กล้วยน้ำว้า จัดทำโดย นางสาวอิสราภรณ์ อุดรสาร รหัสนิสิต 57690209.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูวันเพ็ญ กริ่งกาญจนา เรียบเรียงโดย นิพนธ์ วีระธรรมานนท์
Advertisements

ขนมอบ จัดทำโดย เสนอ อ. มานะ ผิวผ่อง
อาหารหลัก 5 หมู่.
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
โครงงาน เรื่อง น้ำหมักมะเฟือง สูตร 1 : 3 : 5.
น.ส กานต์ดา ทำไร่ เลขที่43 ม.6/4 น.ส จิติมา คุ้มแก้ว เลขที่46 ม.6/4
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
การปักชำ เป็นการขยายพันธุ์โดยใช้ส่วนต่างๆของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้นให้เจริญงอกงามเติบโตต่อไป.
~ ชาเขียว ~.
อาหารไทย 4 ภาค.
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
ด.ช.สกลพัตร พันธุ์บุญปลูก ม.2/8 เลขที่10 ปีการศึกษา 2548
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
ใบ Leaf or Leaves.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
โกสน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Codiaeum variegatum Blume
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
การกระตุ้นให้ มัลเบอร์รี่ ( หม่อนพันธุ์ลูกดก ) ออกผล
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
Story board.
รายงาน Zoo Map Resame.
จังหวัดสุรินทร์.
“อาหาร 2 ชนิดที่ไม่ควรทานร่วมกัน”
หมากเขียว MacAthur Palm
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
ฟีโลทอง philodendron sp.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร เสลดพังพอน
กล้วย.
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
ผลไม้ รักษาโรคได้.
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์ โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
เด็กหญิง พัชราพร แก้วห่อทอง ชั้น ม. 2/9 เลขที่ 33
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
รายงานเรื่อง. น้ำสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
๑๑. ทำร่างป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์
ดอกไม้ฤดูหนาว.
ผลไม้เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย ด.ญ.ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
น้ำสนุมไพร ถัดไป.
น้ำสมุนไพร ถัดไป.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กล้วยน้ำว้า จัดทำโดย นางสาวอิสราภรณ์ อุดรสาร รหัสนิสิต 57690209

ประวัติความเป็นมาของกล้วยน้ำว้า ชื่อ, ชื่อพฤษศาสตร์, ชื่อพื้นเมือง แหล่งกำเนิดและการกระจาย ลักษณะทางพฤษศาสตร์ การใช้ประโยชน์ สรรพคุณทางยา เกร็ดความรู้

ชื่อ, ชื่อพฤษศาสตร์, ชื่อพื้นเมือง ชื่อ กล้วย ชื่อพฤษศาสตร์ Musa L. ( กล้วยประเภทรับประทาน) ชื่อพื้นเมือง อังกฤษเรียก บานาน่า อินโดนีเซีย และมาเลเซียเรียก ปิซัง ( Pisang ) ฟิลิปปินส์เรียก ซาจิง ( Saging ) พม่าเรียก เง็กเปาตี ( Nget pyo thee ) เขมรเรียก ซิกนัมวา ( Cheek nam'vaa )

แหล่งกำเนิดและการกระจาย กล้วยที่ปลูกกันอยู่ทุกวันนี้ ตามหลักฐานปรากฏ กล้วยเป็นผลไม้ชนิดแรกที่คนเอเชียแถบร้อนชื้น โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปลูกใช้เป็นอาหารก่อนรู้จักการดื่มนม ทารกไทยส่วนใหญ่เติบโตมาด้วยกล้วยบด แหล่งกำเนิดจริงๆ ของกล้วยยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ทฤษฎีของซิกมอนด์และเชเพิร์ด ที่ได้รับการยอมรับกันเป็นส่วนใหญ่เสนอว่า ดินแดนแถบอินโด-มาเลเซีย ถือเป็นศูนย์กลางความหลากหลาย ของกล้วยที่สำคัญที่สุด มาเลเซียจึงอาจเป็นศูนย์กลางของกล้วยในระยะแรกๆ ก็ได้ จากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การปลูกกล้วยขยายออกไปทั่วเขตร้อน และเข้าไปในเขตอบอุ่นของเอเชีย อเมริกา แอฟริกาและออสเตรเลีย อาจกล่าวได้ว่าประเทศทั้งหลายที่ตั้งอยู่ในเขตร้อน ฝนชุกโดยเฉพาะเอเชีย กล้วยเป็นผลไม้ที่ปลูกกันมาก บริโภคกันมากเป็นอันดับแรกของทุกประเทศ 

แหล่งกำเนิดและการกระจาย สำหรับความเป็นมาของกล้วยในประเทศไทย จากหลักฐานที่เก่าแก่ที่สุด คือ จดหมายเหตุของลาลูแบร์ จึงย่อมเชื่อได้ว่ามีการปลูกกล้วยในเมืองไทยมานานก่อนสมัยอาณาจักรศรีวิชัย (พ.ศ.1200 โดยประมาณ) ส่วนในอินเดียได้รู้จักกล้วยกันมานานกว่าสามพันปีมาแล้ว ปัจจุบันพันธุ์กล้วยที่สำคัญของไทย ได้แก่ กล้วยน้ำว้า ปลูกกันมากที่สุดในจังหวัดเลย หนองคาย และระนอง ตามลำดับ รองลงมาได้แก่กล้วยไข่ ซึ่งปลูกกันมากที่สุดที่จังหวัดกำแพงเพชร ตาก และนครสวรรค์

ลักษณะทางพฤษศาสตร์ ลักษณะ กล้วยเป็นพรรณไม้ล้มลุก มีลำต้นเทียมสูงประมาณ 2-9 เมตร มีลำต้นสั้นๆ อยู่ใต้ดิน (ที่เรียกว่า “ หัว ” ) พร้อมด้วยตาหลายตาเป็นตำแหน่งที่เกิดเหล้าที่เจริญเป็นหน่อ รากแผ่กระจายไปตามแนวราบ แต่ส่วนมากรากจะอยู่ที่ผิวดิน หน่อมีรูปทรงกระบอก ลำต้นเทียมที่เกิดจากกาบใบที่ทับสลับกันจนแน่นกอดกันเป็นก้อนกลม ใบ หรือ ใบตองกล้วยมีขนาดใหญ่ ลักษณะใบเป็นแผ่นยาวประมาณ 1.50 เมตร กว้างประมาณ 40.60 ซม. ทรงตัวอยู่ได้ด้วยเส้นกลางใบ ที่แน่นแข็ง ใบมีการจัดเรียงแบบขนนก มีเส้นใบขนานกัน

ลักษณะทางพฤษศาสตร์ ดอก ออกดอกเป็นช่อห้อยลงมา มีกาบหุ้มมีสีแดงอมม่วง เรียกว่า หัวปลี รูปร่างกลมรี มีดอกย่อยติดกันเป็นแผง ดอกตัวเมียจะอยู่ที่ฐาน ส่วนดอกตัวผู้จะอยู่ช่วงปลาย ผล หลังจากดอกตัวเมียเริ่มเจริญเป็นผล ดอกตัวผู้ก็จะร่วงไป ช่อดอกจะเจริญต่อไปเป็นเครือกล้วยที่ประกอบด้วยหวีกล้วยประมาณ 7-8 หวี ผลกล้วยอ่อนมีสีเขียวพอแก่จะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง

การใช้ประโยชน์ ทางอาหาร ทุกส่วนของกล้วยสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยเฉพาะผลสามารถใช้ประโยชน์ทางอาหารได้สูงสุด รับประทานได้ทั้งผลดิบและสุก กล้วยสุกนำไปเผาทั้งเปลือก ขูดเอาแต่เนื้อไปบดกับข้าว เป็นอาหารชนิดแรกของคนไทยนอกจากนมแม่ กล้วยดิบสามารถนำไปแปรรูปเป็น แป้งกล้วย ไว้ผสมกับอาหารอื่นๆ หรือไปทำเป็นกล้วยฉาบ กล้วยกวน กล้วยตาก ข้าวเกรียบกล้วย ก็เป็นที่นิยมเช่นกัน นอกจากผลแล้ว ปลีกล้วย ใช้เป็นผักเป็นส่วนประกอบหลักที่สำคัญของแกงเลียง อาหารเพิ่มน้ำนมให้แก่แม่ที่เพิ่งคลอดบุตร กาบใน (ไส้) ใช้ทำอาหาร เช่น แกง

สรรพคุณทางยา ผลดิบ แก้โรคกระเพาะ ฝาน อบ บดผง ชงกับน้ำดิบเคลือบกระเพาะ ผลห่าม แก้ท้องเสีย ชดเชยโพแทสเซียมให้ร่างกาย ผลสุก แก้ท้องผูก มีเพ็กตินมาก เพิ่มกากใยในลำไส้ ผลงอม ต้านโรงมะเร็ง สร้างภูมิต้านทานเพิ่มเซลเม็ดเลือดขาว

สรรพคุณทางยา ยาง สมานแผลห้ามเลือด ยาง สมานแผลห้ามเลือด หัวปลี รสฝาด แก้โรคเกี่ยวกับกระเพาะอาหารและลำไส้ แก้โรคโลหิตจาง ลดน้ำตาลในเส้นเลือด รักษาโรคเบาหวาน น้ำคั้นจากหัวปลี รับประทานแก้ถ่ายเป็นมูกเลือด บำรุงโลหิต ใบ รสเย็นจืด ต้มดื่ม แก้ไข้ ร้อนในกระหายน้ำ แก้บิด แก้ผื่นคัน สมานภายใน หยวก รสฝาดเย็น เผาไฟรับประทาน ขับพยาธิ เหง้า รสฝาดเย็น ปรุงยาแก้ริดสีดวงทวาร ชนิดมีเลือดออก หรือแผลภายในช่องทวาร

เกร็ดความรู้