ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
3
1. ด้านความรู้ 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ 3. ด้านเจตคติ
4
ด้านความรู้ 1.มีความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนในด้าน การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม 2. มีความรู้เกี่ยวกับอาเซียน 2.1 จุดกำเนิดอาเซียน 2.2 กฎบัตรอาเซียน 2.3 ประชาคมอาเซียน 2.4 ความสัมพันธ์กับภายนอกอาเซียน
5
ด้านทักษะ/กระบวนการ 1. ทักษะพื้นฐาน 1.1 สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา (ภาษาอังกฤษ และภาษาประเทศเพื่อนบ้าน อีกอย่างน้อย 1ภาษา) 1.2 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์ 1.3 มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสันติวิธี 1.4 มีความสามารถในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น 2. ทักษะพลเมือง/ความรับผิดชอบทางสังคม 2.1 เคารพและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม 2.2 มีภาวะผู้นำ 2.3 เห็นปัญหาสังคมและลงมือทำเพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง 3. ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตน 3.1 เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน 3.2 มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.3 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวิธีคิดอย่างถูกต้อง 3.4 มีความสามารถในการจัดการ / ควบคุมตนเอง
6
ด้านเจตคติ 1. มีความภูมิใจในความเป็นไทย/ ความเป็นอาเซียน 2. ร่วมกันรับผิดชอบต่อประชาคมอาเซียน 3. มีความตระหนักในความเป็นอาเซียน 4. มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล สันติวิธี /สันติธรรม 5. ยอมรับความแตกต่างในการนับถือศาสนา 6. ดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
8
จัดทำโดยสำนักงานเลขาธิการอาเซียน SEAMEO และ USAID รวมทั้งนักการศึกษาของประเทศสมาชิก ทั้ง 10 ประเทศ เริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2551 และปรับปรุงรายละเอียด ของคู่มือฯ เมื่อวันที่ 16 ม.ค.2555 ณ ประเทศไทย และระหว่างวันที่ 30-31 พ.ค.2555 ณ ประเทศกัมพูชา
9
ที่ประชุมรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ ของกลุ่มประเทศอาเซียน ระหว่างวันที่ 3 – 5 กรกฎาคม 2555 ณ ประเทศอินโดนีเซีย ได้ตกลงร่วมกันว่า ให้นำ ASEAN Curriculum Sourcebook ไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ ตามบริบทของแต่ละประเทศ ASEAN Curriculum Sourcebook ถือเป็นหลักสูตรแกนกลางของอาเซียน ภายใต้ปรัชญาขั้นพื้นฐาน ให้นำ ASEAN Curriculum Sourcebook ไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ ตามบริบทของแต่ละประเทศ ASEAN Curriculum Sourcebook ถือเป็นหลักสูตรแกนกลางของอาเซียน ภายใต้ปรัชญาขั้นพื้นฐาน
10
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย Grades 10-12 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น Grades 6-9 ระดับประถมศึกษาตอนปลาย Grades 3-5 ระดับการจัดการศึกษา
11
หลักการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน 1.เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้ผู้เรียน เข้ามามีส่วนร่วม 2. เน้นการบูรณาการ 3. ยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม 4. เน้นกระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการ สื่อสาร
12
เป้าหมาย ASEAN Curriculum Sourcebook เป้าหมาย ASEAN Curriculum Sourcebook 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน 2. เห็นคุณค่าของอัตลักษณ์และความหลากหลาย 3. สามารถเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น 4. ส่งเสริมความเสมอภาคและความยุติธรรม 5. ทำงานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน
13
มิติการเรียนรู้ ครอบคลุม 7 สาขาวิชามิติการเรียนรู้ - ประวัติศาสตร์และสังคมศึกษา - วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ - หน้าที่พลเมืองและจริยศึกษา - ภาษาและวัฒนธรรม - ศิลปะ - สุขศึกษาและพลศึกษา - เทคโนโลยีการศึกษา
14
ผ่าน - ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน - การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์ และความหลากหลาย - การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น - การส่งเสริมความเสมอภาค และความยุติธรรม - การทำงานร่วมกันเพื่ออนาคต ที่ยั่งยืน 1.ประชาชน (People) 2.สถานที่ (Places) 3.สื่อ (Materials) 4.แนวคิด (Ideas) 5 กรอบเนื้อหา (Themes) 4 ช่องทาง (Pathways)
15
กรอบเนื้อหา ASEAN Curriculum Sourcebook 1. ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน (Knowing ASEAN) 2. การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์และความหลากหลาย (Valuing Identity and Diversity) 3. การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น (Connecting global and Local) 4. การส่งเสริมความเสมอภาคและความยุติธรรม (Promoting Equity and Justice) 5. การทำงานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน (Working Together for a Sustainable Future)
16
ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน (Knowing ASEAN) ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน (Knowing ASEAN) เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียนใน 4 ประเด็นหลัก คือ โครงสร้าง ความเป็นสมาชิก เป้าหมาย แนวทางปฏิบัติ รวมทั้งการสำรวจลักษณะ ที่สำคัญ ความสำเร็จและความท้าทายใน อนาคตของอาเซียน
17
การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์และ ความหลากหลาย (Valuing Identity and Diversity) การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์และ ความหลากหลาย (Valuing Identity and Diversity) เป็นการสำรวจ ศึกษาถึงความสัมพันธ์ที่ซับซ้อน ปัจจัย ที่ส่งผลต่อการเกิดวัฒนธรรมความเชื่อ การตระหนักรู้ และเห็นคุณค่าในความแข็งแกร่งซึ่งมีอยู่ในความเหมือน ของประชาชน (ส่วนบุคคลหรือกลุ่ม) เช่นเดียวกับ ลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน
18
การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น (Connecting global and Local) การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น (Connecting global and Local) เป็นการสำรวจประเด็นของท้องถิ่น ว่าได้รับ อิทธิพลจากการพัฒนา และแนวโน้มของโลก อย่างไร และเหตุการณ์ในท้องถิ่นของอาเซียน ส่งผลต่อสภาวการณ์ของโลกอย่างไร
19
การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น (Connecting global and Local) การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น (Connecting global and Local) เป็นการส่งเสริมหลักการแห่งความเสมอภาค และยุติธรรม โดยจัดหาเครื่องมือและข้อมูลให้ ผู้เรียน (ทางวิทยาศาสตร์ ทางการเมืองและหลัก ปรัชญา) เพื่อใช้วิเคราะห์สถานการณ์ที่ซับซ้อน และสามารถตอบสนองได้อย่างเหมาะสม
20
การทำงานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน (Working Together for a Sustainable Future) การตระหนักถึงความกดดันที่เกิดจากที่ทรัพยากร ที่มีอย่างจำกัดและการเพิ่มจำนวนอย่างรวดเร็ว ของประชากร และผลกระทบต่อความยั่งยืนการ กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักการทำงานร่วมกันทั้งใน ระดับชุมชนและกลุ่มสังคมที่ใหญ่กว่า นำไปสู่ การสร้างความเจริญรุ่งเรือง สันติสุขและอนาคต ที่ยั่งยืนของประชาคมอาเซียน
21
4 ช่องทาง (Pathways) 1. ประชาชน (People) ตัวบุคคล กลุ่มชาติพันธุ์ มรดกทาง วัฒนธรรม รัฐบาลและพลเมือง สุขภาพ ความปลอดภัย บทบาท ทางเพศ บทบาทระหว่างชั้นอายุภายในครอบครัว และสังคม 2. สถานที่ (Places) ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะภูมิ ประเทศ ระบบนิเวศ ภูมิอากาศ ผลกระทบจากพลังธรรมชาติต่างๆ 3. สื่อ (Materials) สิ่งที่เป็นรูปธรรม เช่น เครื่องอุปโภค บริโภค สิ่งประดิษฐ์ งานหัตถกรรม งานศิลป์และงานประดิษฐ์ ศิลปะโบราณ 4. แนวคิด (Ideas) ศาสนา ระบบความเชื่อ ปรัชญา ค่านิยม รูปแบบการปกครอง แง่คิดเกี่ยวกับโลก เทคโนโลยี การยอมรับ และการปรับตัว
22
ใช้คำถามสำคัญ (Essential Questions) ที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ แก้ปัญหา ออกแบบด้วยกระบวนการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design Process)
23
แนวทางการประเมินผล ASEAN Curriculum Sourcebook แนวทางการประเมินผล ASEAN Curriculum Sourcebook 1. การอธิบาย (Explanation) 2. การตีความ (Interpretation) 3. การประยุกต์ใช้ (Application) 4. มุมมอง (Perspective) 5. ความรู้สึกร่วม (Empathy) 6. การรู้จักตนเอง (Self-knowledge)
25
แนวทางการดำเนินงานในสถานศึกษา 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน 2. ศึกษาและสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ASEAN Curriculum Sourcebook และหลักสูตรแกนกลาง ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
26
แนวทางการดำเนินงานในสถานศึกษา 3.วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนรู้ แนวทางสาระสำคัญ และคำถาม ประจำหน่วยการเรียนรู้ของ ASEAN Curriculum Sourcebook กับมาตรฐาน/ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลางของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 4.จัดทำรายวิชาพื้นฐานที่บูรณาการผลการเรียนรู้ของ ASEAN Curriculum Sourcebook สาระการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน หรือรายวิชาเพิ่มเติมที่เน้น ผลการเรียนรู้ของ ASEAN Curriculum Sourcebook หรือกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามเป้าหมายของ ASEAN Curriculum Sourcebook 5.จัดทำหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนการสอน 6.จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร 7.สรุปผลและรายงานผลการดำเนินการ
27
แนวทางการดำเนินงานรายบุคคล 1. เลือกรายวิชาที่ทำการสอนในปัจจุบัน 1 รายวิชา 2. เลือก 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ท่านคิดว่าจะสามารถบูรณาการ กับ ASEAN Curriculum Sourcebook 3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนรู้ แนวทาง สาระสำคัญ และคำถามประจำหน่วยการเรียนรู้ของ ASEAN Curriculum Sourcebook กับมาตรฐาน/ตัวชี้วัด และสาระ การเรียนรู้แกนกลางของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 4. จัดทำหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรม การเรียนการสอน
28
ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ ของ ASEAN Curriculum Sourcebook กับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลางของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐาน การเรียนรู้ ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ของ ASEAN Curriculum Sourcebook สาระสำคัญ เกี่ยวกับอาเซียน (ใบงานที่ 1)
29
การออกแบบการสอน แบบย้อนกลับ (Backward Design) Grant Wiggins & Jay Mc Tighe
30
ขั้นตอนการออกแบบการสอนแบบย้อนกลับ ขั้นที่ 1 กำหนดความรู้ความสามารถของผู้เรียนที่ต้องการ (Identify desired results) ขั้นที่ 2 กำหนดการแสดงอออกของผู้เรียนที่เป็นหลักฐานที่ชัดเจน ยอมรับได้ว่าผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตามที่กำหนดไว้ (Determine acceptable evidence of learning) ขั้นที่ 3 ออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ (Plan learning experiences and instruction)
31
แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท23101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง วรรณกรรมท้องถิ่น เวลา 6 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ท 1.1............................................................................................... ตัวชี้วัด ท 1.1 ม.3/2...................................................................................... ท 1.1 ม.3/3...................................................................................... ผลการเรียนรู้ ASEAN Curriculum Sourcebook -...................................................................................................... 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด...........................................................................................................
32
3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง........................................................................................................ สาระการเรียนรู้อาเซียน....................................................................................................... 4. สมรรถนะของผู้เรียน........................................................................................................... 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์...........................................................................................................
33
6. ชิ้นงาน/ภาระงาน 6.1 ชิ้นงาน/ภาระงานระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้........................................................................................................ 6.2 ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด........................................................................................................ 7. การวัดและประเมินผล 7.1 การวัดและประเมินผลระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้........................................................................................................ 7.2 การวัดและประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรมการเรียนรู้........................................................................................................
34
8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1-2........................................................................................................ ชั่วโมงที่ 3-4........................................................................................................ ชั่วโมงที่ 5-6........................................................................................................ 9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้........................................................................................................
35
You can do it!
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.