รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
ผลกระทบของแรงดันอินพุตออฟเซ็ตต่อวงจรขยาย
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
Welcome to Electrical Engineering KKU.
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
8. ไฟฟ้า.
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
ช่างสถานีไฟฟ้าย่อย หน่วยไฟฟ้า งานซ่อมบำรุง
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
กระแสไฟฟ้า Electric Current
เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
กิจกรรมที่ 1 1. ให้ท่านอ่านกรณีศึกษาที่ท่านได้รับ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
CHAPTER 11 Two-port Networks
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
Sinusoidal Steady-State Analysis
ชุดทดลองวงจรและ เครื่องมือวัดพื้นฐาน
PH114(SCE102) ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
สัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part II)
หน่วยที่ 4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
การต่อวงจรตัวต้านทาน
การใช้มัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกวัดค่าความต้านทาน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ไดแอก ( DIAC ) .
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
การหาค่าพารามิเตอร์เพื่อจำลองการทำงานของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
การวิเคราะห์แบบลูป ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน วงจรขนาน วงจรขนานคือ การนำโหลดมาต่อขนานกันหรือต่อคร่อมกัน ตั้งแต่สอง ตัวขึ้นไปโดยนำจุดต่อของปลายทั้งสองข้างของโหลดแต่ละตัวมาต่อร่วมกัน (ในสื่อการเรียนนี้จะขอใช้ตัวต้านทานแทนโหลดทั่ว ๆ ไป) รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต ที่มาของภาพ http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/book-06.html

วัตถุประสงค์ของการเรียน 1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมายของวงจรไฟฟ้าแบบขนานได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนคำนวณค่าความต้านทานรวมที่ต่อแบบขนานได้ 3. เพื่อให้ผู้เรียนวัดค่าแรงดัน กระแส และค่าความต้านทานของ วงจรได้ สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต

การคำนวณค่าความต้านทานรวมที่ต่อแบบขนาน สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต

รูปที่ 2 แสดงการต่อตัวต้านทานแบบขนาน สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต ที่มาของภาพ http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/book-06.html

จากรูปที่ 2 สามารถคำนวณหาค่าความต้านทานรวมได้ดังนี้ สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต

การวัดค่าแรงดันตกคร่อมในวงจรขนาน 1. นำมัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัดแรงดันไฟตรง (DCV) ให้มากกว่า แหล่งจ่าย (E) 2. นำสายด้านไฟบวกของมัลติมิเตอร์ สัมผัสกับด้านไฟบวกของตัว ต้านทาน R1 3. นำสายด้านไฟลบของมัลติมิเตอร์ สัมผัสกับด้านไฟลบของตัว 4. อ่านค่าแรงดันตกคร่อมความต้านทาน R1 5. ทำขั้นตอนที่ 1-4 เพื่อวัดค่าแรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน R2 และ R3 สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต

รูปที่ 3 แสดงการวัดค่าแรงดันตกคร่อมตัวต้านทานในวงจรขนาน สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต ที่มาของภาพ http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/book-06.html

การวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรขนาน 1. นำมัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัดกระแส (mA) ให้มีค่าสูงไว้ก่อน 2. นำสายด้านไฟบวกของมัลติมิเตอร์ต่ออนุกรมเข้ากับด้านไฟบวกของ แหล่งจ่ายไฟ 3. นำสายด้านไฟลบของมัลติมิเตอร์ต่ออนุกรมเข้ากับด้านไฟลบของ 4. อ่านค่ากระแสที่ไหลผ่านในวงจร สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต

รูปที่ 4 แสดงการวัดค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานในวงจรขนาน สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต ที่มาของภาพ http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/book-06.html

แบบฝึกหัดท้ายบท 1. วงจรขนานคืออะไรจงอธิบาย 2. จงอธิบายการวัดค่าแรงดันตกคร่อมในวงจรขนาน 3. จงอธิบายการวัดค่ากระแสในวงจรขนาน 4. การต่อวงจรแบบขนานมีข้อดีอย่างไรจงอธิบาย 5. การต่อวงจรแบบขนานค่าความต้านทานรวมในวงจรจะมีค่า เพิ่มขึ้นหรือลดลง ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบท โดยส่งทางอีเมล samranlertkonsarn@gmail.com สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต