ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

การเขียนบทความ.
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
รายงานการวิจัย.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
G N L เรื่องที่น่าชื่นชม ยินดี การเรียนรู้ใหม่ ๆ ความคาดหวัง Greeting
การศึกษารายกรณี.
Seminar in computer Science
โรงเรียนศรีวัฒนาบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยีนานาชาติ
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
วิธีคิดนอกกรอบ สร้างสรรค์อย่าง มีไอเดียแบบเฉพาะตัว
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
การสร้างแรงบันดาลใจในการเขียน share
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
การวัดผล (Measurement)
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
ความหมายของการวิจารณ์
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
หลักการแก้ปัญหา
การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
อ่านอะไรและอ่านอย่างไรเพื่อพัฒนาตนในด้านความรู้
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
ประเภทของวรรณกรรม.
การฟังเพลง.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
พระเวสสันดรชาดก.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การอ่านเชิงวิเคราะห์
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
๑.นางสาววิมุตตรีศักดิ์สกุลไกร เลขที่ ๘ ๒.นางสาวกชรัตน์นันทเสน เลขที่ ๑๕ ๓.นางสาวสุวภัทรธูปหอม เลขที่ ๑๗ ๔.นางสาวชญานิศวิจารณ์ เลขที่ ๒๐ ๕.นายภูมิภัทรกลิ่นหอม.
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
ความหมายของการวิจารณ์
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ประเภทของการวิจารณ์.
ทักษะการอ่าน.
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
กิจกรรมการสอนโดยใช้ “เพลง”
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี

แนวในการวิเคราะห์วรรณคดี วิเคราะห์ความเป็นมาหรือประวัติของหนังสือและผู้แต่ง วิเคราะห์ลักษณะคำประพันธ์ วิเคราะห์เรื่องย่อ วิเคราะห์เนื้อเรื่อง วิเคราะห์แนวคิด จุดมุ่งหมาย เจตนาของผู้เขียน วิเคราะห์คุณค่าของวรรณกรรม

การวิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดี คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คุณค่าด้านเนื้อหาสาระ แนวความคิดและกลวิธีนำเสนอ คุณค่าด้านสังคม การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

การพิจารณาคุณค่าด้านวรรณศิลป์ คือ วรรณศิลป์ในงานเขียน ทำให้ผู้อ่าน เกิดความรู้สึกในจิตใจและเกิดจินตนาการสร้างภาพคิดในสมองได้ดี การวิเคราะห์งานประพันธ์จึงควรพิจารณาวรรณศิลป์เป็นอันดับแรกแล้วจึงวิจารณ์ว่ามีคุณค่าหรือน่าสนใจเพียงใดหากงานประพันธ์นั้นเป็นประเภทบทร้อยกรอง ผู้อ่านที่จะวิเคราะห์วิจารณ์ ควรมีความรู้บางอย่าง เช่น รู้บังคับการแต่งบทร้อยกรองรู้วิธีใช้ภาษาของกวี รู้วิธีสร้างภาพฝันหรือความคิดของกวี เป็นต้น

การวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหาสาระ แนวความคิด และกลวิธีนำเสนอ การวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหาสาระ แนวความคิด และกลวิธีนำเสนอ เนื้อหาสาระที่ดีนั้นอาจเป็นในแง่การให้ความรู้ ให้ความคิดเห็น คติ คำสอน ข้อเตือนใจ ชี้ช่องให้มองเห็นความจริง ความดี ชี้ทางแก้ปัญหา แนะสิ่งที่ควรปฏิบัติหรือ สิ่งที่ควรละเว้น กลวิธีการเขียนอาจชี้แนะโดยตรงหรือทางอ้อมก็ได้แล้วแต่กลวิธีของผู้เขียน ว่าจะทำได้แนบเนียนน่าสนใจเพียงใดข้อที่น่าสังเกตคือ งานเขียนที่ดีนั้นไม่จำเป็นต้องสอนศีลธรรมหรือคุณธรรมโดยตรง ผู้เขียนอาจใช้กลวิธีต่าง ๆ เพื่อให้คนอ่านเกิดความคิดได้ด้วยตนเอง ดังนั้นก่อนการวิจารณ์คนอ่านจึงต้องพยายามทำความเข้าใจ จับความหมายและสรุปแนวความคิดทั้งหลายของผู้เขียนให้ได้เสียก่อนหลักสำคัญมีอยู่อย่างหนึ่งว่า งานประพันธ์ที่ดีควรมีเนื้อหาสาระมุ่งสร้างสรรค์ มิใช่มุ่งทำลาย

การพิจารณาคุณค่าด้านสังคม การพิจารณาคุณค่าด้านสังคมจากวรรณกรรม ผู้อ่านต้องค้นหาสาระก่อนว่าผู้เขียน ต้องการเสนอ “สาระ” อะไรให้กับผู้อ่านเป็นด้านดีหรือด้านเสียของสังคมและผู้อ่าน ต้องพิจารณาว่า พึงปฏิบัติอย่างไร หรือได้แนวคิดอะไรบ้างจากการอ่านวรรณกรรมนั้น วรรณกรรมทุกเรื่องจะสะท้อนภาพชีวิตและสังคม

การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน งานประพันธ์ย่อมประกอบด้วยถ้อยคำ เนื้อหาสาระและกลวิธีการเขียนแบบต่าง ๆ ซึ่งสามารถนำงานประพันธ์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เช่น ในแง่จดจำถ้อยคำสำนวนไปใช้เพื่อความสนุกสนาน ความไพเราะ ส่วนเนื้อหาสาระอาจนำไปใช้ในแง่ได้คติข้อเตือนใจ ได้ความคิดเห็นที่มีประโยชน์ต่อชีวิต ครอบครัว สังคมและประเทศชาติการนำคุณค่าของงานประพันธ์ไปใช้ได้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับความสามารถและประสบการณ์ของผู้อ่าน ที่จะวิเคราะห์เพื่อเลือกจดจำ คิดและนำไปใช้ตามกำลังความคิดของตน