 2 กิจกรรม 2 2.08 สำนัก 1 กิจกรรม 1 2.05 สำนักงาน กิจกรรม 2 1.98 กอง 1 กิจกรรม 2 1.93 สำนัก 1 กิจกรรม 2 1.65 ศูนย์ กิจกรรม 1 กอง 1 กิจกรรม 1 1.57 สำนัก 2 กิจกรรม 2 1.55 สำนัก 1 กิจกรรม 3 1.43 สำนักงาน กิจกรรม 1 1.23 สำนัก 2 กิจกรรม 1 1.20 สำนักงาน กิจกรรม 3 1.17 ศูนย์ กิจกรรม 2 1.12

50 การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
ขอบคุณและสวัสดี สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง


ดาวน์โหลด ppt การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google