การกระแทกตามแนวศูนย์กลาง (direct central impact)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
Kinetics of Systems of Particles A B C F A1 F A2 F C1 F B1 F B2 Particles A B C System of Particles.
สมการการเคลื่อนที่ในระบบพิกัดต่าง ๆ - พิกัดฉาก (x-y)
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
อนุภาค โมเลกุล อะตอม ไอออน 6.2 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Engineering Mechanics
Engineering mechanic (static)
ผมไม่ได้มีทุกอย่างมาตั้งแต่เกิดนะครับ ผมเป็นคนรักสันโดษ.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การพยาบาลผู้ป่วย On Skin Traction
บทที่ 8 คลื่นและคลื่นเสียง
ฟิสิกส์1 และ หลักฟิสิกส์1
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
Number system (Review)
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ความเค้นและความเครียด
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
บทที่ 4 งาน พลังงาน กำลัง และโมเมนตัม
DC Voltmeter.
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
บทที่ 6 งานและพลังงาน 6.1 งานและพลังงาน
แรงและการเคลื่อนที่.
Linearization of Nonlinear Mathematical Models
คลื่นและสมบัติความเป็นคลื่น
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
แผ่นดินไหว.
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
โลกของคลื่นและปรากฏการณ์คลื่น
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 5 แสงและทัศนะศาสตร์ Witchuda Pasom.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในใยประสาท
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความดัน (Pressure).
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion)
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกระแทกตามแนวศูนย์กลาง (direct central impact) Line of Impact การกระแทก (Impact) การกระแทกตามแนวศูนย์กลาง (direct central impact) vB วัตถุสองชิ้น A และ B ซึ่งชนกันจะเคลื่อนที่ตาม แนวการกระแทก (line of impact ) ด้วยความเร็ว vA และ vB ตามลำดับ จะใช้ 2 สมการเพื่อหาความเร็วหลังการกระแทก v’A และ v’B B A Before Impact vA สมการที่ 1 การอนุรักษ์โมเมนตัมรวมของวัตถุทั้งสอง v’B B mAvA + mBvB = mAv’A + mBv’B A After Impact v’A

v’B - v’A = e (vA - vB ) สมการที่ 2 ความเร็วสัมพัทธ์ของวัตถุทั้งสอง Line of Impact สมการที่ 2 ความเร็วสัมพัทธ์ของวัตถุทั้งสอง ก่อนและหลังการกระแทก v’B - v’A = e (vA - vB ) vB B A Before Impact ค่าคงที่ e เรียกว่า สัมประสิทธ์การกระแทก (coefficient of restitution) ซึ่งมีค่าในช่วง 0 ถึง 1 โดยขึ้นอยู่กับชนิดของวัสดุ vA v’B e = 0 เรียกว่า การกระแทกอย่างพลาสติค สมบูรณ์ (perfectly plastic) B e = 1 เรียกว่า การกระแทกอย่างยืดหยุ่น สมบูรณ์ (perfectly elastic) A After Impact v’A

vA vB Deformation period mA Fd mB v0 v0 mA Fr mB Restoration period v’A v’B บอล A บอล B

จากคุณสมบัติของวัสดุ การกระแทกเยื้องศูนย์ (oblique central impact) n Line of Impact พิจารณาโดยใช้ส่วนประกอบในแนว n (แนวกระแทก) และแนว t (แนวสัมผัสร่วม) ใช้ 4 สมการ t B vB แนวแกน t A (vA)t = (v’A)t (vB)t = (v’B)t Before Impact vA แนวแกน n v’B n mA (vA)n + mB (vB)n = mA (v’A)n + mB (v’B)n t v’A B vB จากคุณสมบัติของวัสดุ A After Impact (v’B)n - (v’A)n = e [(vA)n - (vB)n] vA

Example บนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทาน บอลชนิดเดียวกัน A และ B ชนกัน โดยที่บอล A เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว vA = 6 m/s เข้าชนบอล B ซึ่งอยู่นิ่งในทิศทางดังรูป ถ้าสัมประสิทธิ์การกระแทก e = 0.6 จงหา 1) ขนาดของความเร็วของ A และ B หลังชน 2) พลังงานจลน์ที่สูญเสียไปทั้งหมดเป็นกี่ % ของพลังงานจลน์ก่อนชน B A vA = 6 m/s 30o

Problem ขว้างบอลกระทบพื้นด้วยความเร็ว 16 m/s ทำมุม 30o กับพื้น ถ้าสัมประสิทธิ์การกระแทก e = 0.5 จงหาขนาดและทิศทางของความเร็วของบอลขณะสะท้อนจากพื้น v = 16 m/s 30o

Problem บนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทาน บอลชนิดเดียวกัน A และ B ชนกัน โดยที่บอล A เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 6 m/s เข้าชนบอล B ที่มีความเร็ว 4 m/s ในทิศทางดังรูป ถ้าสัมประสิทธิ์การกระแทก e = 0.6 จงหา 1) ขนาดของความเร็วของ A และ B หลังชน 2) พลังงานจลน์ที่สูญเสียไปทั้งหมดเป็นกี่ % ของพลังงานจลน์ก่อนชน 60o vB = 4 m/s B A vA = 6 m/s 30o

Problem บนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทาน บอล A มวล 5 kg และบอล B มวล 2 kg ชนกันด้วยความเร็วดังรูป ถ้าสัมประสิทธิ์การกระแทก e = 0.4 จงหาความเร็วของ A และ B หลังชน vB = 7 m/s 20o B A vA = 3 m/s 60o

Problem บนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทาน บอล A มวล 2 kg และบอล B มวล 5 kg ชนกันด้วยความเร็วดังรูป ถ้าสัมประสิทธิ์การกระแทก e = 0.5 จงหา 1) ขนาดของความเร็วของ A และ B หลังชน 2) พลังงานจลน์ที่สูญเสียไปทั้งหมดเป็นกี่ % ของพลังงานจลน์ก่อนชน 60o vB = 1 m/s B A vA = 20 m/s 30o

Problem บนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทาน บอล A มวล 10 kg และบอล B มวล 5 kg ชนกันด้วยความเร็วดังรูป ถ้าสัมประสิทธิ์การกระแทก e = 0.5 จงหาความเร็วของ A และ B หลังชนในแกน x และแกน y y vB = 5 m/s t 30o n B 20o x A 45o vA = 3 m/s