จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย
Advertisements

วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ผลกระทบจากวิกฤตการโลกร้อน
นางสาววิไลวรรณ อยู่เย็น
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอ
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
น้ำและมหาสมุทร.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
Demonstration School University of Phayao
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
เปลือกโลก(crust) ประกอบด้วย Oxygen 45.2 ซิลิกอน 27.2 อลูมิเนียม 8.2
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดขนาด จำนวน และคุณภาพของเครื่องดับเพลิงสำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ ลักษณะ 4 (รถบรรทุกวัสดุอันตราย) พ.ศ.
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
การปูผิวแบบเว้นร่องระบายน้ำข้างcurb
( Stanum ใช้สัญลักษณ์ Sn )
เครื่องดูดฝุ่น.
การบริหารยาทางฝอยละออง
ภูเขาไฟ (vulcanology หรือ volcanology)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
ดินถล่ม.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
ดวงจันทร์ (Moon).
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
คลิกที่ตัวผมได้เลย!! ณ ดวงดาวแห่งหนึ่ง....
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
ระบบสุริยะ จักรวาล.
หินแกรนิต หินแปรเนื้อหยาบ มีริ้วขนาน หยักคดโค้งไม่สม่ำเสมอ สีเข้มและจางสลับกัน แปรสภาพมาจากหินแกรนิต โดยการแปรสภาพบริเวณไพศาล ที่มีอุณหภูมิสูงจนแร่หลอมละลาย.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อน.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์ การระเบิดของภูเขาไฟ จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์ ประวัติส่วนตัว

คำนิยาม ภูเขาไฟระเบิด เป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ร้ายแรงอย่างหนึ่ง การระเบิด ของภูเขาไฟนั้นแสดงให้เห็นว่าใต้ผิวโลกของเราระดับหนึ่ง มีความร้อน สะสมอยู่มากโดยเฉพาะที่เรียกว่า’’จุดร้อน”ณ บริเวรนี้มีหินหลอมละลาย เรียกว่า ลาวา

สาเหตุการระเบิดของภูเขาไฟ กระบวนการระเบิดของภูเขาไฟนั้นยังไม่เป็นที่เข้าใจกระจ่างชัดนัก นักธรณี วิทยาคาดมีการสะสมของความร้อนอย่างมากในบริเวณนั้นทำให้มีแมกมา ไอน้ำ และแก๊ส สะสมตัวอยู่มากขึ้นเรื่อยๆซึ่งก่อให้เกิดความดัน ความร้อนสูง เมื่อถึงจุดจุดหนึ่งมันจะระเบิดออกมา อัตราความรุนแรงของ การระเบิด ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการระเบิด รวมทั้งขึ้นอยู่กับความ ดันของไอน้ำ และความหนืดของลาวา ถ้าลาวาข้นมากๆ อัตราการรุนแรง ของการระเบิดจะรุนแรงมากตามไปด้วย เวลาภูเขาไฟระเบิด มิใช่มี แต่ลาวาที่ไหลออกมาเท่านั้น ยังมีแก๊ส ไอน้ำ ฝุ่นผงเถ้าถ่านต่างๆออกมาด้วย

มองเป็นกลุ่มควนม้วนลงมา พวกไอน้ำจะควบแน่นกลายเป็นน้ำ นำเอา ฝุ่นละอองเถ้าต่างๆที่ตกลงมาด้วยกัน ไหลบ่ากลายเป็นโคลนท่วมบริเวณ เชิงเขาต่ำลงไป ยิ่งถ้าภูเขาไฟนั้นมีหิมะคลุ่มอยู่ มันจะละลายหิมะ นำ โคลนมาเป็นจำนวนมากได้ เช่นในกรณีของภัยพิบัติที่เกิดในประเทศ โคลัมเบียเมื่อไม่นานมานี้

สิ่งที่ได้จากการปะทุของภูเขาไฟ หลายคนคาดว่าลาวาเป็นวัตถุชิ้นแรกที่ถูกปล่อยออกมาจากภูเขาไฟซึ่ง นั้นไม่เป็นความจริงเสมอไปทั้งนี้ในระยะแรกอาจพ่นเอาเศษหินขนาดใหญ่ ออกมา จำนวนมากเรียกว่า’’ลาวาบอม(lava bomb)ส่วนเถ้าถ่านและ ฝุ่นละอองเกิดขึ้นต่อมาอย่างปกตินอกจากนั้นการเกิดระเบิดของภูเขาไฟ ยังปล่อยเอาก๊าซออกมาอีกด้วย

ลาวา เนื่องด้วยลาวาที่มีปริมาณซิลิกาต่ำหรือลาวาที่มีองค์ประกอบเป็นบะซอลต์ ปกติจะมีความเหลวมากและไหลเป็นชั้นบางๆแผ่เป็นแผ่นบางๆ กว้างเหมือนลิ้นตัวอย่างเหมือนเกาะฮาวายลาวาจะไหลออกมาด้วยความเร็ว 30km./hบนพื้นที่ที่ชันมากอย่างไรก็ตามความเร็วแบบนี้เกิดขึ้นได้น้อย มากโดยปกติพบว่ามีความเร็ว10-300m./hในทางกลับกันกาเคลื่อนที่ของ ลาวาที่มีซิลิกาสูงจะช้ากว่า เมื่อลาวาบะซอลต์ของการปะทุแบบฮาวายเอียน แข็งตัวมันจะมีผิวเรียบบางทีเป็นคลื่น(wrinkle)ในขณะที่ล่ว่ชั้นในใต้พื้น ซึ่งยังหลอมอยู่จะเคลื่อนที่ต่อไป ลักษณะนี้เรียกว่า’’การไหลแบบ ปาฮอยฮอย’’

ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับริ้วเชือกบิดลาวาบะซอลต์ทั่วๆไปจากแหล่งอ่านมีผิวขรุขระ เป็น แท่งขอบไม่เรียบแหลมคมหรือมีหนามยื่นออกมา’’อาอา’’ซึ่งเกิดจากลาวาประเภทนี้ เช่นกันอาอาที่กำลังไหลออกมาจะเย็นและหนา ขึ้นอยู่กับความชันของ ภูมิประเทศ ที่มันไหลมามีความเร็วของการไหลประมาณ 5-50m./h นอกจากนั้นก๊าซที่ออกมา จะทำให้ผิวของลาวาที่เย็นแตกออกและให้รูหรือช่องว่างขนาดเล็ก ที่มีปากรูเป็นหนาม แหลมคมเมือลาวาแข็งตัวแล้ว

ก๊าซ ก๊าซที่ละลายอยู่ในหินหนืดในปริมารต่างกัน และอยู่ได้เพราะความดันของมวลหิน โดยรอบเปรียบเหมือนคาบอนไดออกไซด์ที่อยู่ในเครื่องดื่มซึ่งเมื่อความดันลดลงก๊าซ ก็เริ่มหนีออกมาเป็นฟองการศึกษาสภาพจริงจากการระเบิดของภูขาไฟเป็นสิ่งที่ยุ้ง อยาก และอันตรายมากดังนั้นนักธรณีวิทยาจึงประมาณการ ปริมาณก๊าซที่ขึ้นมาจาก ก๊าซเริ่มต้นที่ละลายอยู่ในหินหนืดไม่ได้เชื่อกันว่าหินหนืดส่วนใหญ่มีก๊าซละลายอยู่ ประมาณ 5% ของน้ำหนักทั้งหมด และก๊าซที่ออกมามีมากกว่า 1000% วัน

สารทีมีปริมาณน้อนที่สุด ได้แก่ คลอรีน ไฮโรเจน และ อาร์กอน สารประกอบ ซัลฟอรัส จะทดสอบได้ง่ายโดยกลิ่นฉุนของมันซึ่งอาจ กลายเป็นกรตซัลฟิวริก และมีอันตรายเมื่อได้สูดดม เข้าไปในปอด

ประวัติส่วนตัว ชื่อ เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด อายุ 13 ปี ชื่อ เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด อายุ 13 ปี เกิดวันที่ 28/ 2 / 2541 เบอร์โทรศัพท์ 084-1501156 ชื่อเล่น ยิมส์ น้ำหนัก 45 กิโลกรัม ส่วนสูง 164 เซนติเมตร