สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ธาตุและสารประกอบ.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ธาตุและสารประกอบ.
พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก
Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
Number system (Review)
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
ความเค้นและความเครียด
A L U M I N I U M นายจักรกฤษณ์ หมวกผัน นายเอกราช รอดสว่าง
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
ตารางธาตุ.
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
ตารางธาตุ Periodic Table.
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
อะตอม คือ?. แบบจำลองอะตอม โดย ครูเกษศิรินทร์ พลหาญ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Watt Meter.
ครูปฏิการ นาครอด.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
ตารางธาตุ.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
Alkyne และ Cycloalkyne
Chemistry Introduction
อะตอม และ ตารางธาตุ โดย อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 สารและสมบัติของสาร ว มัธยมศึกษาปีที่ 5.
บทที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
General Chemistry Quiz 9 Chem Rxn I.
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
บทที่ 6 อุณหภูมิและความร้อน
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
กำเนิดโลก ตามทฤษฏีบิกแบง ในยุคเริ่มแรกจักรวาลมีขนาดเล็ก พลังงานมหาศาลอัดแน่นเป็นสสาร ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอสไตน์ (E = mc2) เมื่อจักรวาลเย็นตัวลง.
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
ความดัน (Pressure).
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
เลขออกซิเดชัน 5. ธาตุออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปจะมีเลขออกซิเดชัน -2
โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
สมบัติธาตุตามตารางธาตุ
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ 1.ขนาดอะตอม 2.พลังงานไอออไนเซชัน 3.อิเล็กโทรเนกาติวิตี 4.จุดหลอมเหลวและจุดเดือด 5.เลขออกซิเดชัน

1.ขนาดอะตอม

สรุปแนวโน้มขนาดอะตอมของธาตุในตารางธาตุ ธาตุในหมู่เดียวกัน เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น ขนาดอะตอมจะใหญ่ขึ้น เพราะ ธาตุในหมู่เดียวกันมีจำนวนระดับพลังงานเพิ่มขึ้น

ธาตุในคาบเดียวกัน เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น ขนาดอะตอมจะเล็กลง เพราะ ธาตุในคาบเดียวกันมีจำนวนระดับพลังงานเท่ากัน

2.พลังงานไอออไนเซชัน(IE) หมายถึง พลังงานที่ต้องใช้สำหรับทำให้อิเล็กตรอนวงนอกสุดของอะตอมหรือไอออนในสภาวะก๊าซ หลุดออกไป 1 อิเล็กตรอน

X(g) + IE ----> X +(g) + e- เขียนเป็นสมการทั่วๆ ไปได้ดังนี้ X(g) + IE ----> X +(g) + e- IE = พลังงานไอออไนเซชัน

สรุปแนวโน้มค่า IE ก. ธาตุในหมู่เดียวกัน ค่า IE1 จะลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะธาตุในหมู่เดียวกัน เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้นขนาดของอะตอมจะใหญ่ขึ้น ทำให้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนน้อยลง ค่าจึงลดลง

ข. ธาตุในคาบเดียวกัน ค่า IE1 จะเพิ่มขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะขนาดอะตอมเล็กลงตามลำดับนั่นเอง ดังนั้นโลหะจึงมีค่า IE1 ต่ำกว่าอโลหะ

3.อิเล็กโทรเนกาติวิตี อิเล็กโทรเนกาติวิตี(EN)เป็นความสามารถของอะตอมของธาตุในการดึงดูดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะให้เข้าใกล้นิวเคลียส

ธาตุที่มีอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงกว่าจะแสดงอำนาจไฟฟ้าลบ ธาตุที่มีอิเล็กโทรเนกาติวิตีต่ำกว่า จะแสดงอำนาจไฟฟ้าบวก

สรุปแนวโน้มค่า EN ก. ธาตุในหมู่เดียวกัน ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีมีแนวโน้มลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น เนื่องจากขนาดอะตอมใหญ่ขึ้น ทำให้แรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนมีค่าลดลง ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีจึงต่ำ

ข. ธาตุในคาบเดียวกัน ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น เนื่องจากขนาดอะตอมเล็กลง ทำให้แรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนมีค่ามากขึ้น สามารถดึงดูดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะให้เข้าใกล้นิวเคลียส ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีจึงสูง

ค. ธาตุเฉื่อย ไม่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี เนื่องจากธาตุเฉื่อยเกิดสารประกอบได้ยาก จึงไม่ได้คำนวณไว้

4.จุดเดือดและจุดหลอมเหลว จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของธาตุขึ้นอยู่กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ถ้าแรงระหว่างโมเลกุลมีค่ามาก จุดหลอมเหลวและจุดเดือดจะมีค่าสูง ถ้าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมีค่าน้อยจุดหลอมเหลวและจุดเดือดจะมีค่าต่ำ

แผนภาพแสดงแนวโน้มของจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของธาตุต่างๆ

แบบฝึกหัด A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T W X Y Z IA IIA IIIA IVA VA VIA VIIA VIIIA A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T W X Y Z ก.ธาตุใดมีพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 สูงที่สุด ข.ธาตุใดมีขนาดอะตอมใหญ่ที่สุด ค.ธาตุใดมีค่า อิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงที่สุด ง.ธาตุใดมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ำที่สุด

5.เลขออกซิเดชัน เลขออกซิเดชัน เป็น ค่าประจุไฟฟ้า หรือประจุสมมุติของอะตอมหรือไอออนของธาตุ โดยคิดจากจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้หรือรับตามเกณฑ์ที่กำหนดขึ้น

เกณฑ์กำหนดค่าเลขออกซิเดชันของธาตุ 1. ธาตุอิสระทุกชนิด มีเลขออกซิเดชัน = 0 ธาตุอิสระดังกล่าวไม่ว่าจะอยู่ในรูปของอะตอม หรือโมเลกุล ไม่ว่าจะมีกี่อะตอมในโมเลกุล เช่น Na , H2 , S8 , P4 ต่างก็มีเลขออกซิเดชันเป็น 0

2. เลขออกซิเดชันของไอออน = ประจุของไอออน เช่น Mg2+ มีเลขออกซิเดชัน = +2 Al3+ มีเลขออกซิเดชัน = +3 S2- มีเลขออกซิเดชัน = -2

3. เลขออกซิเดชันของธาตุบางชนิดใน สารประกอบมีค่าเฉพาะตัวดังนี้ ก. เลขออกซิเดชันของโลหะแอลคาไล ได้แก่ โลหะหมู่ IA เช่น Li , Na, K, Rb , Cs ในสารประกอบมีค่าเท่ากับ +1

ข. เลขออกซิเดชันของโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท ได้แก่ โลหะหมู่ที่ IIA เช่น Mg , Ba , Ca ในสารประกอบมีค่าเท่ากับ +2

ค. เลขออกซิเดชันของออกซิเจน (O) ในสารประกอบทั่วไปมีค่าเท่ากับ -2 ยกเว้น - สารประกอบเปอร์ออกไซด์ เช่น H2O2 BaO2 Na2O2 O มีเลขออกซิเดชันเป็น -1 - สารประกอบซูเปอร์ออกไซด์ เช่น NaO2 KO2 O มีเลขออกซิเดชันเป็น -½ ใน OF2 เป็น +2

ง. เลขออกซิเดชันของไฮโดรเจน ในสารประกอบทั่วไปเป็น +1 ยกเว้น ในสารประกอบไฮไดรด์ เช่น NaH, CaH2 , AlH2 , เป็น -1

4. ในสารประกอบใดๆ “ผลรวมของเลขออกซิเดชันของทุกอะตอมเท่ากับศูนย์” เช่น เลขออกซิเดชันของสารประกอบ KMnO4 = 0 เลขออกซิเดชันของสารประกอบ MnO2 = 0

เลขออกซิเดชันของ MnO4- = -1 เลขออกซิเดชันของ Cr2O72- = -2 5. ไอออนเชิงซ้อน (ไอออนที่ประกอบด้วยอะตอม มากกว่า 1 ชนิด) “ผลรวมของเลขออกซิเดชันของทุกๆ อะตอมเท่ากับประจุของไอออน” เช่น เลขออกซิเดชันของ MnO4- = -1 เลขออกซิเดชันของ Cr2O72- = -2

จงคำนวณเลขออกซิเดชันของธาตุแฮโลเจนในสารประกอบต่อไปนี้ ตัวอย่าง จงคำนวณเลขออกซิเดชันของธาตุแฮโลเจนในสารประกอบต่อไปนี้ HClO4 KIO3 OF2 HBr

วิธีทำ HClO4 H + Cl + 4O = 0 (+1) + Cl + 4(-2) = 0 Cl = +7

KIO3 K + I + 3O = 0 (+1) + I + 3(-2) = 0 I = +5

OF2 O + 2F = 0 (-2) + 2(F) = 0 F = -1 HBr H + Br = 0 (+1) + Br = 0 Br = -1