การรักษาดุลยภาพของเซลล์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
สีกับสิ่งทอ Sir william H.perkin ค้นพบสีสังเคราะห์ชนิดแรกเป็นสีเบสิกคือ mauve สารที่มีสีมี 2 ประเภทคือ พิกเมนท์(pigment)และสี(dye) พิกเมนท์เป็นสารมีสีไม่ละลายน้ำและติดอยู่บนผ้าด้วยสารช่วยติด.
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
ผัก.
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
โครเมี่ยม (Cr).
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
หลักการเลี้ยงสัตว์ คำบรรยาย โดย ครูสีกุน นุชชา
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การดูดซึมอาหาร รศ.พญ.ดวงพร ทองงาม.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ (Cell and Cell Compositions)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
การรักษาดุลภาพของเซลล์
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข.
ครูปฏิการ นาครอด.
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
เรื่อง อันตรายของเสียง
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Lec / Soil Fertility and Plant Nutrition
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
โครงสรางพื้นฐานของเซลล
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้
SMS News Distribute Service
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในใยประสาท
CARBOHYDRATE METABOLISM
บทที่ ๑ การพูดและการนำสนอเพื่องานนิเทศศาสตร์
ระบบย่อยอาหาร.
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล
Structure of Flowering Plant
การแบ่งเซลล์ (CELL DIVISION)
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรักษาดุลยภาพของเซลล์

เซลล์ต่างๆ ในร่างกายเรา ต้องการรักษาดุลยภาพ โดยการควบคุมการผ่านเข้า-ออกของสารระหว่างเซลล์ สารที่เซลล์ต้องการลำเลียง ได้แก่ น้ำ สารอาหาร ออกซิเจน แร่ธาตุ / ของเสีย คาร์บอนไดออกไซด์ กลไกการลำเลียงผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ได้แก่ Passive transport และ Active transport

การลำเลียงสาร ผ่านเข้าออกเซลล์ การลำเลียงสาร ผ่านเข้าออกเซลล์ สารทะลุผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ สารไม่ทะลุผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ Passive Transport Active Transport Endocytosis Exocytosis Simple Diffusion  Diffusion Phagocytosis Pinocytosis Receptor- Mediated Endocytosis Facilitated Diffusion  Osmosis

การลำเลียงสาร แบบทะลุผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ Passive transport 1. Simple Diffusion เป็นการแพร่ของสารจากที่ที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่ความเข้มข้นต่ำ ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ ได้แก่ อุณหภูมิ ความเข้มข้น ขนาดโมเลกุล สารสามารถละลายเข้ากับเยื่อหุ้มเซลล์ เช่น พวกไขมัน แก๊สต่างๆ หรือเข้าตามรูของเยื่อหุ้มเซลล์ (protein channel หรือ protein pore) เช่น พวกไอออนต่างๆ (Na+ K+ Cl+)

การลำเลียงสาร แบบทะลุผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ Passive transport 2. Facilitated Diffusion เป็นการเคลื่อนที่ของสารโดยผ่านโปรตีนตัวพา (protein carrier) ที่เกาะอยู่ตามเยื่อหุ้มเซลล์ เป็นการแพร่ชนิดหนึ่ง ไม่ต้องอาศัยพลังงานในการลำเลียงสาร โปรตีนตัวพาสามารถเปลี่ยนรูปร่างให้เหมาะต่อการขนส่งสารได้ อัตราการแพร่จะเร็วในช่วงแรก และจะค่อยๆช้าลงเพราะโปรตีน ตัวพามีจำกัด

การลำเลียงสาร แบบทะลุผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ Passive transport 3. Osmosis เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของน้ำผ่านเยื่อเลือกผ่าน โดยน้ำจะเคลื่อนที่จากที่มีน้ำมากไปน้ำน้อย เราแบ่งสารละลายที่อยู่นอกเซลล์ได้เป็น 3 ชนิด ได้แก่ Hypotonic solution (ในเซลล์เข้มข้นกว่า) Isotonic solution (นอกและในเซลล์เข้มข้นเท่ากัน) Hypertonic solution (ในเซลล์เข้มข้นน้อยกว่า)

แรงดันออสโมซิส (Osmotic pressure) ถ้ามีความเข้มข้นมาก แรงดันนี้จะมาก แรงดันเต่ง (Turgor pressure) ถ้ามีน้ำมาก แรงดันนี้จะมาก Plasmolysis อาการเซลล์เหี่ยว พบทั้งในเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ Plasmoplysis อาการเซลล์แตก ไม่พบในเซลล์พืช เพราะมีผนังเซลล์แข็งแรง

Active transport Sodium potassium pump ที่เซลล์ประสาท เป็นการเคลื่อนที่ของสาร โดยอาศัยพลังงานในรูป ATP เช่น Sodium potassium pump ที่เซลล์ประสาท การดูดซึมสารอาหารที่ ลำไส้เล็ก การดูดสารกลับที่หน่วยไต การดูดแร่ธาตุที่รากพืช

การลำเลียงสาร แบบไม่ทะลุผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ การลำเลียงสารไม่ทะลุผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ เป็นการเคลื่อนที่ของสารโดยการสร้างถุงผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ โดยไม่ทะลุผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ อาจเรียกว่า Bulk transport ได้แก่ …

1.Exocytosis เป็นการส่งสารออกจากเซลล์โดยการส่งสารไปยัง golgi body เพื่อสร้างเป็น versicle

2. Endocytosis เป็นการรับสารเข้าสู่เซลล์ ได้แก่ pinocytosis (cell drinking), Phagocytosis (cell eating) และ receptor mediated endocytosis (อาศัย Receptor เป็นตัวรับสาร ทำให้รับสารได้จำเพาะเจาะจง)

การสื่อสารระหว่างเซลล์ กระบวนการสื่อสารระหว่างเซลล์ มี 3 ขั้นตอน คือ 1. การรับสัญญาณ โดย Recepter , สารสื่อประสาท 2. การส่งสัญญาณ โดยอาศัย สารเคมี , ฮอร์โมน 3. การตอบสนอง ได้แก่ สร้างเอนไซม์ , ตาย , เจริญเติบโตขึ้น