ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

EEET0485 Digital Signal Processing การประมวลผลสัญญาณดิจิตอล
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP2-1 2 Discrete-time Signals and Systems สัญญาณและระบบแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา ผศ.ดร.
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 5 The Discrete.
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP10-1 DSP 10 Multirate Signal Processing การประมวลผลแบบหลายอัตราสุ่ม ดร. พีระพล.
DSP 7 Digital Filter Structures โครงสร้างตัวกรองดิจิตอล
Mid-Term & Assignment สุริยา วิทยาประดิษฐ์ EEET0470
PC Based Electrocardiograph
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ลักษณะการทำงานของ Stack
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 2 z-Transform.
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
DSP 10 Multirate Signal Processing การประมวลผลแบบหลายอัตราสุ่ม
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing EEET0770 Digital Filter Design การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 6 Multirate.
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
DSP 7 Digital Filter Structures โครงสร้างตัวกรองดิจิตอล
DSP 10 Multirate Signal Processing การประมวลผลแบบหลายอัตราสุ่ม
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
( Code Division Multiple Access)
WIMAX มาทำความรู้จักกับ wimax กันดีกว่า Wimax คืออะไร หน้าที่ของwimax
การแสดงภาพสามมิติ จัดทำโดย ด.ญ.ญาณตา สมาภาคย์ เลขที่24
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
เทคโนโลยีไร้สายและดาวเทียม
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
คลื่นผิวน้ำ.
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
Electrical Circuit Analysis 2
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
Computer Graphics เรขาคณิต 2 มิติ 1.
DSP 8 FIR Filter Design การออกแบบตัวกรองดิจิตอลแบบ FIR
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ CESdSP
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
โปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม 152-315 Signals and Systems สัปดาห์ที่1 Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์

Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University สัญญาณ ระบบ และการประมวลผลสัญญาณ สัญญาณ ปริมาณทางฟิสิกส์ที่แปรค่าตามตัวแปรอิสระอย่างเช่น เวลา คณิตศาสตร์ สัญญาณเป็นฟังก์ชันของตัวแปรอิสระ , Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University สัญญาณที่ไม่สามารถเขียนในรูปฟังก์ชันของตัวแปรอิสระ สัญญาณเสียงพูด (speech) สัญญาณภาพ (video signal) สัญญาณคลื่นหัวใจ (ECG :electrocardiogram signal) สัญญาณคลื่นสมอง (EEG : electroencephalogram signal) บางช่วงเวลาเขียนในรูปผลรวมของสัญญาณรูปไซน์ ขนาด ความถี่ เฟสที่แตกต่างกันได้ Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University ระบบ อุปกรณ์ทางฟิสิกส์หรืออะไรก็ได้ที่นำมารวมกันแล้วทำหน้าที่จัดการสัญญาณ การจัดการสัญญาณของระบบเรียกว่า การประมวลผลสัญญาณ (signal processing) ตัวกรอง (filter) ใช้ลดสัญญาณรบกวน (noise) ที่แทรกเข้าในสัญญาณข้อมูล ตัวขยาย (amplifier) ระบบที่ทำหน้าที่ขยายขนาดของสัญญาณข้อมูล Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University การแบ่งประเภทสัญญาณ สัญญาณแบบหนึ่งมิติ สัญญาณแบบหลายช่องและแบบหลายมิติ การสั่นสะเทือนของชั้นหินของโลกในแนวตั้ง การสั่นสะเทือนของชั้นหินของโลกแนวขวาง สัญญาณสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว การสั่นสะเทือนบริเวณผิวโลก Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University สัญญาณแบบเวลาต่อเนื่องและแบบเวลาไม่ต่อเนื่อง สัญญาณแบบเวลาต่อเนื่อง (continuous-time signal) สัญญาณที่มีค่าของฟังก์ชันเกิดขึ้นได้ที่ทุกค่าของเวลา สัญญาณเสียงพูด สัญญาณภาพ สัญญาณแบบเวลาไม่ต่อเนื่อง (discrete-time signal) สัญญาณที่มีค่าของฟังก์ชันเกิดขึ้นได้ที่บางค่าของเวลาเท่านั้น , เป็นจำนวนเต็ม Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University การสร้างสัญญาณแบบเวลาไม่ต่อเนื่อง การสุ่ม (sampling) เลือกค่าของสัญญาณอนาลอกที่บางค่าเวลา เช่นทุกๆ 1 วินาที โดยการสะสมตัวแปรทุกๆช่วงคาบเวลาที่กำหนด การนับจำนวนรถที่ผ่านถนนเส้นหนึ่งทุกๆหนึ่งชั่วโมง ดัชนีตลาดหุ้นรายวันและราคาทองคำรายวัน Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University องค์ประกอบพื้นฐานของระบบประมวลผลสัญญาณ Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University ตัวสุ่ม (sampler) เปลี่ยนสัญญาณเวลาต่อเนื่องหรือสัญญาณอนาลอกเป็นสัญญาณแบบเวลาไม่ต่อเนื่อง ทำการสุ่มค่าของสัญญาณแบบเวลาต่อเนื่องที่บางค่าเวลาเท่านั้น , คือช่วงเวลาในการสุ่ม ตัวควอนไทซ์ (quantizer) เปลี่ยนขนาดของสัญญาณแบบเวลาไม่ต่อเนื่องให้มีระดับของขนาดจำนวนจำกัด ให้เกิดความเหมาะสมในการนำไปเข้ารหัส Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University ตัวเข้ารหัส (coder) นำแต่ละระดับของสัญญาณที่ได้จากการควอนไทซ์มาเข้ารหัสเลขฐานสอง เป็นสัญญาณดิจิตอลเป็นอินพุตให้กับตัวประมวลผลสัญญาณแบบดิจิตอล สัญญาณอนาลอก สัญญาณที่เวลาต่อเนื่องและระดับของขนาดต้องต่อเนื่องด้วย สัญญาณแบบเวลาต่อเนื่อง สัญญาณที่เวลาต่อเนื่องส่วนขนาดจะต่อเนื่องหรือไม่ก็ได้ สัญญาณดิจิตอล สัญญาณแบบเวลาไม่ต่อเนื่องที่มีระดับของขนาดจำนวนจำกัด สัญญาณแบบเวลาไม่ต่อเนื่อง สัญญาณที่เวลาไม่ต่อเนื่องและระดับของขนาดไม่จำกัด Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University