ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดย野 秋 ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
แผนการลดและเลิกใช้สาร HCFCs ของประเทศไทย สำหรับผู้นำเข้าสาร HCFCs
สำนักสนธิสัญญาและยุทธศาสตร์ (Treaties and International Strategies Bureau) กรมโรงงานอุตสาหกรรม สมหญิง คุณานพรัตน์ มีนาคม 2555
2
การเข้าร่วมเป็นภาคีพิธีสารมอนทรีออลของประเทศไทย
วันที่ร่วมลงนาม อนุสัญญา/พิธีสาร จำนวนประเทศสมาชิก 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2532 อนุสัญญาเวียนนา พิธีสารมอนทรีออล 25 มิถุนายน พ.ศ. 2535 London Amendment 1 ธันวาคม พ.ศ. 2538 Copenhagen Amendment 23 มิถุนายน พ.ศ. 2546 Montreal Amendment 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 Beijing Amendment 2 * ข้อมูล ณ วันที่ 12 มกราคม 2555
3
ข้อกำหนดการควบคุมปริมาณการใช้สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซนของประเทศไทย
สารควบคุม Controlled Substances Base Year Level1 ปริมาณการลด 1999 2002 2003 2005 2007 2010 2013 2015 2020 2025 2030 ภาคผนวก A Group 1 :CFCs11,12,113,114,115 Group 2 : Halons : 1211,1301 Freeze2 - Freeze 50% 85% 100% ภาคผนวก B Group 1 : CFCs : 13,111,112,211, 112,213,214,215,216,217 Group 2 : Carbon Tetrachloride Group3 : Methyl Chloroform (1,1,1 Trichloroethane) 20% 30% 70% 100%3 ภาคผนวก C Group 1 : HCFCs 10% 35% 67.50% 100%4 ภาคผนวก E Methyl Bromide 100%5 1Base Year Level คือ เกณฑ์กำหนดในการควบคุมปริมาณการใช้สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน / 2Freeze คือ การควบคุมปริมาณการใช้ให้เท่ากับค่า 3สำหรับประเทศไทยห้ามนำเข้าตั้งแต่ 1 มกราคม หลังปี 2030 ยังคงยอมให้ใช้ในปริมาณ 2.5% สำหรับภาคบริการซ่อมบำรุงตู้เย็นและเครื่องปรับอากาศจนถึงปี สำหรับประเทศไทยห้ามนำเข้าตั้งแต่ 1 มกราคม 2013
4
การลดและเลิกใช้สาร HCFCs
จากการประชุมภาคีสมาชิกของพิธีสารมอนทรีออลครั้งที่ 19 ระหว่างวันที่ กันยายน 2550 ได้มีมติ “ให้เร่งการลดและเลิกใช้ HCFCs ให้เร็วขึ้น 10 ปี คือ จากเดิม พ.ศ เปลี่ยนเป็นปี พ.ศ ” ทั้งนี้ - ในปี 2556 จำกัดปริมาณการใช้ไม่ให้เกินค่าฐาน ลดการใช้ลง % ในปี 2558 (จากค่าฐาน) ลดการใช้ลง % ในปี 2563 (จากค่าฐาน) ลดการใช้ลง % ในปี 2568 (จากค่าฐาน) ลดการใช้ลง 100% ในปี 2573 (จากค่าฐาน) ค่าเฉลี่ยการใช้ของปี เป็นค่าฐานในการลดสำหรับปี 2556
5
การดำเนินการ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนพหุภาคีเพื่อจัดทำ แผนการลดและเลิกใช้สาร HCFCs และได้รับเงินสนับสนุนจำนวน 195,000 เหรียญสหรัฐ เมื่อเดือนกรกฏาคม 2551 -ขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนพหุภาคีการจัดทำแผนการลดและเลิกใช้ สาร HCFCs ของประเทศไทยสำหรับกิจกรรมที่ต้องลงทุน ใน 3 ภาคอุตสาหกรรม (การผลิตเครื่องปรับอากาศ การผลิตโฟม อุตสาหกรรม การทำความเย็น )และได้รับเงิน สนับสนุน 300,000 เหรียญสหรัฐ เมื่อเดือน กรกฎาคม 2553
6
การจัดทำแผนการลดและเลิกใช้สาร HCFCs
การประชุม ExCOM ครั้งที่ 65 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ มีข้อสรุปว่า จะมีเงินช่วยเหลือเพียงพอแก่ประเทศกำลังพัฒนาในการควบคุมปริมาณการใช้สาร HCFCs ในปี พ.ศ และลดลง 10% ในปี พ.ศ. 2558 -สอดคล้องกับแผนงานโครงการบริหารจัดการและลดการใช้สาร HCFCs ของประเทศไทย ระยะที่ 1 ซึ่งได้ยื่นเสนอต่อคณะกรรมการบริหารกองทุน พหุภาคีเพื่อขอรับเงินช่วยเหลือไปแล้ว - คาดว่าประเทศไทยจะได้รับเงินช่วยเหลือสำหรับการปรับเปลี่ยน 80 ล้านเหรียญสหรัฐ
7
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นหากไม่สามารถปฏิบัติได้ตามพันธกรณี
1. ตามมาตรา 4 ของพิธีสารมอนทรีออล มีมาตรการการระงับการให้ความช่วยเหลือ ด้านการเงินและด้านเทคนิค และ 2. ห้ามประเทศภาคีอื่นๆ ค้าขายสารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน และผลิตภัณฑ์ที่ ผลิตด้วยหรือมีส่วนประกอบของสารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซนกับประเทศ Non-compliance เป็นการชั่วคราว หากประเทศไทยไม่สามารถซื้อขายสาร HCFCs ได้ จะเกิดผลกระทบ : 3. ภาคอุตสาหกรรมที่ใช้สาร HCFCs เช่น เครื่องปรับอากาศจะไม่มีสาร HCFC-22 มาใช้ในการผลิต เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ 5,000 ล้าน USD สูญเสียส่วนแบ่ง การตลาดจากการส่งออก 4. การจ้างแรงงานในอุตสาหกรรมจะลดลงมากว่า 50,000 คน
8
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นหากไม่สามารถปฏิบัติได้ตามพันธกรณี
5. ภาคอุตสาหกรรมโฟมจะไม่มีสาร HCFC-141b มาใช้ (ขาดแคลนวัสดุสำหรับเป็น ฉนวนความร้อน ส่งผลต่อการประหยัดพลังงาน) 6. ประชาชนขาดแคลนสาร HCFCs สำหรับใช้ในการซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่าง ๆ และ ราคาสาร HCFCs จะเพิ่มสูงขึ้น 7. การไม่สามารถนำเข้า HCFCs ได้ เป็นผลให้เกิดการลักลอบการนำเข้าสาร HCFCs 8. ส่งผลต่อเนื่องถึงอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบการปรับอากาศและทำควาเย็น เช่น อุตสาหกรรมท่องเที่ยว อุตสาหกรรมประมง 9. ผู้ประกอบการสูญเสียโอกาสในการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตไปเป็น สารทดแทนหรือต้องใช้เงินลงทุนของตนเองทั้งหมดในการปรับเปลี่ยน
9
แนวทางการดำเนินการควบคุมการนำเข้า HCFCs
1.กรณีใบอนุญาตที่ยังไม่ได้ออก 1.1 ถ้าจะต้องออกภายในปี 2555 จะต้องหมดอายุ สิ้นปี 2555 1.2 ถ้าจะต้องออกตั้งแต่ปี 2556 จะมีอายุสิ้นปีปฏิทิน 1.3 ตั้งแต่ปี 2556 จะใช้ระบบจัดสรรโควตา ตามสัดส่วนที่เคยนำเข้า 2.ใบอนุญาตที่ออกให้ไปแล้ว 2.1 ปริมาณคงไว้ตามเดิม 2.2 ระยะเวลาของใบอนุญาต ขอปรับให้หมดอายุภายในปี 2555
10
สรุปเนื้อหาประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่องแนวทางการอนุญาต
นำเข้าสารเอชซีเอฟซี (HCFS) เพื่อใช้ในประเทศ 1. ตั้งแต่ปี พ.ศ เป็นต้นไป กรมโรงงานอุตสาหกรรมจะอนุญาตนำเข้าสารดังกล่าวให้อายุใบอนุญาตไม่เกิน 1 ปี โดยกำหนดให้ใบอนุญาตสิ้นสุด ในวันสิ้นปีปฏิทิน 2. ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 กรมโรงงานอุตสาหกรรมจะอนุญาตนำเข้าสารดังกล่าวไม่เกินปริมาณการนำเข้าของประเทศที่สามารถนำเข้าในแต่ละปี ตามรายละเอียดแนบท้ายประกาศ 3. กรมโรงงานอุตสาหกรรม ขอสงวนสิทธิในการเปลี่ยนแปลงปริมาณการนำเข้าสารดังกล่าวได้ตามความเหมาะสม เพื่อให้เป็นไปตามข้อผูกพันระหว่างประเทศ 10
12
สรุปประเด็นจากการประชุมหารือครั้งที่ 1 1.กรณีใบอนุญาตที่ยังไม่ได้ออก
1.1 ถ้าจะต้องออกภายในปี 2555 จะต้องหมดอายุ สิ้นปี 2555 1.2 ถ้าจะต้องออกตั้งแต่ปี 2556 จะมีอายุสิ้นปีปฏิทิน ไม่มีผู้ประกอบการรายใดเห็นขัดแย้ง และ กรมโรงงานอุตสาหกรรม สามารถออกประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนดอายุใบอนุญาตถึงสิ้นปี ๒๕๕๕ สำหรับใบอนุญาตใหม่ได้ 1.3 ตั้งแต่ปี 2556 จะใช้ระบบจัดสรรโควตา ตามสัดส่วนที่เคยนำเข้า ที่ประชุมอภิปราย เกี่ยวกับตัวเลขโควต้าที่จะจัดสรรโดยขอให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมร่วมกับธนาคารโลก พิจารณาใน 2 ประเด็น - สำหรับผู้ประกอบการที่มีการนำเข้าต่อเนื่อง - สำหรับผู้ประกอบการที่ไม่ได้นำเข้าทุกปี
13
สรุปประเด็นจากการประชุมหารือครั้งที่ 1 (ต่อ)
2.ใบอนุญาตที่ออกให้ไปแล้ว 2.1 ปริมาณคงไว้ตามเดิม 2.2 ระยะเวลาของใบอนุญาต ขอปรับให้หมดอายุภายในปี 2555 ยังไม่มีการอภิปรายในการประชุมครั้งที่ 1 เนื่องจากผู้ประกอบการต้องการขอดูตัวเลขจัดสรรโควต้าปริมาณการนำเข้าก่อน
14
Thank you ค่ะ สิ่งที่ปรารถนา... สำนักสนธิสัญญาและยุทธศาสตร์
(Treaties and International Strategies Bureau) กรมโรงงานอุตสาหกรรม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.