หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 18 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 2
Advertisements

หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 17 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 1
หน่วยที่ 3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 19 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า
ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ
หน่วยที่ 5 กฎของโอห์ม.
หน่วยที่ 14 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบไม่มีแกนเหล็ก
หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยที่ 7 ผลกระทบของแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
การตรวจสอบสภาพมอเตอร์คอมเพรสเซอร์
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าและ
บทที่ 3 เรื่อง การต่อตัวต้านทาน.
บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
บทที่ 7 วงจรไบอัสกระแสตรง
ไฟฟ้าคืออะไร หนังสือวิทยาศาสตร์ หรือเว็บไซต์ต่างๆ ให้ความหมายที่แตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น - ไฟฟ้า คือ พลังงานรูปหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นได้
หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ( I ) ความต้านทาน ( R ) และความต่างศักย์ (E, V)
ครูวัฒนา พุ่มมะลิ (ครูเจ๋ง)
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
Gas Turbine Power Plant
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
776 วงจรไฟฟ้า 1 หน่วยที่ 3 แผ่นที่ 3.1/11 กำลังไฟฟ้า
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
การควบคุมการไหลของกำลังไฟฟ้า
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
A L U M I N I U M นายจักรกฤษณ์ หมวกผัน นายเอกราช รอดสว่าง
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
Piyadanai Pachanapan, Power System Engineering, EE&CPE NU
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
Basic Electronics.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
การประมาณโหลดไฟฟ้าเบื้องต้น Electrical Load Estimation
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
ด้วยตัวเอง โดยใช้แรงต้าน
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
Electrical Instruments and Measurements
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-1 หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด ความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม   การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-2 ถ้าต้องการให้โวลต์มิเตอร์ วัดแรงดันไฟฟ้าได้ค่า มากขึ้นจะต้องทำอย่างไร ? a 3 2 6 9 kW COM W ถ้าต้องการให้โอห์มมิเตอร์วัดความต้านทานไฟฟ้าได้ค่ามากขึ้นจะต้องทำอย่างไร ? การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

สเกลของโอห์มมิเตอร์กำหนดได้อย่างไรและมีขั้นตอนอย่างไร? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-3 สเกลของโอห์มมิเตอร์กำหนดได้อย่างไรและมีขั้นตอนอย่างไร? กำหนดจากส่วนกลับของค่า Iเพราะว่า R แปรผกผันกับ I ซึ่งเป็นไปตามกฎของโอห์ม 0W aW Rx Ix สเกลของโอห์มมิเตอร์แบบขนาน 0W aW Iy1 Rx1 สเกลของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรมและผสม การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

วงจรของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรมประกอบด้วยอะไรบ้าง? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-4 วงจรของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรมประกอบด้วยอะไรบ้าง? N s Rs Rz E1 Rm Rs Rz E1 + - การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

ของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-5 การกำหนดสเกล ของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มีขั้นตอนอย่างไร? 1. ลัดวงจรที่ปลายสายวัด Rm Rs Rz E1 + - Im ImRm + ImRs + ImRz = E1 Im (Rm + Rs + Rz) = E1 (Rm + Rs + Rz) = E1/Im Rz = E1/Im - (Rm + Rs) เพื่อหาค่า Rz การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

เพื่อหาค่า Rx ที่ตำแหน่ง Ixค่าต่างๆ (Ix เป็นกระแสไฟฟ้าใดๆ บนสเกล) เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-6 2. ต่อ Rx ที่ปลายสายวัด Rm Rs Rz E1 + - Ix Rx IxRm + IxRs + IxRz + IxRx = E1 Ix (Rm + Rs + Rz + Rx) = E1 (Rm + Rs + Rz + Rx) = E1/Ix Rx = E1/Ix - (Rm+ Rs +Rz) เพื่อหาค่า Rx ที่ตำแหน่ง Ixค่าต่างๆ (Ix เป็นกระแสไฟฟ้าใดๆ บนสเกล) การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

การกำหนดตำแหน่ง Ix ให้ เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-7 การกำหนดตำแหน่ง Ix ให้ กำหนดตั้งแต่ 100% ถึง 0% Rm Rs Rz E1 + - Ix Rx Ix1 = 100 % Im Ix2... = (90 %… 10 %) Im Ixสุดท้าย = 0 % Im การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

การขยายย่านวัดของ โอห์มมิเตอร์ มีหลักการอย่างไร? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-8 การขยายย่านวัดของ โอห์มมิเตอร์ มีหลักการอย่างไร? การทำให้โอห์มมิเตอร์สามารถวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าได้มากหรือกว้างขึ้นกว่าเดิม หลักการในการขยายย่านวัด 1. ลดความต้านทานไฟฟ้า ภายในวงจรของโอห์มมิเตอร์ 2. เพิ่มค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าของ แหล่งจ่ายไฟฟ้าของ โอห์มมิเตอร์ การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

การขยายย่านวัดของโอห์มมิเตอร์มีหลักการอย่างไรบ้าง? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-9 การขยายย่านวัดของโอห์มมิเตอร์มีหลักการอย่างไรบ้าง? 1. ลดค่าความต้านทานไฟฟ้าภายใน ของโอห์มมิเตอร์ 2. เพิ่มค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าของ แหล่งจ่ายไฟฟ้าภายในของโอห์ม มิเตอร์ เนื่องจากโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรมไม่สามารถลดค่าความต้านทานภายในได้ (เพราะว่าเป็นวงจรแบบอนุกรม) ดังนั้นจึงขยายย่านวัดโดยการเพิ่มค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟฟ้าเท่านั้น การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

วงจรการขยายย่านวัดของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-10 วงจรการขยายย่านวัดของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม ประกอบด้วยอะไรบ้าง? Rm Rs Rz E1=3V + - E2=30V 0W aW 0.75 2.0 4.5 12.0 7.5 20 45 120 E2> E1 เป็น 10 เท่าทำให้ตัวเลขกำกับสเกลห่างกัน 10 เท่า ถ้าสเกลบนเป็น Rx1 สเกลล่างจึงเป็น Rx10 การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

วงจรมัลติมิเตอร์ที่สามารถวัด V, A และ W ได้อย่างละ 1 ย่านวัด เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-11 มัลติมิเตอร์ มีลักษณะอย่างไร? เครื่องวัดไฟฟ้าที่สามารถวัดปริมาณไฟฟ้าได้ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป เช่น วัด V, A, W Rm Rs Rz V + - E1 A W Rs1 Rsh วงจรมัลติมิเตอร์ที่สามารถวัด V, A และ W ได้อย่างละ 1 ย่านวัด การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ