ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยวราภรณ์ เก่งงาน ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ณ ห้อง ๓๐๑ ชั้น ๓ ตึกแดง ทำเนียบรัฐบาล 1
2
วาระการประชุม ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ ๒เรื่องเพื่อทราบ ๒.๑มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕ เรื่อง การแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการเพื่อบริหารจัดการการระบายน้ำ ๒.๒คำสั่งคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย (กบอ.) ที่ ๗/ ๒๕๕๕ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์ น้ำและจัดสรรน้ำ ลงวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อพิจารณา ๓.๑แนวทางการดำเนินงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณน้ำและ จัดสรรน้ำ ระเบียนวาระที่ ๔เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี) 2
3
3 ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อพิจารณา 3 กรอบการดำเนินงานและคณะทำงาน 1)แนวทางวิเคราะห์ การประเมินสถานการณ์ เกณฑ์พิจารณาต่างๆ ใน ภาวะปกติ และใน ภาวะวิกฤต เพื่อสรุปหาแนวทางแก้ไข นำเสนอต่อ คณะรัฐมนตรีทุกสัปดาห์ 2)แต่งตั้งคณะทำงาน และหน้าที่รับผิดชอบ 3)วิธีการดำเนินงาน วัน เวลา สถานที่ ประชุม ๓.๑แนวทางการดำเนินงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณน้ำและจัดสรรน้ำ
4
การติดตาม สถานการณ์น้ำ การวิเคราะห์ และประเมิน สถานการณ์ เกณฑ์เตือน ภัยต่างๆ Operational Model Mike Basin Mike Flood ขั้นตอนการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ รวม รวม ข้อมู ล scenarios Rule curve Water balance แนวทางการจัดสรรน้ำ ผล การ วิเคร าะห์ 4
5
ขั้นตอนการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ การวิเคราะห์และ ประเมินสถานการณ์โดย ใช้ Operational Flood Model ร่วมกับ เกณฑ์พิจารณาอื่นๆ scenarios สถานการณ์ปกติ พิจารณาสมดุลน้ำ สถานการณ์วิกฤต น้ำท่วม หรือ น้ำแล้ง การคาดการณ์ฝน ข้อมูล สถิติปีน้ำน้อย น้ำมาก และสภาวะวิกฤตต่างๆ (extreme events) สรุปข้อเสนอแนะจาก สมดุลน้ำในแต่ละพื้นที่ กรณีวิกฤต พิจารณาจาก scenarios ต่างๆ ที่อาจ เกิดขึ้น ร่วมกับการบริหาร ของเขื่อนและอาคาร ควบคุม Rule curve Water balance 5
6
6 ข้อมูลหน่วยงาน การคาดการณ์ฝนระยะสั้น-ระยะยาว สภาพภูมิอากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร ปริมาณน้ำ และระดับน้ำ ในลำน้ำ ข้อมูลสภาพลำน้ำ ความจุลำน้ำ กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ อาคารควบคุมต่างๆ (ปตร. สถานีสูบน้ำ) (ปริมาณการระบาย ระดับน้ำ กำลังสูบ) กรมชลประทาน สำนักการระบายน้ำ กทม. ระดับน้ำขึ้น-ลงกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ข้อมูลเขื่อน (การระบาย ปริมาณน้ำในเขื่อน rule curve) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กรมชลประทาน ภาพถ่ายดาวเทียมสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ข้อมูลการใช้น้ำ กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ การประปาส่วนภูมิภาค การประปานครหลวง ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์
7
โครงสร้างของแบบจำลอง real time forecasting และระบบช่วยการตัดสินใจ 7
8
1. WRF(Haii) 2. TMD 3. BMA-Radar Real time update using telemetering data 1.Haii 2.RID 3.DWR 4.EGAT 5.BMA 6.HDRTN Warning Response/ Actions Flood Model +DSS Weather Forecast Database 1.DEM (Haii) 2.River and catchment information (RID, DWR) 3.Operation of dams (EGAT/RID) 4.Operation of structures (RID/BMA) 5.Tide (HDRTN) 1.พยากรณ์ฝน-คำนวณ ปริมาณน้ำท่า 2.พยากรณ์น้ำท่วม 3.การเตือนภัย/มาตรการ รองรับต่างๆ ของหน่วยงาน ที่รับผิดชอบ Different actions การเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการพยากรณ์ 8
9
ฝนในพื้นที่ ปริมาณน้ำไหลเข้าเขต ปริมาตรน้ำท่วม ปริมาณน้ำไหลออก น้ำท่าตามลำน้ำ เขื่อน/ปตร. น้ำไหลไปสู่พื้นที่ถัดไป พื้นที่ย่อย น้ำไหลจากพื้นที่ด้านบน ปริมาณน้ำขาด 9 การประเมินสภาพสมดุลน้ำในแต่ละพื้นที่
10
10 การวิเคราะห์ความเสี่ยงน้ำแล้งการวิเคราะห์ความเสี่ยงน้ำท่วม
11
11 1 2 3 4 5 6 7 89 1010 1 11 พื้นที่ การแบ่งพื้นที่ย่อยของลุ่มน้ำเจ้าพระยา 11
12
12 10. 1 10. 2 10. 3 11. 1 11. 2 11. 3 พื้นที่ย่อยของพื้นที่ 10 และ 11
13
ปริมาณน้ำที่เข้าสู่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาคือ น้ำที่ จะไหลเข้า C2 ที่นครสวรรค์ โดยระบายมา จากลุ่มเจ้าพระยาตอนบน (ปิง วัง ยม น่าน) จากนั้นจะไหลรวมกับแม่น้ำสะแกกรัง และ ไหลลงสู่เจ้าพระยาตอนล่างต่อไป ในกรณีปริมาณน้ำสูงสุดปี 2554 ควรจัดการ ระบายน้ำ โดยแยกออกเป็น 3 ทิศทางคือ 1.แม่น้ำเจ้าพระยา 3,500 ลบ.ม/วินาที 2.ผันออกทางตะวันออก 900 ลบ.ม/ วินาที (คลองชัยนาท-ป่าสัก+เข้าสู่แก้มลิง) 3.ผันออกทางตะวันตก 900 ลบ.ม/วินาที (แม่น้ำน้อย+แม่น้ำสุพรรณ+คลองมะขาม เฒ่าอู่ทอง) 13 แม่น้ำเจ้าพระยา 4,600 cms +แม่น้ำสะแกกรัง 700 cms =5,300 cms แม่น้ำป่าสัก 1,300 cms แม่น้ำเจ้าพระยา 3,500 cms รวมระบาย 5,450 cms* *ไม่รวมการผันน้ำสู่แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำ บางปะกงประมาณ 320 cms 28 ล้าน ลบม.ต่อวัน สถานี C.2 ความจุลำน้ำ 3,500 CMS ภาพรวมศักยภาพการระบาย
14
แบ่งพื้นที่ย่อยเพื่อดูสมดุลน้ำ วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ะละ หน่วยงานในการประสานงานข้อมูล ลุ่มน้ำชี 14
15
แบ่งพื้นที่ย่อยเพื่อดูสมดุลน้ำ วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ะละ หน่วยงานในการประสานงานข้อมูล ลุ่มน้ำมูล 15
16
16 พื้นที่ย่อย ข้อมูลนำเข้า ( จาก หน่วยงานที่ รับผิดชอบ ) สำหรับ แต่ละพื้นที่ย่อย สรุป สถานการณ์ ข้อเสนอแนะ เพื่อนำเสนอ ครม. รวบร วม ข้อมู ล พฤหัส (บ่าย) – คณะทำงานรวบรวม ข้อมูล สรุปสถานการณ์เพื่อนำเข้าที่ ประชุม ศุกร์ (เช้า) – คณะอนุกรรมการ ประชุมวิเคราะห์/ประเมิน สถานการณ์ สรุปข้อเสนอแนะ ศุกร์ (บ่าย) – คณะทำงานสรุปการ ประชุมเพื่อเสนอเข้า ครม. การดำเนินงานและหน้าที่รับผิดชอบ scenarios Rule curve Water balance วิเคร าะห์ สรุป
17
17 พื้นที่ข้อมูลนำเข้าแต่ละพื้นที่และหน่วยงาน รับผิดชอบ เจ้าพระยา (11+6) มูล ชี * ฝน (กรมอุตุนิยมวิทยา, สสนก.) น้ำท่า/ปริมาณน้ำไหลผ่าน/สภาพลำน้ำ (กรมชลประทาน) เกณฑ์การบริหารอาคารควบคุมน้ำต่างๆ (กรมชลประทาน, สำนักระบายน้ำ กทม) ความต้องการใช้น้ำ (กรมชลประทาน, กรมทรัพยากรน้ำ, การประปาส่วนภูมิภาค,การประปานครหลวง) เขื่อน (EGAT, กรมชลประทาน) ระดับน้ำขึ้นลง (กรมอุทกศาสตร์) พื้นที่ย่อย ข้อมูลนำเข้า ( จาก หน่วยงานที่ รับผิดชอบ ) สำหรับ แต่ละพื้นที่ย่อย รวบร วม ข้อมู ล (*พื้นที่นำร่อง และจะขยายให้ครอบคลุมทั้งประเทศต่อไป) การดำเนินงานและหน้าที่รับผิดชอบ
18
18 พฤหัส (บ่าย) - คณะทำงาน รวบรวมข้อมูลนำเข้าที่ประชุม ศุกร์ (เช้า) – ประชุมวิเคราะห์/ ประเมินสถานการณ์ สรุป ข้อเสนอแนะ ศุกร์ (บ่าย) – สรุปการ ประชุมเพื่อเสนอเข้า ครม. คณะทำงานคณะทำงาน/ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน สรุป สถานการณ์ ข้อเสนอแนะ ข้อสั่งการ สรุป หน่วยงา นที่ รับผิดช อบ พื้นที่ชลประทาน ( กรมชลประทาน, EGAT) พื้นที่นอกเขต ชลประทาน ( กรมทรัพยากรน้ำและ กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย ) การดำเนินงานและหน้าที่รับผิดชอบ
19
คณะทำงานรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานที่รับผิดชอบในแต่ะละ พื้นที่ย่อย จากนั้นวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ เพื่อนำเสนอต่อ ที่ประชุมคณะอนุกรรมการ คณะทำงานประชุมทุกวันพฤหัส 13.00- 16.00 น. ร่วมประชุมและสรุปข้อเสนอต่อ ครม. ทุกวันศุกร์ ที่ห้อง ประชุมทำเนียบรัฐบาล คณะอนุกรรมการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์เพื่อสรุป ข้อเสนอแนะหรือข้อสั่งการเพื่อนำเสนอ ครม. คณะอนุกรรมการ ประชุมทุกทุกวันศุกร์ 9.00-11.00 น. ที่ห้องประชุมทำเนียบรัฐบาล ประชุมครั้งต่อไปคณะทำงาน วันพฤหัสที่ 24 พ.ค. 2555 เวลา 13.00-16.00 น. คณะอนุกรรมการ วันศุกร์ที่ 25 พ.ค. 2555 เวลา 9.00-11.00 น. ที่ห้องประชุมทำเนียบรัฐบาล สรุป 19
20
20
21
21 Back Up Slide
22
ปริมาณฝนรายเดือนสะสมปี 2549-2554 เปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยปี 2493-2540 22
23
สรุปคาดการณ์สภาพอากาศปี 2555 พายุที่ส่งผลกระทบต่อสภาพฝนของประเทศไทยจำนวน 3-5 ลูก ปริมาณฝนเฉลี่ยทั้งประเทศ 1,500-1,700 มิลลิเมตร ปริมาณฝนมากในภาคเหนือตอนบน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน ภาคตะวันออก และภาคใต้โดยเฉพาะทางฝั่งตะวันออก ปริมาณฝนน้อยบริเวณจังหวัดราชบุรี เพชรบุรี และ ประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่น้ำท่วมบริเวณลุ่มน้ำโขง ชี มูล ยมตอนล่าง น่านตอนล่าง เจ้าพระยา ท่าจีน ป่าสัก ปราจีนบุรี บางปะกง ตาปี ชายฝั่งทะเล- ภาคใต้ฝั่งตะวันออก และทะเลสาบสงขลา 23
24
สมดุลน้ำ รายละเอียดค่าเฉลี่ยปี 2549ปี 2550ปี 2551ปี 2552ปี 2553ปี 2554 ข้อมูลปริมาณฝน ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย (มิลลิเมตร) 1,3741,5341,4701,5431,4031,4361,824 ปริมาณน้ำที่ได้จากฝน (ล้านลูกบาศก์เมตร) 702,610784,274751,798789,148717,675734,110932,722 ข้อมูลอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ (ล้านลูกบาศก์เมตร) เก็บกัก 56,33161,41858,03655,61051,94949,87261,098 น้ำเข้า 49,76552,53043,76145,99543,44440,71872,143 ระบาย 44,67643,20543,16143,13743,69938,36656,486 ส่วนต่างปริมาณน้ำ (น้ำเข้า – ระบาย) 5,0899,3256002,858-2552,35215,657 หมายเหตุ ปริมาณฝนเฉลี่ย 48 ปี ระหว่างปี 2493 ถึงปี 2540 (สถานีตรวจอากาศกรมอุตุนิยมวิทยา 118 สถานี) ข้อมูลอ่างเก็บน้ำเฉลี่ย 6 ปี ระหว่างปี 2549 ถึงปี 2554 (กรมชลประทาน และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย) พื้นที่ลุ่มน้ำทั้งประเทศประมาณ 511,361 ตารางกิโลเมตร สำหรับคำนวณปริมาณน้ำเป็นพื้นที่ไม่รวมเกาะต่างๆ ยกเว้นเกาะภูเก็ต ส่วนพื้นที่ลุ่มน้ำทั้งประเทศ เมื่อรวมเกาะต่างๆ ประมาณ 512,107 ตารางกิโลเมตร (สำนักนโยบายสาธารณะ สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) พื้นที่ลุ่มน้ำภาคเหนือ 128,448 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ลุ่มน้ำภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 176,600 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ลุ่มน้ำภาคตะวันออก 36,437 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ลุ่มน้ำภาคกลาง และภาคตะวันตก 98,473 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ลุ่มน้ำภาคใต้ 71,403 ตารางกิโลเมตร 24
25
ผ่านน้ำเข้า กรุงเทพ 300 cms วงแหวน ตอ. 300 cms คลองพระองค์เจ้า 500 cms สถานีสูบชายทะเล 500 cms แม่น้ำเจ้าพระยา +คลองลัดโพธิ์ +คลองลัดหลวง 3,700 cms 25 *ไม่รวมการผันน้ำสู่แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำบางปะกงประมาณ 28 ล้าน ลบม.ต่อวัน (320 cms) ผลการคำนวณปี 2554 เป้าหมาย เป้าหมาย +แก้มลิง จำนวนวันที่น้ำท่วม (วัน) 000 ปริมาณน้ำไหลเข้า (ล้าน ลบ.ม.) 2,508 25,08 ปริมาณระบายออก (ล้าน ลบ.ม.) 2,508 25,08 ปริมาตรน้ำท่วม (ล้าน ลบ.ม.) 000 เขต 1 รับน้ำเข้าได้วันละ 95 ล.ลบ.ม./วัน ระบายน้ำได้วันละ 69 ล.ลบ.ม./วัน* หน่วงน้ำได้วันละ 26 ล.ลบ.ม./วัน
26
คลองระพีพัฒน์ 800 cms วงแหวน ตอ. 300 cms ผ่านน้ำเข้า กรุงเทพ 300 cms ผ่านน้ำเข้า กรุงเทพ 300 cms ผันออกแม่น้ำ บางปะกง 40 cms ผันออกแม่น้ำ บางปะกง 40 cms ผันออกแม่น้ำ บางปะกง 40 cms แก้มลิงหนองเสือ 35 MCM แม่น้ำเจ้าพระยา 3,500 cms 26 เขต 2 ผลการคำนวณปี 2554 เป้าหมาย เป้าหมาย +แก้มลิง จำนวนวันที่น้ำท่วม (วัน) 933716 ปริมาณน้ำไหลเข้า (ล้าน ลบ.ม.) 4,5899,678 ปริมาณระบายออก (ล้าน ลบ.ม.) 3,0038,900 ปริมาตรน้ำท่วม (ล้าน ลบ.ม.) 1,586778324 รับน้ำเข้าได้วันละ 121 ล.ลบ.ม./วัน ระบายน้ำได้วันละ 105 ล.ลบ.ม./วัน หน่วงน้ำได้วันละ 16 ล.ลบ.ม./วัน หมายเหตุ : แก้มลิง 450 ล้าน ลบ.ม.
27
ชัยนาท-ป่าสัก 500 cms หลากเข้าสู่ทุ่ง 400 cms แม่น้ำป่าสัก 800 cms คลองระพีพัฒน์ 800 cms แม่น้ำเจ้าพระยา 3,500 cms วงแหวน ตอ. 300 cms หมายเหตุ : น้ำที่หลากลงทุ่ง ใช้เวลาเคลื่อนตัว 10 วัน 27 เขต 3 ผลการคำนวณปี 2554 เป้าหมาย เป้าหมาย +แก้มลิง จำนวนวันที่น้ำท่วม (วัน) 128270 ปริมาณน้ำไหลเข้า (ล้าน ลบ.ม.) 9,670 ปริมาณระบายออก (ล้าน ลบ.ม.) 3,2118,320 ปริมาตรน้ำท่วม (ล้าน ลบ.ม.) 7,2811,3500 รับน้ำเข้าได้วันละ 147 ล.ลบ.ม./วัน ระบายน้ำได้วันละ 121 ล.ลบ.ม./วัน หน่วงน้ำได้วันละ 26 ล.ลบ.ม./วัน หมายเหตุ : แก้มลิง 1 ล้านไร่ ระดับน้ำท่วม 1 เมตร = 1,600 ล้าน ลบ.ม.
28
แม่น้ำเจ้าพระยา 4,600 cms +แม่น้ำสะแกกรัง 700 cms =5,300 cms 28 เขต 4 รับน้ำเข้าได้วันละ 387 ล.ลบ.ม./วัน ระบายน้ำได้วันละ 302 ล.ลบ.ม./วัน ศักยภาพการระบายออก ประเมินจากความจุ แม่น้ำเจ้าพระยา ที่สถานี C.2 นครสวรรค์ = 3,500 ลบ.ม./วินาที ระบายน้ำได้วันละ 302 ล.ลบ.ม./วัน ศักยภาพการระบายออก ประเมินจากความจุ แม่น้ำเจ้าพระยา ที่สถานี C.2 นครสวรรค์ = 3,500 ลบ.ม./วินาที หน่วงน้ำได้วันละ 84 ล.ลบ.ม./วัน ผลการคำนวณปี 2554 เป้าหมาย เป้าหมาย +แก้มลิง จำนวนวันที่น้ำท่วม (วัน) 26 4 ปริมาณน้ำไหลเข้า (ล้าน ลบ.ม.) 35,906 ปริมาณระบายออก (ล้าน ลบ.ม.) 59,574 ปริมาตรน้ำท่วม (ล้าน ลบ.ม.) 1,032 32 หมายเหตุ : แก้มลิง 1,000 ล้าน ลบ.ม. สถานี C.2 ความจุลำน้ำ 3,500 CMS
29
29 เขต 5 รับน้ำเข้าได้วันละ 213 ล.ลบ.ม./วัน ระบายน้ำได้วันละ 125 ล.ลบ.ม./วัน หน่วงน้ำได้วันละ 88 ล.ลบ.ม./วัน ผลการคำนวณปี 2554 เป้าหมาย เป้าหมาย +แก้มลิง จำนวนวันที่น้ำท่วม (วัน) 49 36 ปริมาณน้ำไหลเข้า (ล้าน ลบ.ม.) 13,941 ปริมาณระบายออก (ล้าน ลบ.ม.) 21,834 ปริมาตรน้ำท่วม (ล้าน ลบ.ม.) 1,322 322 หมายเหตุ : แก้มลิง 1,000 ล้าน ลบ.ม.
30
คลองแนวตั้ง 100 cms วงแหวน ตต. 300 cms คลองตาขำ 150 cms แม่น้ำท่าจีน+ คลองลัด 400 cms แม่น้ำท่าจีน 400 cms คลองแนวตั้ง 100 cms 30 เขต 6 ผลการคำนวณปี 2554 เป้าหมาย เป้าหมาย +แก้มลิง จำนวนวันที่น้ำท่วม (วัน) 5534 ปริมาณน้ำไหลเข้า (ล้าน ลบ.ม.) 6,8278,852 ปริมาณระบายออก (ล้าน ลบ.ม.) 5,8978,294 ปริมาตรน้ำท่วม (ล้าน ลบ.ม.) 930558 รับน้ำเข้าได้วันละ 69 ล.ลบ.ม./วัน ระบายน้ำได้วันละ 82 ล.ลบ.ม./วัน หน่วงน้ำได้วันละ 0 ล.ลบ.ม./วัน
31
วงแหวน ตต. 300 cms แม่น้ำท่าจีน 300 cms คลองพระยาบรรลือ 100 cms แม่น้ำท่าจีน 400 cms คลองแนวตั้ง 100 cms 31 เขต 7 ผลการคำนวณปี 2554 เป้าหมาย เป้าหมาย +แก้มลิง จำนวนวันที่น้ำท่วม (วัน) 9837 ปริมาณน้ำไหลเข้า (ล้าน ลบ.ม.) 7,1547,178 ปริมาณระบายออก (ล้าน ลบ.ม.) 4,6256,670 ปริมาตรน้ำท่วม (ล้าน ลบ.ม.) 2,528507 รับน้ำเข้าได้วันละ 69 ล.ลบ.ม./วัน ระบายน้ำได้วันละ 69 ล.ลบ.ม./วัน หน่วงน้ำได้วันละ 0 ล.ลบ.ม./วัน
32
คลองมะขามเฒ่า- อู่ทอง 100 cms แม่น้ำสุพรรณ 500 cms แม่น้ำน้อย 300 cms แม่น้ำท่าจีน 300 cms คลองพระยาบรรลือ 100 cms แม่น้ำเจ้าพระยา 3,500 cms แม่น้ำเจ้าพระยา 2,000 cms คลองโผงเผง+ คลองบางบาล 1,500 cms หมายเหตุ : น้ำที่หลากลงทุ่ง ใช้เวลาเคลื่อนตัว 10 วัน 32 เขต 8 ผลการคำนวณปี 2554 เป้าหมาย เป้าหมาย +แก้มลิง จำนวนวันที่น้ำท่วม (วัน) 54 41 ปริมาณน้ำไหลเข้า (ล้าน ลบ.ม.) 7,203 7,03 ปริมาณระบายออก (ล้าน ลบ.ม.) 3,698 3,721 ปริมาตรน้ำท่วม (ล้าน ลบ.ม.) 3,506 1,855 รับน้ำเข้าได้วันละ 78 ล.ลบ.ม./วัน ระบายน้ำได้วันละ 35 ล.ลบ.ม./วัน หน่วงน้ำได้วันละ 43 ล.ลบ.ม./วัน หมายเหตุ : แก้มลิง 1 ล้านไร่ ระดับน้ำท่วม 1 เมตร = 1,600 ล้าน ลบ.ม.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.