จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
ศาสนา พุทธ ศาสนา คริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาสิกข์ ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู บรรณานุกรม
ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศไทยเป็น ชาวพุทธนิกายเถรวาท ซึ่งในปัจจุบันศาสนา พุทธในประเทศไทยได้ผสมผสานเข้ากับ ความเชื่อพื้นบ้าน อย่างเช่น การตั้งศาลพระ ภูมิเจ้าที่ การถือฤกษ์ นอกจากนี้จำนวน ประชากรชาวไทย - จีนขนาดใหญ่ที่อพยพเข้า มาในประเทศก็นับถือทั้งศาสนาพุทธและ ประเพณีดั้งเดิมวัดพุทธในประเทศมี เอกลักษณ์ที่เจดีย์สีทองสูง และ สถาปัตยกรรมพุทธในประเทศไทยคล้ายคลึง กับในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กัมพูชาและลาว ซึ่ง ประเทศไทยมีภูมิหลังทางวัฒนธรรมและ ประวัติศาสตร์ร่วมกันชาวไทย - จีนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กัมพูชาลาว
ชาวมุสลิมเป็นประชากรขนาดใหญ่ที่สุด เป็นอันดับที่ 2 ในประเทศไทยในบริเวณสาม จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ตลอดจนบางส่วนของ จังหวัดสงขลาและชุมพร มีประชากรส่วนใหญ่ เป็นชาวมุสลิม ประกอบด้วยทั้งผู้ที่มีเชื้อสาย ไทยและมาเลย์ คนส่วนใหญ่เชื่อกันว่าประชากร ชาวมุสลิมส่วนใหญ่ของประเทศอาศัยอยู่มาก ที่สุดบริเวณนี้ จังหวัดปัตตานี ยะลานราธิวาส จังหวัดสงขลาชุมพร อย่างไรก็ตามการวิจัยของกระทรวงการ ต่างประเทศ ชี้ว่า ชาวไทยมุสลิมเพียงร้อยละ 18 อาศัยอยู่ในพื้นที่เหล่านี้ ส่วนที่เหลือได้ อาศัยอยู่กระจายกันไปทั่วประเทศ โดยมีอาศัย อยู่ในกรุงเทพมหานครมากที่สุด และตลอด ภาคใต้ของประเทศ ตามข้อมูลของสำนักงาน สถิติแห่งชาติ ใน พ. ศ ชาวมุสลิมใน ภาคใต้ของประเทศคิดเป็นประชากรร้อยละ 30.4 ของประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปทั่ว ประเทศ ในขณะที่มุสลิมในส่วนอื่นของประเทศ กลับมีน้อยกว่าร้อยละ 3กระทรวงการ ต่างประเทศกรุงเทพมหานคร ภาคใต้ของประเทศ ประชากรมุสลิมของไทยมีความ หลากหลายและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน โดยมี กลุ่มเชื้อชาติอพยพเข้ามาจากจีน ปากีสถาน กัมพูชา บังกลาเทศ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย เช่นเดียวกับชาวไทย ขณะที่มุสลิมในประเทศ ไทยราวสองในสามมีเชื้อสายมาเลย์