น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ การวิเคราะห์ข้อมูล น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
ประเด็นหลักในการพิจารณาเลือกใช้สถิติทดสอบ 1. จุดมุ่งหมายของการวิจัย 2. สมมติฐานของการวิจัย 3. ระดับการวัดของข้อมูล จำนวนของกลุ่มตัวอย่าง ลักษณะการเป็นอิสระของข้อมูล
ประเภทของสถิติ สถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงอนุมาน ANOVA ANCOVA Mean Mode Variance SD Non Parametric Parametric t-test ANOVA ANCOVA Factor Analysis Pearson’s Correlation Nominal Ordinal Chi Square Median Test Sign Test Spearman Mann-Whitney Wilcoxon
ประเภทของสถิติ กลุ่มตัวอย่าง ประชากร (N) สถิติอนุมาน ค่าพารามิเตอร์ การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง ประชากร (N) สถิติอนุมาน ค่าพารามิเตอร์ ค่าสถิติ การประมาณค่าประชากร การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ
สถิติเชิงพรรณนา, สถิติเชิงอนุมาน สถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statistics) ใช้กับกลุ่มประชากร ได้แก่ Mean, Mode, Median, Variance, Standard Deviation เป็นต้น สถิติเชิงอนุมาน (Inference Statistics) เป็นการนำผลข้อมูลที่เก็บมาได้จากกลุ่มตัวอย่าง ไปใช้อ้างอิงหรืออธิบายกลุ่มประชากร ได้แก่ การประเมินค่าพารามิเตอร์ในประชากร (Estimation) และการทดสอบสมมุติฐาน (Hypothesis Testing) แบ่งออกเป็น Parametric และ Non parametric statistics
Parametric Statistics คือ สถิติที่ใช้กับข้อมูลที่มีการแจกแจงแบบโค้งปกติ มีระดับการวัดแบบ Ratio หรือ Interval scale เช่น t-test, ANOVA, Correlation, Multiple Regression เป็นต้น
Non Parametric Statistics มีระดับ การวัดแบบ Ordinal และ Nominal Scale วิเคราะห์โดยการใช้วิธี Chi Square, Log Rank Test, Mann Whitney, Wilcoxon เป็นต้น
แสดงการใช้สถิติพรรณนาและสถิติอนุมานในงานวิจัย ประชากร ค่าพารามิเตอร์ สุ่ม ตัวอย่าง สถิติพรรณนา ค่าสถิติ สถิติอนุมาน
การทดสอบสมมติฐาน
ความหมาย ....สมมติฐาน คือ ข้อความที่คาดคะเนคำตอบเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งไว้ล่วงหน้า โดยการคาดคะเนจะอาศัยหลักการ ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง หรือประสบการณ์ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ
การทดสอบสมมติฐาน (Test of Hypotheses) เป็นวิธีการตัดสินใจเกี่ยวกับสมมติฐานโดยอาศัยเกณฑ์บางอย่างเข้าช่วย โดยทั่วไปจะใช้วิธีการทางสถิติกับข้อมูลที่ได้มาจากตัวอย่าง แล้วพิจารณาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น มี 2 แบบ การทดสอบแบบหางเดียว (One tailed Test) คือการทดสอบว่าค่าพารามิเตอร์มีค่ามากกว่า หรือน้อยกว่าค่าที่กำหนด โดยสังเกตได้จากใน H1 หรือ Ha จะมีเครื่องหมาย > หรือ < (ถ้าเป็น > จะเรียกว่าทดสอบแบบหางเดียวด้านขวา แต่ถ้าเป็น < จะเรียกว่า ทดสอบแบบหางเดียวด้านซ้าย) การทดสอบแบบ 2 หาง (Two tailed Test) คือการทดสอบว่าค่าพารามิเตอร์มีค่าเท่ากับค่าที่กำหนดหรือไม่ (สังเกตจากใน H1 หรือ Ha จะมีเครื่องหมาย =)
การทดสอบสมมติฐาน การปฏิเสธสมมติฐาน การยอมรับสมมติฐาน ความเชื่อมั่นของการทดสอบสมมติฐานว่ามี ความถูกต้องเชื่อถือได้เป็นร้อยละเท่าใด ความผิดพลาดที่ยอมรับได้เป็นร้อยละเท่าใด
ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน 1. ตั้งสมมติฐาน H0 และ H1 2. กำหนดค่า ที่นิยม คือ .05 และ .01 3. คำนวณค่าสถิติ 4. เปรียบเทียบค่า sig. กับ
5. สรุปผลการทดสอบ 5.1 ยอมรับ H0 ( Accept H0 ) : ถ้าค่าสถิติที่คำนวณตกอยู่ในเขตยอมรับ 5.2 ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 ( Reject H0 ) : ถ้าค่าสถิติที่คำนวณตกอยู่ในเขตวิกฤต
การตั้งสมมติฐาน สมมติฐานหลัก หรือสมมติฐานว่าง (null hypothesis) สมมติฐานที่ต้องการทดสอบแสดงความไม่แตกต่าง หรือความเท่ากันของพารามิเตอร์
การตั้งสมมติฐาน สมมติฐานรอง หรือสมมติฐานแย้ง หรือสมมติฐานทางเลือก (alternative hypothesis) สมมติฐานที่มีลักษณะตรงข้ามหรือแตกต่างจากสมมติฐานว่างที่ต้องการทดสอบในลักษณะไม่เท่ากับ หรือ น้อยกว่า หรือ มากกว่า อย่างใดอย่างหนึ่งตามการคาดคะเนของผู้ศึกษา
ประเภทของสมมติฐาน 1. สมมติฐานทางการวิจัย (Research H.) 2. สมมติฐานทางสถิติ (Statistical H.)
รูปแบบการเขียนสมมติฐาน เขียนในรูปข้อความของภาษา เขียนในรูปแบบของคณิตศาสตร์
1. สมมติฐานทางการวิจัย (Research H.) 1.1 แบบมีทิศทาง (Directional H.) : สูงกว่า, มากกว่า/น้อยกว่า 1.2 แบบไม่มีทิศทาง (Non - Directional H.) : แตกต่าง/ไม่แตกต่างกัน, สัมพันธ์/ไม่สัมพันธ์กัน
ตัวอย่างที่ 1 หญิงตั้งครรภ์กลุ่มที่ได้รับการอบรมเรื่องการเตรียมตัวของมารดาก่อนและหลังคลอดจะมีความรู้และวิธีการปฏิบัติตนถูกต้องสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการอบรม ตัวแปรต้น : การได้รับการอบรม ฯ ตัวแปรตาม 1) ความรู้ของหญิงตั้งครรภ์ 2) วิธีการปฏิบัติตน ฯ
การตายของทารก มี ความสัมพันธ์ กับ การวางแผนครอบครัว และภาวะเจริญพันธุ์ ตัวอย่างที่ 2 การตายของทารก มี ความสัมพันธ์ กับ การวางแผนครอบครัว และภาวะเจริญพันธุ์ ตัวแปรต้น : การตายของทารก ตัวแปรตาม 1) การวางแผนครอบครัว 2) ภาวะเจริญพันธ์
ตัวแปรต้น : รูปแบบของการรักษา ตัวอย่างที่ 3 การใช้ผงน้ำตาลเกลือแร่รักษาโรค อุจจาระร่วง ในผู้สูงอายุให้ผลแตกต่างกับ การให้น้ำเกลือทางเส้นเลือดดำ ตัวแปรต้น : รูปแบบของการรักษา ตัวแปรตาม : ระยะเวลาการหายของโรค
การสูบบุหรี่มีความสัมพันธ์ทางบวก กับการเป็นโรคมะเร็งปอด ตัวอย่างที่ 4 การสูบบุหรี่มีความสัมพันธ์ทางบวก กับการเป็นโรคมะเร็งปอด ตัวแปรต้น : การสูบบุหรี่ ตัวแปรตาม : การเป็นโรคมะเร็งปอด
2. สมมติฐานทางสถิติ (Statistical H.) 2.1 สมมติฐานกลาง/สมมติฐานไร้นัยสำคัญ (Null H.) = H0 2.2 สมมติฐานอื่น (Alternative H.) = H1
เปรียบเทียบค่าพารามิเตอร์กับค่าคงที่ กรณี ประชากร 1 กลุ่ม เปรียบเทียบค่าพารามิเตอร์กับค่าคงที่
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยประชากรกับค่าคงที่
เปรียบเทียบสัดส่วนประชากรกับค่าคงที่
เปรียบเทียบค่าพารามิเตอร์ ระหว่างประชากร 2 กลุ่ม
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยประชากร 2 กลุ่ม
เปรียบเทียบสัดส่วนประชากร 2 กลุ่ม เปรียบเทียบสัดส่วนประชากร 2 กลุ่ม
ศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว
ตัวอย่างที่ 1
ตัวอย่างที่ 2
ตัวอย่างที่ 3
ตัวอย่างที่ 4
ตัวอย่างที่ 5 ทัศนคติต่อการคุมกำเนิด มีความสัมพันธ์กับจำนวนบุตร ตัวแปรต้น : ทัศนคติต่อการคุมกำเนิด ตัวแปรตาม : จำนวนบุตร
ตัวอย่างที่ 5
สมมติฐานที่ดีมีหลักเกณฑ์ 2 ประการ 1. แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2. สามารถทดสอบได้โดยวิธีทางสถิติ
ค่าความน่าจะเป็น (P-value) เป็นพื้นที่ใต้โค้งความน่าจะเป็นที่อยู่ภายใต้ความคลาดเคลื่อนแบบที่หนึ่ง (Type I Error) ถ้าเป็นการทดสอบหางเดียวขวามือ จะเป็นพื้นที่ด้านขวา ถ้าเป็นการทดสอบหางเดียวทางซ้าย จะเป็นพื้นที่ด้านซ้าย
ระดับนัยสำคัญ (Significance level) ความน่าจะเป็นที่จะเกิดความผิดพลาดจากการปฏิเสธสมมติฐานศูนย์ เมื่อสมมติฐานศูนย์เป็นจริง ผู้วิจัยเป็นผู้กำหนดเอง นิยมกำหนด .01 หรือ .05 หรือ .10
บริเวณวิกฤต (critical region) บริเวณของการปฏิเสธสมมติฐานศูนย์ เมื่อ สมมติฐานศูนย์เป็นจริง หาได้จากการเปิดตารางหาค่าสถิติ นำค่ามากำหนดบริเวณวิกฤตตามทิศทางของสมมติฐานทางเลือก
บริเวณวิกฤต (critical region) นำค่าต่าง ๆ จากตัวอย่างที่เก็บจริงใน การวิจัยมาแทนค่าในสูตรสถิติทดสอบ เพื่อหาค่าสถิติที่ใช้ทดสอบ ดูว่าค่าสถิติที่ได้ตกอยู่ในบริเวณวิกฤตหรือไม่ ถ้าตกอยู่ในบริเวณวิกฤต สรุปได้ว่า ปฏิเสธ สมมติฐานศูนย์
ค่า P-value ในการทดสอบแบบหางเดียวทางซ้าย = 0.05 P-value = 0.1314 Z* = -1.12 ยอมรับ H0 เพราะ P-value >
ค่า P-value ในการทดสอบ 2 ทาง Z*1 = 1.51 P-value / 2 = 0.0655 Z*2 = -1.51 = 0.025 = 0.05 ยอมรับ H0 เพราะ P-value >
การสรุปผลการทดสอบ : - ผลการทดสอบ นำค่า p-value ไปเปรียบเทียบกับค่าแอลฟ่า ที่กำหนดไว้ ปฏิเสธสมมติฐานศูนย์ หมายความว่า ข้อมูลจากตัวอย่างมีความแตกต่างหรือสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(statistically significant difference) หรือเป็นไปตามสมมติฐานทางเลือก ยอมรับ สมมติฐานศูนย์ หมายความว่า ยังไม่มีหลักฐานเพียงพอ หรือยังไม่เป็นไปตามสมมติฐานทางเลือก (not statistically significant difference)
การเลือกใช้สถิติสำหรับงานวิจัยเชิงทดลอง วัตถุประสงค์ ประเภทข้อมูล categorical ordinal continuous เปรียบเทียบประชากร2กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน Chi-square Rank sum test T-test เปรียบเทียบประชากร2กลุ่มที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน McNemar Sign-rank test เปรียบเทียบประชากร มากกว่า2กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน kruskal-wallis Oneway ANOVA เปรียบเทียบประชากร มากกว่า2กลุ่มที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน Cochran Q Friedman Repeated measure