Communication Media Lect. Thanapon Thiradathanapattaradecha School of Information & Communication Technology University of Phayao
ทราบความแตกต่างของสื่อชนิดต่างๆ Objective ทราบความแตกต่างของสื่อชนิดต่างๆ สามารถเลือกสื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานได้ สามารถอธิบาย ข้อดี ข้อเสีย ของสื่อแต่ละชนิด ทราบถึงลักษณะของการเชื่อมต่อในระบบเครือข่าย ทราบถึงอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อ
การสื่อสารข้อมูล (Data Communication) เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างอุปกรณ์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 2 เครื่อง โดยผ่านสื่อกลาง ข้อมูลที่แลกเปลี่ยนนั้น อาจอยู่ในรูปของ ตัวอักษร ตัวเลข ข้อมูลเสียง รูปภาพ หรือสื่อมัลติมิเดีย เป็นต้น
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล (Communication Media) สื่อประเภทเหนี่ยวนำ (Conducted Media): อาศัย วัสดุที่จับต้องได้เป็นตัวนำพาสัญญาณ เช่น สายทองแดง, ใยแก้วนำแสง สื่อประเภทกระจายคลื่น (Radiated Media): ไม่ต้อง อาศัยวัสดุใดๆในการนำพาสัญญาณ เช่น คลื่นวิทยุ
สื่อประเภทเหนี่ยวนำ (Conducted Media)
สื่อประเภทเหนี่ยวนำ (Conducted Media) สายเกลียวคู่ (Twisted-Pair Cable) สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic)
สายเกลียวคู่ (Twisted-Pair Cable) เป็นสายทองแดง 2 เส้น จับคู่พันเกลียวเพื่อสร้างสนามแม่เหล็กต่างขั้วกันหักล้างสัญญาณรบกวน อีกทั้งการบิดเกลียวจะทำให้เกิดความสมดุลย์ของสัญญาณรบกวนในสายทั้งสองเส้น จำนวนรอบในการพันเกลียว (Twist Ratio) ยิ่งมากยิ่งป้องกันการรบกวนได้ดี ตัวอย่างเช่น สาย UTP Category 5 (Cat-5) พันเกลียว 3 รอบ/นิ้ว
สายเกลียวคู่ (Twisted-Pair Cable) 1 คู่ ใช้แทน 1 ช่องสัญญาณ (Channel) ใช้ส่งสัญญาณข้อมูลทั้ง Analog และ Digital กรณีที่มีการส่งสัญญาณไกลๆ ต้องมีการขยาย(ทวน)สัญญาณ โดยใช้ Amplifier สำหรับข้อมูล Analog ส่วนข้อมูล Digital ใช้ Repeater
สายเกลียวคู่ (Twisted-Pair Cable) Connector Type: RJ45, RJ11 Maximum Length: 100 m. Transfer Rate: 1-1000 Mbps Topology: Star
สายเกลียวคู่ (Twisted-Pair Cable) เป็นสายที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ Unshielded Twisted-Pair (UTP) Shielded Twisted-Pair (STP)
Unshielded Twisted-Pair (UTP) สายเกลียวคู่แบบไม่มีฉนวนหุ้ม มีราคาถูก ภายในเป็นลวดทองแดง 2 เส้น พันเกลียว 4 คู่ นิยมนำมาใช้เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายทั่วไปตัวอย่างเช่น สายโทรศัพท์ สายระบบ LAN แบบ Ethernet ข้อดี ราคาต่ำ และมีประสิทธิภาพดีพอสมควร
Unshielded Twisted-Pair (UTP)
Straight Through
TIA/EIA 568A CAT 5 UTP Straight Through 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7 8
TIA/EIA 568B CAT 5 UTP Straight Through 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7 8
TIA/EIA 568B CAT 5 UTP Crossover 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7 8 TIA/EIA 568A TIA/EIA 568B
Switch to Router Switch to PC or Server Hub to PC or Server Straight Through Switch to Router Switch to PC or Server Hub to PC or Server
Switch to Switch Switch to Hub Hub to Hub Router to Router Cross Over Switch to Switch Switch to Hub Hub to Hub Router to Router Router to PC PC to PC
Shielded Twisted-Pair (STP) สายเกลียวคู่ที่มีฉนวน Teflon หุ้มลวดทองแดงอยู่เรียกว่า ‘Cladding’ ลดการรบกวนจากสายข้างเคียง ชั้นนอกหุ้มด้วยตาข่ายโลหะ ช่วยป้องกันการรบกวนสัญญาณจากภายนอกได้ดีกว่าสาย UTP ฉนวนชั้นนอกหนาและทนทานกว่า UTP
Shielded Twisted-Pair (STP) อัตราเร็วในการส่งสัญญาณจะเท่ากับ UTP แต่จะมีราคาสูงกว่า เหมาะสำหรับสถานที่ที่มีสัญญาณรบกวนมากกว่าปกติ หรือกรณีที่ต้องนำสายสัญญาณจำนวนมากมัดรวมกัน
Shielded Twisted-Pair (STP)
Twisted-Pair Cable ประเภทของสาย Twisted-Pair เรียก Category (Cat.) ในปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 6 ประเภท คือ Category 1 Category 2 Category 3 Category 4 Category 5 Category 5e Category 6 Category 6a Category 7
Twisted-Pair Cable Category 1 : ใช้ในระบบโทรศัพท์ (POTS), ISDN, Doorbell ส่งได้เฉพาะสัญญาณ Analog ความเร็วต่ำ 1 Mbps Category 2: ใช้กับระบบเครือข่ายแบบ Token Ring ของ IBM ส่งสัญญาณ Digital ความเร็ว 4 Mbps
Category 3 : ใช้กับระบบเครือข่าย LAN แบบ Ethernet ส่งสัญญาณ Digital ความเร็ว 10 Mbps (10Base-T) โดยใช้ความถี่ในการส่งสัญญาณที่ 16 MHz Category 4 : ใช้กับระบบเครือข่ายแบบ Token Ring ส่งสัญญาณ Digital ความเร็ว 16 Mbps ใช้ความถี่ที่ 20 MHz
Twisted-Pair Cable Category 5 : ใช้กับระบบเครือข่าย LAN แบบ Fast Ethernet ส่งสัญญาณ Digital ความเร็ว 100 Mbps (100Base-T) ใช้ความถี่ที่ 100 MHz Category 5e (enhanced) : รองความเร็ว 100, 1000 Mbps (1 Gbps) ใช้ในระบบเครือข่ายแบบ Gigabit Ethernet (1000BASE-T)
Twisted-Pair Cable Category 6 : เป็นมาตรฐานใหม่ ติดตั้งใช้งานในระบบเครือข่ายแบบ Gigabit Ethernet (1000BASE-T) รองรับ Bandwidth ที่สูงขึ้น (250 MHz) Category 6a : เพิ่ม Bandwidth เป็น 500 MHz เหมาะสำหรับเครือข่ายแบบ 10GBase-T
Twisted-Pair Cable Category 7 : มีการเพิ่ม Bandwidth ขึ้นเป็น 600 MHz และกำหนดให้มีการใช้ฉนวน 2 ชั้น ชั้นในมีฉนวนหุ้มสายแต่ละคู่ และชั้นนอกหุ้มสายทั้งหมดอีกที Category 7a : เพิ่ม Bandwidth ขึ้นเป็น 1,000 MHz เหมาะสำหรับระบบเครือข่ายแบบ 40 Gigabit Ethernet.
สายเกลียวคู่ (Twisted-Pair Cable) ข้อดี ราคาถูก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี น้ำหนักเบาและง่ายต่อการติดตั้ง มีขนาดเล็ก ยืดหยุ่น ง่ายต่อการวายน์สายใช้
สายเกลียวคู่ (Twisted-Pair Cable) ข้อเสีย มีความเร็วในการส่งข้อมูลต่ำเมื่อเทียบกับสื่อประเภทอื่น ใช้ได้ในระยะทางสั้นๆ สัญญาณไม่ชัดเจน มีสัญญาณรบกวน (Noise) เกิดปัญหา Delay, Subtle color defects และ Ghosting
สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) นิยมเรียกว่า “สายโคแอก” เป็นสายที่มีลวดทองแดงเป็นแกนอยู่เส้นเดียวอยู่ข้างในใช้ในการถ่ายทอดสัญญาณ เรียก Inner Conductor ถัดมาเป็นชั้นฉนวนป้องกันกระแสไฟรั่วหุ้มอยู่ เรียก Insulating Shell
สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) จากนั้นจะหุ้มด้วยชั้นตัวนำที่ทำจากลวดทองแดงถักเพื่อเป็นสายนำสัญญาณที่สอง เรียก Second Conductor หรือ Braided Copper Shield ชั้นนอกสุด (Jacket) จะเป็นยางหรือพลาสติกที่มีความทนทาน สามารถเดินสายใต้พื้นดินได้
สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) ชั้น Shell ช่วยป้องกันการสูญเสียพลังงานจากการแผ่รังสี การถ่ายทอดสัญญาณในสายโคแอกเชียลทำได้ทั้งสองแบบคือ แบบบรอดแบนด์(Broadband) และแบบเบสแบนด์ (Baseband) ตัวอย่างเช่น สายเคเบิลทีวี, สายสัญญาณโทรทัศน์
สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) การถ่ายทอดสัญญาณแบบบรอดแบนด์ เป็นสายชนิด 75 โอห์มใช้ส่งสัญญาณแบบอนาลอก ใช้ในการส่งข้อมูลระยะไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์ หรือส่งข้อมูลสัญญาณวิดีโอ ในประเทศสหรัฐอเมริกาใช้ในการส่งสัญญาณโทรทัศน์นับร้อยช่องผ่านสายโคแอกเชียลเพียงเส้นเดียวไปตามบ้านพักอาศัย การถ่ายทอดสัญญาณแบบเบสแบนด์ เป็นสายชนิด 50 โอห์มใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิตอล ถูกนำมาใช้ในการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณ
สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) Exp. สาย RG8 : มีขนาดใหญ่กว่า เรียก Thicknet หรือ 10Base5 สาย RG58 : มีขนาดบางกว่า เรียก Thinnet หรือ 10Base2 สาย RG6, RG59 : ใช้กับเครื่องรับโทรทัศน์, เคเบิลทีวี
สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) Connector Type: BNC (thinnet) , AUI/DIX (thicknet) Maximum Length: 185 m. (thinnet) (10Base-2), 500 m. (thicknet) (10Base-5) Transfer Rate: 10 - 100 Mbps Topology: Bus
Coaxial Cable
สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) สายโคแอกเชียลสามารถถ่ายทอดสัญญาณได้ 2 แบบ คือ บรอดแบนด์ (Broadband Transmission) เบสแบนด์ (Baseband Transmission)
Broadband Transmission แบ่งสายสัญญาณออกเป็นช่องสัญญาณขนาดเล็กจำนวนมาก ใช้ในการส่งสัญญาณ โดยจะมีช่องสัญญาณกันชน (Guard Band) ป้องกันการรบกวนกัน แต่ละช่องสัญญาณสามารถรับ-ส่งข้อมูลได้พร้อมกัน สัญญาณ Analog ใช้ในการส่งสัญญาณโทรทัศน์ได้หลายร้อยช่อง ตัวอย่าง Cable TV
Broadband Transmission
Baseband Transmission มีเพียงช่องสัญญาณเดียว มีความกว้างของช่องสัญญาณมาก การส่งสัญญาณเป็นแบบ Half-duplex ใช้ในระบบ LAN ส่งสัญญาณแบบ Digital อุปกรณ์มีความซับซ้อนน้อยกว่าแบบแรก
Baseband Transmission
สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) ข้อดี เชื่อมต่อได้ในระยะทางไกล (500 เมตร) ลดสัญญาณรบกวนจากภายนอกได้ดี ทำให้คุณภาพของสัญญาณดีกว่า ป้องกันการสะท้อนกลับ (Echo) ได้ดี
สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) ข้อเสีย ราคาแพง สายมีขนาดใหญ่น้ำหนักมาก ติดตั้ง Connector ยาก
สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic Cable) ประกอบด้วยเส้นใยแก้วหลายๆเส้น ที่ทำจากแก้วบริสุทธิ์หรือวัสดุใยแก้ว (Silica, Plastic) แต่ละเส้นหุ้มด้วยวัสดุสะท้อนแสง (Reflective Cladding) ชั้นถัดมาเป็นฉนวนหุ้ม เรียก Protective Buffer ชั้นนอกสุดช่วยเพิ่มความแข็งแรง เรียก Jacket
สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic Cable) ใช้แสงเป็นตัวส่งข้อมูล มีการเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นคลื่นแสง ต้นกำเนิดแสงคือ LED (Light Emitting Diode) หรือ ILD (Injection Laser Diode) ปลายทางมีตัวรับสัญญาณ เรียก Photo Diode ใช้หลักการสะท้อนของแสงในมุมที่แตกต่างกัน ความเร็วของการส่งสัญญาณจะเท่ากับความเร็วแสง
สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic Cable) Connector Type: FC, FDDI, SC, LC, MT Maximum Length: 100 Km. Transfer Rate: 10 Gbps Topology: Bus
Maximum Distance (IEEE) Data Rate Ethernet Standards (IEEE) 2km Maximum Cable Distance For Ethernet* Maximum Distance (IEEE) Data Rate Ethernet Standards (IEEE) 2km 10 Mbps Ethernet (10Base-FL) 100 Mbps Fast Ethernet (100Base-FX) 300m Fast Ethernet (100Base-SX) 550m 1000 Mbps Gigabit Ethernet (1000Base-SX) 220m Gigabit Ethernet (1000Base-LX) 5km 70km Gigabit Ethernet (1000Base-LH) * 1ตm = 1 micron, 1nm = 1 nanometer wavelength
Fiber Optic Connector SC connector LC connector
สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic Cable) Single Mode: ไม่ใช้การสะท้อนแสง แสงเดินทางเป็นเส้นตรง Multimode Step Index: ใช้วัสดุหุ้มท่อเป็นสารสะท้อนแสง Multimode Grade Index: ใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันมาผลิตใยแก้วแทนการใช้สารสะท้อนแสง
Single Mode
Single - Mode
Single mode cable มีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับความยาวคลื่นแสง ทำให้แสงถูกส่งผ่านเส้นใยนำแสงไปยังปลายทางและทำให้การรับแสงดีขึ้น เส้นใยชนิดนี้มีราคาค่อนข้างแพง แต่ประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลสูง เนื่องจากสามารถลดการสูญเสียกำลังของสัญญาณจากการสะท้อนของแสงน้อยที่สุด จึงสามารถส่งข้อมูลได้หลาย Gbps ในระยะทางถึง 30 กิโลเมตร
Multimode Step Index
Multimode
Multimode Step Index เส้นใยนำแสงชนิดนี้ แสงจะสะท้อนด้วยมุมต่าง ๆ จนถึงปลายทางรับสาย มีราคาไม่แพงและมีประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลดีพอสมควร
Multimode Grade Index
Multimode Graded index มัลติโหมดเคเบิลที่ฉาบด้วยวัสดุที่มีดัชนีความหักเหหลายระดับ ทำให้เกิดจุดรวม (focus) ของการสะท้อนแสง สามารถส่งข้อมูลได้ดีกว่าแบบ Multimode cable
สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic Cable) ข้อดี ส่งข้อมูลปริมาณมากด้วยความเร็วสูง (Bandwidth มาก) ส่งได้ระยะทางไกล สัญญาณอ่อนกำลังยาก ไม่มีการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีข้อผิดพลาดน้อย มีความปลอดภัยสูง
สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic Cable) ขนาดเล็ก น้ำหนักเบา มีความทนทาน สามารถติดตั้งในที่ที่มีอุณหภูมิสูงหรือต่ำมากได้ ค่าใช้จ่ายจะถูกกว่าสายทองแดง ถ้าใช้งานในระยะทางไกล
สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic Cable) ข้อเสีย ค่าใช้จ่ายสูง เมื่อเทียบกับสายทั่วไป ติดตั้งอุปกรณ์ยาก ต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญ ไม่สามารถบิดงอได้เพราะอาจทำให้แตกหัก
สื่อประเภทเหนี่ยวนำ (Conducted Media)
สื่อประเภทกระจายคลื่น (Radiated Media)
สื่อประเภทกระจายคลื่น (Radiated Media): คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio) ไมโครเวฟ (Microwave) ดาวเทียม (Satellite) แสงอินฟราเรด (Infrared)
Propagation methods
Bands Band Range Propagation Application VLF 3–30 KHz Ground Long-range radio navigation LF 30–300 KHz Radio beacons and navigational locators MF 300 KHz–3 MHz Sky AM radio HF 3–30 MHz Citizens band (CB), ship/aircraft communication VHF 30–300 MHz Sky and line-of- sight VHF TV, FM radio UHF 300 MHz–3 GHz Line-of- sight UHF TV, cellular phones, paging, satellite SHF 3–30 GHz Satellite communication EHF 30–300 GHz
คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio) ออกอากาศในระบบ AM (Amplitude Modulation) และ FM (Frequency Modulation) ความถี่ 0.3 – 300 MHz การแพร่กระจายคลื่นเป็นไปในลักษณะทุกทิศทาง (Omnidirectional) AM ความถี่ต่ำกว่า ไปได้ไกลกว่า แต่ถูกรบกวนได้ง่ายกว่า
คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio) ข้อดี ราคาถูก ติดตั้งง่าย ข้อเสีย ได้รับผลกระทบจาก อิทธิพลของดวงอาทิตย์ ความหนาแน่นของอากาศ พายุ อัตราเร็วในการส่งข้อมูลต่ำ 2 Mbps
ไมโครเวฟ (Microwave) ใช้ความถี่ในการถ่ายทอดสัญญาณสูง ในช่วง 0.3 – 30 GHz (ultra-high frequency (UHF) (0.3–3 GHz), super high frequency (SHF) (3–30 GHz), and extremely high frequency (EHF) (30–300 GHz) signals.) ส่งข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงถึง 45 Mbps ครอบคลุมพื้นที่รัศมี 40 – 48 Km สัญญาณเดินทางเป็นเส้นตรง (Line-of-sight transmission) เป็นสัญญาณทิศทางเดียว (Unidirectional) การวางเสาอากาศมีผลต่อสัญญาณ
ไมโครเวฟ (Microwave) สัญญาณเดินทางเป็นเส้นตรง จะเกิดปัญหากับความโค้งของผิวโลก ต้องส่งสัญญาณเป็นทอดๆจากสถานีหนึ่งไปอีกสถานีหนึ่ง ระหว่างสถานีต้องไม่มีสิ่งกีดขวาง เหมาะกับการส่งข้อมูลในพื้นที่ที่ห่างไกลกันมากหรือท้องถิ่นทุรกันดาร หรือสถานที่ที่ไม่สะดวกในการเดินสายสัญญาณ
ไมโครเวฟ (Microwave)
ไมโครเวฟ (Microwave)
ไมโครเวฟ (Microwave)
ไมโครเวฟ (Microwave)
ไมโครเวฟ (Microwave) ข้อดี คือ ราคาถูก ติดตั้งง่าย อัตราเร็วในการส่งข้อมูลสูง ข้อเสีย คือ สัญญาณอาจถูกรบกวนได้จากอุณหภูมิ พายุ หรือ ฝน
ดาวเทียม (Satellite) ใช้แก้ปัญหาของไมโครเวฟที่มีกับความโค้งของโลก เสมือนสถานีไมโครเวฟที่ลอยอยู่บนอวกาศ ทำหน้าที่ทวนสัญญาณไมโครเวฟ (Transponder) แทนเสาส่งบนพื้นดิน อยู่สูง 35,680 Km. (22,300 Miles) ตามแนวเส้นศูนย์สูตร โคจรรอบโลกใช้เวลา 24 ชม. เสมือนหยุดนิ่ง เรียก Geosynchronous Orbiting Satellites (GEOS)
ดาวเทียม (Satellite)
ดาวเทียม (Satellite)
ดาวเทียม (Satellite) ข้อดี คือ อัตราเร็วในการส่งข้อมูลสูง (50 Mbps) ครอบคลุมพื้นที่ทั่วโลก
ดาวเทียม (Satellite) ข้อเสีย คือ ถูกรบกวนได้จากสภาพอากาศ พายุ หรือ ฝน รวมทั้งตำแหน่งโคจรของดวงอาทิตย์ จะมีเวลาหน่วง (Propagation Delay Time) ตั้ง 0.5 – 3 วินาที ในการส่งสัญญาณ ทำให้ได้รับข้อมูลช้ากว่าเวลาที่เกิดขึ้นจริง ไม่เหมาะกับงาน On-line หรือ Real-time ที่สำคัญคือ ลงทุนสูง
แสงอินฟราเรด (Infrared) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic) ใช้ในอุปกรณ์ทั่วไป เช่น Remote Control พัฒนามาใช้ในการสื่อสารข้อมูล แสงเดินทางเป็นเส้นตรง สะท้อนบนวัสดุผิวเรียบได้ ส่งสัญญาณได้ไกล 10 – 30 เมตร สะดวกในการใช้งาน
แสงอินฟราเรด (Infrared) Computer และ อุปกรณ์รุ่นใหม่ๆ จะมีช่องสื่อสาร IrDA (Infrared Data Association) สื่อสารโดยไม่ต้องเชื่อมต่อสาย ความเร็วต่ำ 16 Mbps เหมาะกับงานที่ไม่เน้นการส่งข้อมูลปริมาณมากๆ ต้องไม่มีสิ่งกีดขวางในการส่งสัญญาณ ไม่เหมาะกับการสื่อสารระยะไกล
แสงอินฟราเรด (Infrared)
Radiated Media Laser Bluetooth Cellular Network WAP …???
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล ระบบเครือข่ายการสื่อสารไม่ได้ถูกจำกัดอยู่เพียงการใช้สื่อตัวใดตัวหนึ่ง ได้มีการนำสื่อหลายๆตัวมาทำงานร่วมกันเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การเลือกสื่อ สิ่งที่ต้องพิจารณา ราคาของสื่อ ความเร็วในการส่งข้อมูล ระยะทางและการขยายตัว อัตราการผิดพลาดของข้อมูล ความปลอดภัย
ราคาของสื่อ ถูกที่สุดคือ UTP นิยมใช้มาก Fiber Optic, Satellite แพงที่สุด ดูเรื่องของระยะทางประกอบ
ความเร็วในการส่งข้อมูล UTP : 1000 Mbps (Cat-6) Coaxial : 100 Mbps Fiber Optic : 10 Gbps Broadcast Radio : 2 Mbps Microwave : 45 Mbps Satellite : 50 Mbps Infrared : 16 Mbps
ระยะทางและการขยายตัว ไกลสุด : Satellite Twisted Pair : ขยายตัวง่ายสุด
ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติของสื่อนำข้อมูล
ประเภทของการเชื่อมต่อสายสื่อสาร สามารถแบ่งประเภทของการเชื่อมต่อได้ 2 แบบ คือ การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point-to-Point) การเชื่อมต่อแบบหลายจุด (Multipoint)
ประเภทของการเชื่อมต่อสายสื่อสาร การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point-to-Point) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์สื่อสาร 2 เครื่องโดยผ่านสายสื่อสาร 1 เส้น สายสื่อสารจะไม่ถูกแชร์การใช้งานร่วมกับคนอื่น เหมาะสำหรับงานที่มีการส่งข้อมูลจำนวนมาก
ประเภทของการเชื่อมต่อสายสื่อสาร การเชื่อมต่อแบบหลายจุด (Multipoint) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์สื่อสารหลายๆเครื่องเข้าด้วยกันโดยใช้สายสื่อสารเส้นเดียว (Shared Circuit) เพื่อให้เกิดการใช้งานทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ซึ่งจะต้องมีการแบ่งกันใช้สายสื่อสารร่วมกัน
อุปกรณ์เชื่อมต่อเทอร์มินอล (Terminal Interface) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อ ทำให้อุปกรณ์ (คอมพิวเตอร์) 2 ชนิด สื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
อุปกรณ์เชื่อมต่อเทอร์มินอล (Terminal Interface) Data Communication Equipment (DCE) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับส่งข้อมูลโดยตรง เช่น MODEM, Switching Data Terminal Equipment (DTE) เป็นอุปกรณ์ที่สร้าง ใช้งานหรือประมวลผลข้อมูล เช่น Computer, Printer
อุปกรณ์เชื่อมต่อเทอร์มินอล (Terminal Interface)
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม www.searchNetworking.com http://www.eht.com/oldradio/history/outline/Fess-voc.htm http://www.bartleby.com/59/23/microwavecom.html http://www.noaa.gov/satellites.html
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม http://www.elitelex.com/DataNetworkingComps.htm http://en.wikipedia.org/wiki/Twisted_pair http://www.interfacebus.com/Interface_Cable_Buses.html