การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การเขียนโครงร่างวิจัย
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ความเป็นมาของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ความหมายของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ขอบข่ายการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ การประเมินโครงการและการจัดลำดับ.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
Material requirements planning (MRP) systems
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Seminar 1-3.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
หลักเทคนิคการเขียน SAR
ขั้นตอนในการติดตามผลการปฏิบัติงานโครงการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
แนวทางการจัดทำรายงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
1.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาระบบประเมินตนเอง
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การวางแผนกำลังการผลิต
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทที่ ๓ การวางแผนการพัฒนา Development Planning
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada

ความสำคัญของการประเมินผลโครงการ ช่วยให้การกำหนดวัตถุประสงค์หรือมาตรฐานของการดำเนินงานมีความชัดเจน ช่วยให้การใช้ทรัพยากรเกิดประโยชน์เต็มที่หรือเป็นไปอย่างคุ้มค่า ช่วยให้แผนงานบรรลุวัตถุประสงค์ ช่วยในการควบคุมคุณภาพของงาน ช่วยในการตัดสินใจในการบริหารโครงการ yalada

ความหมายของการประเมินผลโครงการ การประเมินผลโครงการ หมายถึง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อหาข้อมูลที่เป็นจริงเกี่ยวกับโครงการโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ การวางแผน การดำเนินการ และผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นการกำหนดคุณค่าหรือข้อดีของโครงการดังกล่าวว่าดีหรือไม่ yalada

ประเภทของการประเมินผลโครงการ การแบ่งตามลำดับเวลาการบริหารโครงการ การประเมินผลก่อนเริ่มโครงการ การประเมินผลขณะดำเนินโครงการ การประเมินผลหลังจากโครงการสิ้นสุด การแบ่งตามลักษณะการตัดสินใจ การประเมินความก้าวหน้าของโครงการหรือการประเมินผล การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ yalada

การแบ่งตามสิ่งที่ถูกประเมิน หรือตามแบบ CIPP การประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการ (Context) การประเมินปัจจัยนำเข้า (Input) การประเมินกระบวนการ (Process) การประเมินผลงานหรือผลผลิต (Product) การแบ่งตามวัฏจักรของการวางแผนโครงการ การประเมินก่อนการดำเนินงาน (Pre-evaluation) การประเมินขณะกำลังดำเนินงาน (On– going evaluation) การประเมินเมื่อโครงการสิ้นสุด (End–of–project evaluation) การประเมินหลังโครงการสิ้นสุด (Post–project evaluation) yalada

ประเภทของการประเมินผล ประเภทของการตัดสินใจ ประเภทของการประเมินผล ประเภทของการตัดสินใจ 1. การประเมินก่อน การประเมินสภาพแวดล้อม กำหนดวัตถุประสงค์ เริ่มโครงการ (Context) การประเมินปัจจัยนำเข้า เลือกแนวทางปฏิบัติ (Input) โครงการ 2. การประเมิน การประเมินกระบวนการ ปฏิบัติและปรับปรุง ขณะดำเนินโครงการ (Process) (ถ้าจำเป็น) โครงการ 3. การประเมิน การประเมินผลงาน ปรับปรุงปรับขยายโครงการ เมื่อโครงการสิ้นสุด (Product) และยกเลิกโครงการ 4. การประเมินหลังโครงการสิ้นสุด yalada

ลำดับเวลาการบริหารโครงการ ลักษณะการตัดสินใจ วัฎจักรของการวางแผน สิ่งที่ถูกประเมิน 1. การประเมินก่อนเริ่มโครงการ - ศึกษาความเป็นไปได้ - การประเมินร่างโครงการ 1. การประเมินก่อนการปฏิบัติตามแผน 1. การประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการ 2. การประเมินขณะดำเนินโครงการ - ดูความก้าวหน้า/ผลสัมฤทธิ์ - ปัญหาอุปสรร 1. การประเมินความก้าวหน้าของโครงการ 2. การประเมินขณะปฏิบัติตามแผน 2. การประเมินปัจจัยนำเข้า 3. การประเมินเมื่อโครงการสิ้นสุด 2. การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการ 3. การประเมินหลังจากปฏิบัติงานเสร็จแล้ว 3. การประเมินกระบวนการ - ดูผลปฏิบัติงาน - ดูความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ - ดูประสิทธิภาพและความประหยัด - ดูความเพียงพอของโครงการ 4. การประเมินหลังโครงการสิ้นสุด - ดูผลผลิต - ดูผลลัพธ์ - ดูผลกระทบ 4. การประเมินผลงานหรือผลผลิต yalada

ขั้นตอนในการประเมินผลโครงการ การกำหนดวัตถุประสงค์สำหรับการประเมินผล การเลือกวัตถุประสงค์ของโครงการที่ต้องการจะวัด การเลือกอุปกรณ์ เครื่องมือและกระบวนการ การเลือกตัวอย่าง การกำหนดการวัด และตารางเวลาการสังเกต การเลือกเทคนิควิเคราะห์ การหาข้อสรุปและเสนอแนะ yalada

การวางแผนการประเมินผล ขั้นตอนที่ 1 กำหนดผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ขั้นตอนที่ 2 จัดการประชุมเบื้องต้น ขั้นตอนที่ 3 ประเมินความสามารถที่จะรับการประเมิน ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ขั้นตอนที่ 5 กำหนดระเบียบวิธีวิจัย ขั้นตอนที่ 6 การนำเสนอโครงร่างผลการประเมินผลที่เป็นลายลักษณ์อักษร yalada

รูปแบบการประเมินผลโครงการ การประเมินแบบทดลอง กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม การประเมินแบบกึ่งทดลอง การประเมินเฉพาะกลุ่มทดลอง การประเมินโดยใช้กลุ่มเปรียบเทียบ การประเมินที่ไม่ใช่การทดลอง เป็นการประเมินเฉพาะกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง เป็นการประเมินเฉพาะกลุ่มทดลองทั้งก่อนและหลังการทดลอง เป็นการประเมินกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองเฉพาะหลังการทดลอง yalada

การเขียนรายงานการประเมินผลโครงการ ปกหน้าของรายงาน ชื่อโครงการ สถานที่ ชื่อผู้ประเมิน ชื่อบุคคล หรือคณะกรรมการที่รายงานเสนอถึง ช่วงระยะเวลาที่งานประเมินครอบคลุมถึง เวลาที่เสนอรายงานการประเมิน yalada

ตัวรายงาน ส่วนสรุปย่อ บทนำ รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ วิธีการประเมินโครงการ และขอบเขตการประเมิน ผลของการประเมิน การอภิปรายผล บทสรุปและข้อเสนอแนะ yalada

ขอขอบคุณที่สนใจฟัง... yalada