โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
โรคปากและเท้าเปื่อย (Foot and Mouth Disease)
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
โรคคอตีบ (Diphtheria)
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Tuberculosis วัณโรค.
พยากรณ์โรคมือเท้าและปากในพื้นที่เขต18 (Hand Foot and Mouth Disease)
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
สัมมนาวิชาการโรคติดต่อที่ก่อให้เกิดความรุนแรงทางระบาดวิทยา
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การเป็นลมและช็อก.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
เครือข่ายครูและผู้ดูแลเด็ก ในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome) เกิดจากเชื้อCoxsackie A1B และ enterovirus71 สามารถทำให้เกิด การอักเสบของสมองได้ ผู้ป่วยจะมีอาการหนักคือมีไข้ ซึม หอบ เขียว และเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว แต่อย่างไรก็ตามมีเพียงส่วนน้อยที่มีอาการหนัก ในประเทศไทยพบการระบาดของโรคนี้เพียงประปรายเท่านั้น น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627

น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627 การติดเชื้อ เมื่อเด็กได้รับเชื้อไวรัสต้นเหตุเข้าสู่ร่างกาย ไวรัสจะแบ่งตัวที่เยื่อบุในกระพุ้งแก้ม และในลำไส้เล็ก ใน 24 ชั่วโมงต่อมาเชื้อไวรัสจะเข้าไปอยู่ในต่อมน้ำเหลือง โดยมีระยะฟักตัวสั้น คือ 3-6 วัน หลังได้รับเชื้อ 3 วัน ไวรัสก็จะแพร่กระจายในกระแสเลือดไปฝังตัวอยู่ตามอวัยวะเป้าหมาย คือเยื่อบุของช่องปาก และที่ผิวหนังของมือและเท้า น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627

น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627 เมื่อเข้าสู่วันที่ 6 ของการติดเชื้อ ร่างกายจะสร้างภูมิต้านทานสูงขึ้น ทำให้เชื้อไวรัสถูกขจัดออกจากกระแสเลือดและตำแหน่งที่เชื้อไวรัสไปฝังตัวอยู่ น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627

น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627 อาการของโรค มีไข้ เจ็บคอ มีตุ่มที่คอ ปาก เหงือก ลิ้นโดยมากเป็นตุ่มน้ำมากกว่าเป็นแผล ปวดศีรษะ ผื่นเป็นมากที่มือ รองลงมาพบที่เท้า ที่ก้นก็พอพบได้ เบื่ออาหาร เด็กจะหงุดหงิด น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627

น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627 โรคแทรกซ้อน ผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่เกิดโรคนี้จากเชื้อ coxsackievirus A16 จะหายเองใน 1 สัปดาห์ แต่หากเกิดจากเชื้อ enterovirus 71 โรคจะเป็นรุนแรงและเกิดโรคแทรกซ้อน - อาจจะเกิดชักเนื่องจากไข้สูง ต้องเช็ดตัวเวลามีไข้และรับประทาน ยาลดไข้ - อาจจะเกิดเยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบได้ น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627

การแพร่กระจายของเชื้อ เชื้อ Enteroviruses พบได้ทั่วโลก ในประเทศที่ยังไม่พัฒนา อาจพบเด็ก ๆ ติดเชื้อในระหว่างที่ยังเป็นทารกอยู่ แต่สำหรับในประเทศที่พัฒนาแล้ว อาจจะไม่พบการติดเชื้อจนกระทั่งเป็นวัยรุ่น เพศชายจะสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ดีกว่าเพศหญิง การถ่ายทอดไวรัสผ่านทางช่องปากหรือโดยทางอวัยวะที่เกี่ยวกับการหายใจ น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627

การแพร่กระจายของเชื้อ (ต่อ) Enterovirus สามารถถูกขับออกมาทางอุจจาระได้ ตรวจพบได้ในน้ำ , ดิน , ผักสด , สัตว์น้ำที่มีเปลือกหุ้ม สามารถติดต่อได้ในชุมชนโดยการปนเปื้อนมากับอาหาร หรือ น้ำ ลักษณะของโรค จะเกิดผื่นขึ้นที่มือ เท้า และปาก ประเทศในเขตอบอุ่น จะพบโรคนี้บ่อยในฤดูที่มีอากาศร้อน แต่สำหรับประเทศในเขตร้อน จะพบโรคนี้ได้ทุกฤดูกาล น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627

เกณฑ์การวินิจฉัยโรค…ทางคลีนิค ไข้ + แผลเปื่อยหลายแผล + ตุ่มน้ำพองขนาดเล็กที่ฝ่ามือ นิ้วเท้า ฝ่าเท้าและส้นเท้า เกณฑ์การวินิจฉัยโรค...ทางห้องปฏิบัติการ แยกเชื้อไวรัส จาก - Throat swab ในสัปดาห์แรกของการเริ่มป่วย - ป้ายจากตุ่มน้ำพอง ที่มือ เท้า ก้น - เก็บอุจจาระภายใน 14 วันของวันที่เริ่มป่วย ตรวจเลือด 2 ครั้งห่างกัน 14 วัน น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627

ประเภทผู้ป่วยและการรายงานโรค ผู้ป่วยที่สงสัย (suspected case) ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลีนิค ผู้ป่วยที่เข้าข่าย (probable case) เกณฑ์ทางคลีนิค + ข้อมูลทางระบาดวิทยาที่เชื่อมโยงกับผู้ป่วยที่ยืนยัน ผู้ป่วยที่ยืนยัน (confirmed case) เกณฑ์ทางคลีนิค + ผลทางห้องปฏิบัติการ น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627

น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627 การรักษา ไม่มียาสำหรับการรักษาโดยเฉพาะ ส่วนมากมักจะเป็นการรักษาไปตามอาการ อาจมีการรักษาที่มุ่งจัดการกับโรคแทรกซ้อน เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ , การเต้นของกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ , หัวใจล้มเหลว เป็นต้น ใช้ immune globulin ป้องกันการเกิดอาการที่รุนแรง คือ ในรายที่ระดับภูมิคุ้มกันอยู่ในระดับที่เป็นอันตรายและสามารถทำให้ถึงแก่ชีวิตได้ น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627

น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627 การป้องกันและควบคุม จัดการการอนามัยในชุมชนให้ดีขึ้น เพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อ หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วย ในกรณีที่พบการระบาดในพื้นที่เดียวกัน ให้สอบสวนหาสาเหตุของการระบาดเพื่อกำหนดแนวทางการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรค น.ส. รสริน บวรวิริยพันธุ์ 45043627