ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยขจี พิศาลบุตร ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขตสุขภาพที่ 10 9 กันยายน 2558 สรุปผลการดำเนินงานปี 2558 และทิศทางปี 2559 Project Manager CFO Project Manager CFO เขตสุขภาพที่ 10 1.ผลการดำเนินงานในปี 2558 2.ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงานในปี 2558 3.แนวทางการดำเนินงานในปี 2559
2
1.1 ภาพรวมแนวโน้มความเสี่ยงทางการเงินที่มี วิกฤติระดับ 7 ในปี 2558 1. ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ประสิทธิภาพของการบริหารการเงิน สามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ ๑๐) ประสิทธิภาพการบริหารการเงิน ควบคุม ปัญหาการเงินระดับ ๗ ของหน่วย บริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ ๑๐) ไตรมาส จำนวน ระดับ 7 ร้อยละ 1/2558 79.86 2/2558 57.05 3/2558 1521.13 ไตรมาส 1/58 ไตรมาส 2/58 ไตรมาส 3/58 อุบลราชธานี226 ศรีสะเกษ000 ยโสธร213 อำนาจเจริญ215 มุกดาหาร111 รวม7515
3
ตรวจราชการรอบที่ 1ตรวจราชการรอบที่ 2 เขตรพ.ส่งข้อมูลไม่ผ่านร้อยละรพ.ส่งข้อมูลไม่ผ่านร้อยละ 11002828.001002121.00 2462145.65471940.43 3461634.78451124.44 4682232.35661218.18 5641625.00631523.81 6662233.33632133.33 7652233.85601016.67 8781215.388078.75 9861517.44851011.76 10702434.29701825.71 11723041.67681725.00 12753648.00763748.68 83626431.5882319824.06 1.2 เปรียบเทียบผลการตรวจราชการรอบ 1- 2 /2558 (Unit Cost) 1. ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ (ไม่เกินร้อยละ ๒๐)
4
เครื่องมือ ที่ทีม CFO และบัญชีเขต พัฒนาขึ้นมา..... เพื่อนำไปปรับเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร 2. Financial Accreditation Score (FAS) : 2.1 ตัวชี้วัดการบริหารการเงินการคลังเขต 38 ข้อ : ผ่าน..... ข้อ : ต้องปรับปรุง..... ข้อ : ไม่ผ่าน..... ข้อ รวมคะแนนได้ =.......... % 2.2 คะแนนรวมคุณภาพบัญชี =.......... % 2.3 รายงานความเห็นผู้ตรวจสอบคุณภาพบัญชี........... 2.3.1 ไม่มีเงื่อนไข (งบการเงินถูกต้อง น่าเชื่อถือ) : ไม่พบสิ่งที่ไม่สอดคล้องกับหลักบัญชี 2.3.2 มีเงื่อนไข (ให้ปรับปรุง) : มีบางส่วนไม่ถูกต้องหรือแสดงเงื่อนไขบางรายการ 2.3.3 ไม่แสดงความเห็น (ให้ปรับปรุงมากยิ่งขึ้น) : ไม่สามารถให้ความเห็นต่อความถูกต้องได้ 1.Efficiency Average Operating Cost ( EAOC) 1.Efficiency Average Operating Cost ( EAOC) : แบบจำลองในการ จัดสรรงบ UC จากรายจ่ายดำเนินการขั้นต่ำของหน่วยบริการสู่การปรับเกลี่ย
5
โครงการพัฒนาและขับเคลื่อนการบริหารการเงินการคลัง ในเขตสุขภาพที่ 10 ในปี 2558 1. โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้บริหารและ CFO หน่วยบริการ และ และพัฒนาทีมงาน CFO นักบัญชี หน่วยบริการ : 25 - 26 พ.ค. 58 2. โครงการการปฎิบัติตามระเบียบพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3 ( วิธี e- market และ e-bidding) เขตสุขภาพที่ 10 : 8 - 9 ก.ค 58 3. โครงการตรวจสอบและพัฒนาคุณภาพบัญชีในหน่วยบริการทุกจังหวัด ตามแบบประเมิน คุณภาพบัญชีของเขตฯ ( 3 กิจกรรม ) : 8 ก.ค.- 28 ส.ค.58 4. โครงการประชุมสรุปผลงาน CFO ปี 2558 และ จัดทำแผนปี 2559 เขตสุขภาพที่ 10 (26 -28 ส.ค. ) 5. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้เพื่อเพิ่มรายรับของสถานบริการ เขตสุขภาพที่ 10 (4 ก.ย.58) 6. โครงการลงพื้นที่ตรวจสอบ ร.พ.ที่มีวิกฤติทางการเงิน และกลุ่มเป้าหมาย ร.พ. ชุมชน
6
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบัญชี วงเงิน 1,000,000 บาท ในเขตสุขภาพที่ 10 ในปี 2558 ลำดับโครงการงบประมาณผู้รับผิดชอบ 1โครงการการปฎิบัติตามระเบียบพัสดุและการจัดซื้อ จัดจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3 ( วิธี e- market และ e-bidding) เขตสุขภาพที่ 10 279,700อำนาจเจริญ 2โครงการพัฒนาคุณภาพบัญชีของหน่วยบริการ เขต สุขภาพที่ 10 ( 71 แห่ง ) -กิจกรรมที่ 1 พัฒนาคุณภาพบัญชี 256,000 -กิจกรรมที่ 2 พัฒนาระบบฐานข้อมูล 20,200 Web CFO เป็นระบบออนไลน์ -กิจกรรมที่ 3 สรุปผลการตรวจสอบ 300,000 คุณภาพบัญชี และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำไปพัฒนาในปี 2559 576,000ศรีสะเกษ,อำนาจเจริญ 3 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้เพื่อ เพิ่มรายรับของหน่วยบริการ เขตสุขภาพที่ 10 144,300ยโสธร รวม1,000,000 เสริมสร้าง ธรรมาภิบาล คุณภาพ ทางบัญชี พัฒนา เพิ่มรายรับ
7
ทีมนักบัญชีทุกจังหวัดออกตรวจหน่วยบริการ 5 จังหวัด 71 แห่ง...ตามโครงการเร่งรัดพัฒนาคุณภาพบัญชี รายงานทาง Line สรุปผลคะแนน คุณภาพบัญชี ให้ผู้บริหาร ทราบทุกวัน
8
สรุปผลโครงการตรวจสอบพัฒนาคุณภาพบัญชีเขตสุขภาพที่ 10 จังหวัด จำนวนหน่วย บริการทั้งหมด (แห่ง) จำนวนหน่วย บริการที่ ตรวจแล้ว (แห่ง) จำนวนหน่วยบริการ คะแนนบัญชี >80% % จำนวน หน่วยบริการที่ คะแนนบัญชี >80% อุบลราชธานี 26 934.62% ศรีสะเกษ 22 1254.55% ยโสธร 9 9 777.78% อำนาจเจริญ 7 7 571.53% มุกดาหาร 77 342.86% รวม 71 3650.70% ข้อมูล ณ วันที่ 18 ส.ค. 2558
10
ทีมใกล้เคียง กัน ยอมรับได้
11
ความน่าเชื่อถือ ทางบัญชี ข้อมู ล นำเข้ า ผู้จัดทำ และ บันทึก บัญชี ผู้บริห าร Internal Audit -Financial Management - Strategy Management - Strength Intention - Knowledge - Accounting skill - Internal control - On time - Accuracy - Validity - Re - checkable
12
ภาพรวมผลลัพธ์การ ประเมิน คะแนนภาพรวมเขต เฉลี่ยร้อยละ 74.20 หมวดที่มีคะแนนเฉลี่ย สูงสุด หมวด ๒ ลูกหนี้ เงินยืม, หมวด ๑๐ ค่าใช้จ่าย, หมวด ๖ หนี้สิน หมวดที่มีคะแนนเฉลี่ย ต่ำสุด ได้แก่ หมวด ๑ เงินสดและเงินฝาก ธนาคาร, หมวด ๘ รายได้ค่า รักษาพยาบาล และ หมวด ๓ ลูกหนี้ค่า รักษาพยาบาล โอกาสพัฒนา ภาพรวมการบันทึก ทางบัญชี ในหมวด เพิ่มประสิทธิภาพ รายได้ของ โรงพยาบาล พัฒนาเครื่องมือการ ประเมินทางบัญชี สู่ “ การจัดทำบัญชี บริหาร ” องค์ความรู้และทักษะ การเยี่ยมประเมินทาง บัญชี การให้ความสำคัญ ของการประเมินและ การเพิ่มประสิทธิภาพ แลพะคุณภาพทาง บัญชีของหน่วยรับ ประเมิน แผนการพัฒนา เพิ่มประสิทธิภาพการ บันทึกข้อมูลด้าน จัดเก็บรายได้และการ แปลงรายได้เป็น รายรับของหน่วย บริการ พัฒนาศักยภาพ CFO และ ความเชี่ยวชาญ ทางบัญชี สู่การจัดทำ “ บัญชีบริหาร ” พัฒนาประสิทธิภาพ ระบบการสนับสนุน ข้อมูลประกอบการ บันทึกบัญชีของหน่วย บริการ
13
2. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงานที่ผ่านมาโดย เฉพาะที่ส่งผลให้การดำเนินงานไม่บรรลุตามตัวชี้วัด 2.1 รพ.วิกฤติระดับ7: กระบวนการแก้ปัญหา รพ.วิกฤติระดับ 7 ผู้เกี่ยวข้องทุกส่วนต้องมี ส่วนร่วมสร้างความตระหนัก ควรกำหนดเป็น KPI Ranking ในการบริหาร บทบาทการทำงานของคณะกรรมการ CFO ในระดับหน่วยบริการ ที่ต้องชัดเจน และพัฒนาองค์ความรู้ในทุกระดับ 2.2 ต้นทุนสูง : การ ควบคุม กำกับ แผนการเงินการคลังในหน่วยบริการ Planfin การควบคุมภายในของหน่วยบริการ ที่ยังขาดประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ ประสิทธิภาพด้านการบริหารต้นทุนหน่วยบริการในพื้นที่หลายแห่งมีต้นทุนต่อ หน่วยเกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ มีค่าแรง LC สูงและ ผลงาน Sum Adj RW ลดลง 2.3 จำนวนบุคลากรบัญชีไม่เพียงพอและขาดความมั่นคง รวมทั้งในระดับเขต เนื่องจากไม่มีตำแหน่งข้าราชการ หรือ พนักงานราชการ เป็นผลให้บัญชีไม่ได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องและ มีความผิดพลาดบ่อยครั้ง 2.4 การพัฒนาคุณภาพบัญชีให้มีความน่าเชื่อถือ ปัจจุบันได้คุณภาพเพียง 50.70% และ ยังไม่สามารถเชื่อมโยงให้ผู้บริหารนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ บัญชียัง ขาดการตรวจสอบ คุณภาพบัญชี ในแต่ละเดือน ก่อน รายงานส่งทุกเดือน 2.5 ระบบการทำงานในหน่วยงาน ที่สนับสนุนการเชื่อมโยงข้อมูลลูกหนี้ เจ้าหนี้ วัสดุคงคลัง สินทรัพย์ เพื่อให้ได้ข้อมูลทางบัญชีที่ถูกต้อง ในหน่วยบริการหลายแห่ง ยังขาดประสิทธิภาพ
14
3. แนวทางการดำเนินงาน แผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม ในปี 2559 เข็มมุ่งปี 2559 : 1. พัฒนาศักยภาพผู้บริหาร CFO ทีมตรวจสอบบัญชี และคุณภาพบัญชีให้ดีขึ้น 2. พัฒนาระบบสารสนเทศทางการเงินการคลัง และ สร้างเครือข่าย CFO นักบัญชี ให้มีความเข้มแข็งในการจัดทำบัญชีบริหาร 3. พัฒนาการบริหารจัดการแผนการเงินการคลัง ด้วยแผนกลยุทธ์ด้านการเงิน (Business Plan) 4. พัฒนาประสิทธิภาพและ ระบบกลไก กำกับ ติดตามเฝ้าระวัง แผนการเงินการคลังและ KPI ….
15
1. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง และผู้บริหารในหน่วยบริการ เขตสุขภาพที่ 10 : นักบัญชี/CFO/ผู้บริหาร 2. โครงการพัฒนาคุณภาพบัญชีระยะที่ 2 ในหน่วยบริการเขตสุขภาพที่ 10 พัฒนาคู่มือ ทีมผู้ตรวจสอบ : เป้าหมายจำนวนหน่วยบริการผ่านเกณฑ์ > 80%ทั้งหมด 3. โครงการพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังในหน่วยบริการ เขตสุขภาพที่ 10 (Unit Cost, Hospital Group Ratio : HGR) และแก้วิกฤติการเงินระดับ 7 4. โครงการพัฒนาการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง ด้วยแผนกลยุทธ์ด้านการเงิน (Business Plan) ในหน่วยบริการนำร่อง 5 แห่ง 3. แนวทางการดำเนินงาน แผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม ในปี 2559 5. โครงการลงพื้นที่ ร่วม ตรวจสอบ ร.พ.ที่มีวิกฤติทางการเงินขาดทุนเรื้อรัง ใน รพช. 4 แห่ง ร่วม กับ คณะทำงาน สธ. และ External Audit E&Y (เพื่อเรียนรู้นำมาพัฒนาระบบการเงินการคลังบัญชี : เขมราฐ เดชอุดม ศรีเมืองใหม่ ดงหลวง) 6. โครงการประชุมสรุปผลงาน CFO ปี 2559 และจัดทำแผนปี 2560 เขตสุขภาพที่ 10
16
ศึกษาดูงานโรงพยาบาลสุรินทร์
17
ภาพกิจกรรม ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน CFO และตรวจสอบคุณภาพบัญชี
18
ประชุมการเพิ่มประสิทธิภาพการหารายได้และการเพิ่มรายรับของสถานบริการ
19
Thank you CFO TEAM Health Region 10 Going Together
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.