Subroutine ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. Subrountine – คือส่วนหนึ่งของ code จากโปรแกรมทั้งหมด สำหรับปฏิบัติงานโดยเฉพาะ และเป็นอิสระ จาก code ส่วนอื่นของโปรแกรม ประโยชน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
กระบวนการ (Process).
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงาน.
Introduction to C Programming
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
ข้อตกลงการใช้ Stack และ Recursion
Register Allocation and Graph Coloring
การผลิตโค๊ดสำหรับ Procedure Call
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
Functional Programming
Data Type part.III.
Data Structures and Algorithms
CS Assembly Language Programming
Structure Programming
Structure Programming
Computer Programming 1 LAB # 6 Function.
Function.
องค์ประกอบของโปรแกรม
โครงสร้างภาษาซี.
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
ครั้งที่ 7 Composition.
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
C Programming Lecture no. 6: Function.
Functions & Sub Program ฟังก์ชันและโปรแกรมย่อย
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
Computer Architecture and Assembly Language
Functional components of a computer
บทที่ 15 โปรแกรมย่อยและแสต็ก
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงานลักษณะของฟังก์ชั่นมีความรอบรัดสั้นกว่าแบบวนลูป.
การรวมฐานข้อมูล. 1. เลือกฐานข้อมูลหลักสำหรับรวมกับฐานข้อมูลอื่นๆ 2. เปลี่ยนชื่อฐานข้อมูลให้ตรงกับฐานข้อมูลหลักในข้อ 1 ใน C:\Program Files\RegMis เปิดไฟล์
การสร้างฟังก์ชั่นเพื่อพัฒนาโปรแกรม Interactive C
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
C language W.lilakiatsakun.
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
Computer Programming for Engineers
Call by reference.
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ฟังก์ชัน.
Developing our strategy Ten questions that need to be answered.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักสูตรอบรมครู คอมพิวเตอร์ หลักสูตรอบรมครู คอมพิวเตอร์ หลักสูตรที่ ๑ ทักษะการโปรแกรม เบื้องต้น วันที่สาม.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Lab.
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
A QUICK OVERVIEW OF PDP-8 ARCHITECTURE
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Computer What are they? – อุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์ที่ทำงานภายใต้คำสั่งงานที่เก็บอยู่ ในหน่วยความจำ โดยคอมพิวเตอร์ จะ สามารถรองรับ ข้อมูล หรือ Input ทำการประมวลผล.
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
Addressing Modes ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
Assembly Languages: PDP8
Function ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. What is a function ฟังก์ชันในภาษา C เป็นโปรแกรมที่ถูกออกแบบมาเพื่อ ใช้แก้ปัญหางานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ฟังก์ชันจะเปลี่ยน input.
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
Customer Relationship Management (CRM)
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
Computer Programming การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 6 คำสั่งควบคุมการทำงานแบบ เงื่อนไขและคำสั่งควบคุมการ ทำงานแบบวนซ้ำ.
1 exit() and break C++ provides a way to leave a program early (before its natural finish) with the exit() function. The format of exit() is as follows:
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Subroutine ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ

Subrountine – คือส่วนหนึ่งของ code จากโปรแกรมทั้งหมด สำหรับปฏิบัติงานโดยเฉพาะ และเป็นอิสระ จาก code ส่วนอื่นของโปรแกรม ประโยชน์ – ลดความซ้ำซ้อนของ code ภายในโปรแกรม – โปรแกรมอื่นๆสามารถนำไปใช้ได้ – ทำให้แก้ปัญหาของงานที่ความซับซ้อนได้ – ทำให้ความสามารถในการอ่านดีขึ้น

Subrountine Subroutine ประกอบไปด้วย – code ที่จะนำไปปฏิบัติงาน – พารามิเตอร์ที่จะส่งให้กับ subroutine – ค่าที่ส่งกลับมาจาก subroutine int subroutine1(int para1){... }

Subrountine

Callers and Callees จากภาพมี subroutine ชื่อ main, ret และ sub – ถ้ากำหนดคำสั่ง j คือคำสั่งกระโดดไป location ที่ต้องการ Subroutine Call เกิดขึ้นเมื่อ Subroutine หลักส่งการควบคุมจากตัวเองไปให้ subroutine อื่น subroutine หลักเรียกว่า CALLER และ Subroutine ที่ถูกเรียก เรียกว่า CALLEE Subroutine Return เกิดขึ้นเมื่อ CALLEE ส่ง การควบคุมกลับไปให้ CALLER

Subroutine linkage วิธีการเชื่อมต่อระหว่าง Caller และ Callee – ทำอย่างไรเมื่อการควบคุมเปลี่ยนจาก caller -> callee แล้ว callee->caller ได้ จัดเก็บข้อมูล ของ caller นำข้อมูลของ caller กลับคืน ข้อมูล ?

Subroutine linkage ข้อมูล คือ Registers – ทำไมเราต้องจัดเก็บรีจีสเตอร์ ? Its value will be destroyed by callee, and We will need to use the value after that action. – ใครเป็นคนจัดเก็บรีจีสเตอร์ ? Caller –knows what it needs later, but may not know what gets altered by callee Callee –knows what it alters, but does not know what will be needed later by caller

Subroutine linkage-Step1 Calling – บันทึกรีจีสเตอร์ที่ค่าอาจจะมีการเปลี่ยนแปลง ได้จาก subroutine ที่ถูกเรียก เช่น program counter (PC) และ accumulator (context) – กำหนด PC เป็น address แรกของ subroutine ที่ต้องการ – ส่งพารามิเตอร์ไปให้ subroutine ถ้าต้องการ – ปฏิบัติงานของคำสั่งใน subroutine นี้ไป จนถึงคำสั่ง return

Subroutine linkage-Step2 Returning – ถ้ามีค่าส่งกลับ นำค่านั้นส่งให้กับ caller – นำ context ที่บันทึกไว้กลับคืน – ปฏิบัติงานของ caller ต่อไป

ที่มา William Stalling, Computer Organization and Architecture, USA