Foundation of Nutrition

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

FOOD PYRAMID.
ครูวันเพ็ญ กริ่งกาญจนา เรียบเรียงโดย นิพนธ์ วีระธรรมานนท์
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
อาหารหลัก 5 หมู่.
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
อาหารหลัก 5 หมู่.
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
Tetracyclines คุณสมบัติทางเคมี เป็นกลุ่มยาที่มีพิษน้อยและใช้กันมาก
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
~ ชาเขียว ~.
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
ไขมันอิ่มตัว....ไม่อิ่มตัว
สุดยอดอาหารยืดชีวิตให้ยืนยาว
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
whey เวย์ : casein เคซีน
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
อาหารเพื่อผิวสวย โดย ฉัตรฤทัย บัวสุข
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
โรคเบาหวาน ภ.
กินตามกรุ๊ปเลือด.
โรคเบาหวาน Diabetes.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
เด็กหญิง พัชราพร แก้วห่อทอง ชั้น ม. 2/9 เลขที่ 33
กำมะถัน (Sulfur).
ผลไม้เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย ด.ญ.ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18
เรื่อง ประโยชน์ต่อสุขภาพ ของใบบัวบก
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
10 อันดับน้ำผลไม้เพื่อสุขภาพ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Foundation of Nutrition 006223

ฟลูออรีน(Fluorine)

ข้อมูลทั่วไป ฟลูออรีน เป็นเกลือแร่จำเป็นที่พบในเนื้อหนังเกือบทั่ว ร่างกายแต่ จำนวนและที่พบมากกว่าที่อื่นๆ คือที่โครง กระดูกและฟัน และฟลูออรีนที่พบในร่างกายจะอยู่ใน ลักษณะเป็นสารผสมเรียกว่า ฟลูออไรด์ ซึ่งมี 2 ชนิด คือ โซเดียมฟลูออไรด์ ที่เขาใช้เจือปนกับน้ำดื่ม ซึ่ง ต่างกันกับแคลเซียมฟลูออไรด์ที่พบตามธรรมชาติ

ข้อมูลทั่วไป สิ่งแวดล้อม ดินฟ้าอากาศ พื้นที่ดินปลูกปุ๋ยที่ใช้ ปริมาณฟลูออรีนในพืชผักนั้นไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับ สิ่งแวดล้อม ดินฟ้าอากาศ พื้นที่ดินปลูกปุ๋ยที่ใช้ และบางแห่งใช้สเปรย์ที่มีฟลูออรีน

ข้อมูลทั่วไป สิ่งที่น่าสังเกตเกี่ยวกับฟลูออรีนกับสัตว์บางชนิด เช่น ไก่ เวลามันกินอาหารจะเห็นว่าไก่จิกก้อน กรวดกิน ที่ทำเช่นนี้เพราะสัญชาตญาณของไก่ ที่รู้ว่า ก้อนกรวด ก้อนหินเป็นแหล่งกำเนิดที่ดี ของฟลูออรีน เกลื่อแร่ชนิดนี้เป็นเป็นตัวสำคัญ ที่ทำให้ไข่แดงมีสีแดง เปลือกสีสวยและมีคุณค่า อาหารครบถ้วน

ประโยชน์ต่อร่างกาย จากการวิจัยพบว่า ฟลูออไรด์จะเพิ่มการจับเกาะของแคลเซียม จึงทำให้กระดูกและฟันแข็งแรงและช่วยป้องกันโรคกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ และความผิดปรกติของกระดูกที่จะถูกสร้างขึ้น 2. ช่วยลดการเกิดกรดในปากเนื่องจากคาร์โบไฮเดรต ดังนั้นจึงไปลดการเสียของเคลือบฟัน

ประโยชน์ต่อร่างกาย 3. ทำให้นัยน์ตาดำ มีสีเข้มขึ้น มีสุขภาพดี และสวยงาม ซึ่งเกลือแร่ฟลูออรีนนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องอยู่มาก สำหรับผู้รักสวยรักงามจะขาดเสียไม่ได้ 4. ช่วยในการดูดซึมของเหล็ก 5. ช่วยในการเจริญเติบโต และบำรุงระบบสืบพันธุ์

ในธรรมชาติมีอาหารให้หลายชนิดที่มีเกลือแร่ชนิดนี้ เช่น อาหารทะเลน้ำมันตับปลา หัวบีท กระเทียม กะหล่ำปลี ผักโขม ไข่แดง แอปเปิล องุ่น ข้าวโพด มันฝรั่ง เนย เมล็ดทานตะวัน และน้ำดื่ม แหล่งที่พบ

องค์การอนามัยโลก ได้กำหนดความเข้มข้นมาตรฐานของน้ำปะปาไว้ให้มีฟลูออรีนประมาณ 1 PPM ซึ่งถือว่าเป็นปริมาณที่ปลอดภัย การให้ฟลูออไรด์อาจทำได้โดย

เติมในน้ำดื่ม ชนิดเม็ด ฟลูออไรด์ในยาสีฟัน การเคลือบฟลูออไรด์ โดยใช้ น้ำยาเคลือบบนผิวฟัน น้ำยาบ้วนปากชนิดฟลูออไรด์

ปริมาณที่แนะนำ การได้รับฟลูออไรด์ 1 ส่วนต่อน้ำล้านส่วนจะช่วยป้องกันฟันผุ ในเด็กจนอายุถึง 8-12 ปีได้ ในผู้ใหญ่บางรายอาจมีประโยชน์บ้างในการช่วยรักษาฟันให้ แข็งแรงในคนปรกติจะได้รับ ฟลูออไรด์จากอาหารต่างๆ ประมาณ 1.8 มก. ต่อวัน และถ้าดื่มน้ำที่มีสารนี้ 1 ส่วน ต่อ ล้านส่วนจะได้รับฟลูออไรด์เพิ่มขึ้นเป็น 3.2 มก. ต่อวัน ร่างกายจะเก็บไว้ในกระดูก 2-3 มก. ต่อวัน ถ้าในน้ำมีฟลูออรีนมากกว่า 2.5 ส่วนในล้านส่วนจะทำให้เกิด Mottling คือ เนื้อฟันไม่เป็นมัน และผิวนอกขรุขระ เรียกว่า Fluorosis 

ผลของการขาด การขาดเกลือแร่ฟลูออรีนจะทำให้ฟันผุ โรคกระดูกพรุน ถ้ามากเกินไปจะทำให้เกิดโรคฟลูออโรซิส ซึ่งมีลักษณะ ของอาการฟันเป็นลายจุดๆ และทำให้หินปูน เกิดขึ้นใน เนื้อเยื่อได้ ไต ตับ ต่อมอะดรีนัล หัวใจประสาทส่วนกลาง อวัยวะสืบพันธุ์ถูกทำลายหรือกระทบกระเทือน ถ้าเป็นระยะก่อนฟันขึ้นหือฟันกำลังจะขึ้น อาจทำให้ฟัน ไม่แข็งแรงและฟันผุง่านขึ้น

ลักษณะอาการฟันผุและลายจุดๆ

ผลของการได้รับมากเกินไป ฟันตกกระ ลักษณะอาการฟันตกกระ

ผลของการได้รับมากเกินไป การได้รับฟลูออไรด์มากเกินไป ทำให้มีการยับยั้งเอนไซม์ ที่มีแมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ เมตาบอลิซึมของฟอสเฟตและ TCA cycle ในเด็กที่ได้รับยาเม็ดฟลูออไรด์เกินขนาด อาการเฉียบพลัน คือ น้ำลายไหล คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน ชัก หัวใจวาย ตายได้ ทำให้การเจริญเติบโตลดลง

ผลของการได้รับมากเกินไป กระดูกแน่นทึบ

การดูดซึม ส่วนใหญ่ดูดซึมที่ลำไส้เล็ก แต่ก็มีบางส่วนถูกดูดซึมที่กระเพราะ ประมาณร้อยละ 90 ของฟลูออไรด์ที่กินเข้าไปจะเข้าไปในกระแสโลหิต ซึ่งประมาณครึ่งหนึ่งจะขับออกทางปัสสาวะ และอีกครึ่งหนึ่งจะไปจับที่ฟันและกระดูก ฟลูออไรด์ในเลือดแยกออกเป็น 2 ส่วน ส่วนหนึ่งจะอยู่ในรูปของไอออนอิสระ และอีกส่วนจะอยู่รวมกับโปรตีนและอัลบูมิน ฟลูออไรด์ที่อยู่ในรูปไอออนอิสระมีความสำคัญต่อร่างกายโดยทำหน้าที่ต่างๆดังที่กล่าวมาแล้ว

อาหารหรือสารเสริมฤทธิ์ อาหารหรือสารต้านฤทธิ์ แคลเซียม ช่วยละลายพิษถ้าเกิดกับ ฟลูออรีน น้ำฟลูโอไรเดท หรือน้ำที่เติมฟลูออรีน แล้ว อาหารหรือสารเสริมฤทธิ์ ยังไม่พบหลักฐาน แต่สิ่งที่รบกวนการดูดซึมของฟลูออรีน ได้แก่ เกลืออะลูมินัมของฟลูออรีนและแคลเซียมประเภทไม่ละลายน้ำ อาหารหรือสารต้านฤทธิ์

คณะผู้จัดทำ นายกฤษฎา บุญจวง 4801213 นางสาวกาญจนา แช่มช้อย 4801214 นายเศรษฐ์ สุทธรินทร์ 4801235