โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
ชมรม “อยู่ดีมีสุข” 16 พฤษภาคม 2550
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
โรคเอสแอลอี.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
Myasthenia Gravis.
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โภชนาการโรคหอบ (Asthma).
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชุมผู้รับผิดชอบงานเบาหวาน
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
โรคเบาหวาน ภ.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
กินตามกรุ๊ปเลือด.
โรคเบาหวาน Diabetes.
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
Tonsillits Pharynngitis
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้ ตามปกติ ทำให้ระดับน้ำตาลใน เลือดสูงขึ้นและถูกขับออกมาทาง ปัสสาวะ

สาเหตุ สาเหตุการเป็นโรคเบาหวานยังไม่แน่นอน แต่องค์ประกอบที่สำคัญๆ ที่อาจเป็นต้นเหตุ ของการเกิดโรคดังนี้ 1. กรรมพันธุ์ มักพบโรคนี้ในผู้ที่มีบิดา มารดา ญาติ เป็นเบาหวาน 2. จากเชื้อโรคหรือยาบางชนิดไปทำลาย เซลล์ของตับอ่อน ทำให้ตับอ่อนไม่ สามารถหลั่งฮอร์โมนอินสุลินได้เพียงพอ 3. ความอ้วน ความเครียด การไม่ออกกำลังกาย การตั้งครรภ์บ่อย

อาการ 1. ปัสสาวะบ่อยและมีมดขึ้น 2. ดื่มน้ำบ่อยและมาก 3. กินจุแต่ผอมลงเรื่อยๆ 4. น้ำหนักลดและอ่อนเพลีย 5. เป็นแผลหรือฝีง่ายแต่หายยาก 6. คันตามผิวหนังและบริเวณอวัยวะ สืบพันธุ์ 7. เจ็บปวดตามกล้ามเนื้อ ชาตามมือเท้า หมดความรู้สึกทางเพศ 8. ตาพร่ามัว ต้องเปลี่ยนแว่นบ่อยๆ 9. คลอดบุตรน้ำหนักเกิน 4000 กรัม ในแม่ที่เป็นเบาหวาน

โรคแทรกซ้อน * แบบเฉียบพลัน - การติดเชื้อโรคได้ง่าย เช่น เป็นแผลหรือฝี ซึ่งลุกลามเร็ว แผลที่เท้า วัณโรคปอด เป็นต้น - ภาวะหมดสติจากน้ำตาลในเลือดสูง หรือต่ำมาก * แบบเรื้อรัง - หลอดเลือดหัวใจและสมองตีบ ทำให้เจ็บ หน้าอก, หัวใจล้มเหลว กล้ามเนื้อหัวใจตาย ทำให้เป็นอัมพาต กลืนลำบาก พูดไม่ชัด - ตาพร่า ตามัว ตาบอด, ไตอักเสบ, ไตวาย ประสาทอักเสบ ชาปลายมือ-ปลายเท้า ปัสสาวะลำบากหมดความรู้สึกทางเพศ ท้องผูกสลับท้องเดิน โรคแทรกซ้อนมีมาก แต่สามารถป้องกันได้ โดยการควบคุมรักษา เบาหวานให้ดีจะเกิดได้น้อย และไม่รุนแรง

การดูแลรักษา โรคนี้เป็นแล้วไม่หายขาด แต่สามารถ ควบคุมได้ต้องอาศัยปัจจัยหลายอย่าง คือ 1. ควบคุมอาหาร 2. ออกกำลังกาย 3. ยาลดระดับน้ำตาล 4. การเรียนรู้และการดูแลรักษาตนเอง

การควบคุมอาหาร ลด…หลีกเลี่ยง….งด ในผู้ป่วยเบาหวาน * ลดอาหารจำพวกแป้งลง * หลีกเลี่ยงการกินเครื่องในสัตว์ ไขมันสัตว์ ครีม กะทิ อาหารทอด นำมันปาล์ม * หลีกเลี่ยงผลไม้ที่มีรสหวานจัด เช่น ทุเรียน ลำไย * งดอาหารที่ใส่น้ำตาลมาก บุหรี่ สุรา

ควรกินอย่างไรดี ! * กินอาหารครบ 5 หมู่ กินผักให้มากขึ้น * กินข้าวตามกำหนด ถ้าไม่อิ่มให้กินผักเพิ่ม * กินผลไม้ที่มีรสหวานน้อย เช่น ส้มโอ ฝรั่ง พุทรา * ใช้เต้าหู้ ถั่วต่างๆ ทำอาหารให้มากขึ้น * ใช้น้ำมันพืชแทนไขมันสัตว์ เช่น น้ำมัน รำข้าว ถั่วเหลือง * กินอาหารให้ตรงเวลา * กินยาตามแพทย์สั่ง อย่างเคร่งครัด * ควรกระจายอาหารออกเป็นมื้อย่อยๆ คือ กิน ทีละน้อยแต่กินทุกมื้อ เพื่อให้ร่างกายค่อยๆ ย่อยอาหารได้ง่ายกว่ากินทีละมากๆ