ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยพิกุล บราวน์ ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
2
ระบบอนามัยสิ่งแวดล้อม ประชาชนได้รับการป้องกัน ดูแลสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยง ด้านสิ่งแวดล้อม ระบบข้อมูลระบบป้องกันและ ลดปัจจัยเสี่ยง ระบบบริการระบบบริหารจัดการ 1. พัฒนาฐานข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมที่ เชื่อมโยงกับด้านสุขภาพ KPI : สสจ. มีฐานข้อมูลและ สถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 100 (ข้อมูลมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยทั่วไป สิ่งปฏิกูล สุขาภิบาลอาหารและน้ำ มาตรการทางกฎหมาย สาธารณสุข และข้อมูลพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจาก มลพิษสิ่งแวดล้อม) 2.มีการเฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยง ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ - เฝ้าระวังในพื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 36 จังหวัด ได้แก่ 1) พื้นที่เสี่ยงจากมลพิษ สารเคมีอันตราย (เหมืองทอง เหมืองเก่า เหมือง โปแตส ขยะอิเล็กทรอนิกส์) 2) พื้นที่เสี่ยงจาก มลพิษทางอากาศ (ฝุ่นหน้าพระลาน หมอกควัน ภาคเหนือและภาคใต้ โรงไฟฟ้าชีวมวล ) และ 3) พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ/นิคมอุตสาหกรรม/ โรงไฟฟ้าถ่านหิน - เฝ้าระวังพื้นที่ทั่วไป 1.รพ.มีการจัดการมูลฝอย ติดเชื้อตามกฎหมาย KPI : ร้อยละ 100 ของ รพ. สังกัดกระทรวง สาธารณสุข มีการจัดการมูลฝอยติด เชื้อได้ตามกฎหมาย 2.ส่งเสริมการบังคับใช้ กฎหมายในการควบคุมการ ประกอบกิจการให้ได้ มาตรฐาน 1.การจัดบริการเวชกรรม สิ่งแวดล้อม ในพื้นที่เสี่ยง โดยพัฒนางาน Env.Occ.Unit ใน รพศ. / รพท. Env.Occ.Centerใน รพช. Env.Occ.Clinic ใน รพสต. KPI : ร้อยละ 50 ของ รพศ./รพท. ผ่านเกณฑ์ การประเมิน 1.ใช้มาตรการด้านกฎหมายสาธารณสุขในระดับ จังหวัด KPI : อสธจ. มีมติในการขับเคลื่อนงานอนามัย สิ่งแวดล้อมที่สำคัญอย่างน้อย 2 เรื่อง 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ อปท. มีการจัดบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน KPI : ร้อยละ 50 ของเทศบาลทุกระดับผ่านการ ประเมิน EHA ระดับพื้นฐาน อย่างน้อย 1 ประเด็น 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนตระหนักรู้และมี ส่วนร่วมอย่างเข็มแข็งในการจัดการปัญหาระดับ พื้นที่ เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ 4. การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา 5.การกำกับ ติดตาม และประเมินผล เป้าหมาย : จังหวัด ท้องถิ่น ชุมชน มีระบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในปี 2569 ปี 2559 : จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 50 3 เดือน6 เดือน9 เดือน12 เดือน จังหวัดมีแผนปฏิบัติการ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้าน สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จังหวัดมีข้อมูลสถานการณ์ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ที่สำคัญและมีการผลักดันสู่ กระบวนการโดยกลไก อสธจ. จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ ครอบคลุม 5 ประเด็น ได้แก่ (1)ฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (2)การจัดการมูลฝอย ติดเชื้อ (3)การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) (4)การขับเคลื่อนงานโดยมี กลไกคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) (5)การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อ จัดการปัจจัยเสี่ยงด้าน สิ่งแวดล้อมและสุขภาพตาม เกณฑ์ที่กำหนดระดับดีขึ้น ไป ร้อยละ 50 Quick win
3
คณะอนุกรรมการสาธารณสุข จังหวัด (อสธจ.) ตัวชี้วัด...ความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อให้ จังหวัดในเขตรับผิดชอบมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
4
ความคาดหวังต่อการดำเนินงาน อสธจ. ลำดับประเด็น 1จังหวัดรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ที่เป็นระบบ นำเสนอและชี้ประเด็นปัญหาได้ 2เจ้าพนักงานตามกฎหมายฯ สามารถปฏิบัติงานได้ 3ผู้รับผิดชอบ/ทำหน้าที่ในฝ่ายเลขานุการฯ อสธจ. มีความรู้ ความสามารถเหมาะสม 4จัดประชุม/ทำรายงานการประชุมที่แสดงถึงข้อพิจารณา มติ/ข้อสั่งการในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 5สรุปผล/ติดตามความก้าวหน้าตามข้อสั่งการ/มติที่ประชุมที่แสดง ถึงกระบวนการ ผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอ แนวทางแก้ไข 6ดำเนินงาน/เฝ้าระวังปัญหาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของพื้นที่
5
ประเด็นงานที่ดำเนินการผ่าน อสธจ. แหล่งข้อมูล: รวบรวมจากรายงานการประชุม และสรุปผลการประชุมจากศูนย์อนามัย (30 ก.ย. 2558) ประเด็นร้อยละ (N=72 จังหวัด) ขับเคลื่อนประเด็นงานสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1. เร่งรัดการออกข้อกำหนดของท้องถิ่น 2. การจัดการมูลฝอย/Road Map 3. พัฒนาคุณภาพการจัดบริการ อปท. (EHA) 4. พัฒนาตลาดสดน่าซื้อ 5. พัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานตามกฎหมาย 6. การจัดการสิ่งปฏิกูล/พัฒนาส้วมสาธารณะ 7. พัฒนาระบบข้อมูล/สถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อม 8. ขับเคลื่อนมาตรการอาหารปลอดภัย (CFGT) 9. มูลฝอยติดเชื้อในโรงพยาบาล/คลินิก 10. คุณภาพน้ำบริโภค/น้ำใช้/น้ำเสีย 77.78 40.28 31.94 30.56 22.54 20.37 19.44 16.67 แก้ไขปัญหาของพื้นที่ 1. รณรงค์ No Foam (พะเยา 2. พัฒนารูปแบบ/กลไกการแก้ไขเรื่องร้องเรียน 3. แก้ไขเหตุเดือดร้อนรำคาญ 4. ลดการใช้สารเคมีในภาคเกษตรกรรม 20.37 5.56 3.70 การบริหารจัดการ 1.ตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจ/พัฒนากลไกรองรับระดับอำเภอ 2. จัดทำยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของจังหวัด 29.63 7.41
6
บทบาทการสนับสนุนการดำเนินงาน อสธจ. ส่วนกลางศูนย์อนามัยจังหวัด 1. ชี้แจงการดำเนินงาน ของ อสธจ.ให้แก่ผู้รับผิดชอบงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมของ สสจ. (ณโรงแรมอมารี แอร์พอร์ตดอน เมือง วันที่ 6-8 ม.ค.59) 2. การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ ศูนย์อนามัย เรื่องการตรวจร่าง ข้อกำหนดของท้องถิ่น และการ วินิจฉัยอุทธรณ์ (ณ ชวาลัน รีสอร์ท วันที่ 22-25 ธ.ค. 58) 3. เป็นที่ปรึกษา/วิทยากร / เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสธจ. 4. สนับสนุนองค์ความรู้ คู่มือ แนวทางการดำเนินงาน เอกสาร วิชาการ 5. ติดตามการดำเนินงานอสธจ. ร่วมกับศูนย์อนามัย * รายละเอียดตามแบบฟอร์มที่ 1 และ2 1. มีการวิเคราะห์ความพร้อมของ อสธจ. ของจังหวัดในเขตพื้นที่ รับผิดชอบและมีแผนการสนับสนุน การดำเนินงานของ อสธจ. 2. เข้าร่วมชี้แจงและให้ข้อคิดเห็น ในการประชุมอสธจ. อย่างน้อย ร้อยละ 80 ของจำนวนการประชุม ของแต่ละจังหวัด 3. มีการติดตามและสรุปรายงาน ผลการดำเนินงานของอสธจ. 4. เป็นที่ปรึกษา/วิทยากร /เข้าร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน อสธจ. 5. สนับสนุนองค์ความรู้ คู่มือ แนวทางการดำเนินงาน เอกสาร วิชาการ 1. มีผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน ของฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรม การสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) 2. มีแผนงาน/โครงการ/และการ จัดประชุม อสธจ. ไม่น้อยกว่า 3 ครั้งต่อปี 3. รายงานการประชุม คณะอนุกรรมการสาธารณสุข จังหวัด (อสธจ.) ที่มีมติ ขับเคลื่อนประเด็นงานอนามัย สิ่งแวดล้อมอย่างน้อย 2 เรื่อง 4. มีการติดตามมติประเด็นงาน อนามัยสิ่งแวด ล้อม อย่างน้อย 2 เรื่อง 5. มีรายงานความก้าวและสรุป ผลการดำเนินงานประเด็นงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมตามมติ ที่ประชุม
7
การติดตามและการรายงานผลการดำเนินงาน 1.มีแผนการจัดประชุมและขับเคลื่อนงานตามมติของ อสธจ. (แบบฟอร์มที่ 1) 2.สรุปมติการประชุมและการขับเคลื่อนงานตามมติของ อสธจ. (แบบฟอร์มที่ 2) 3.ส่งรายงานการประชุมอสธจ. /สรุปมติการประชุมและการ ขับเคลื่อนงานตามมติของ อสธจ. และข้อเสนอแนะต่อการ ดำเนินงานของ อสธจ. (รอบ 6 เดือน 9 เดือน และ 12 เดือน) 4.สรุปรายงานผลการดำเนินงาน อสธจ. ส่งมายังศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย
10
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข ถนนติวานนท์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. 0-2590-4175, 0- 2590-4223, 0-2590-4252, 0- 2590-4256 โทรสาร 0-2591-8180 http://laws.anamai.moph.go.th/index.htm WEB SITE ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.