คุณสมบัติการหารลงตัว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
Advertisements

ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ลำดับโคชี (Cauchy Sequences).
สับเซตและเพาเวอร์เซต
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ (Relations)
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
วงรี ( Ellipse).
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณสมบัติการหารลงตัว ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5

ตัวอย่างที่ 2 จงหาเซตของตัวหารทั้งหมดของ 100 วิธีทำ ให้ A แทนเซตของตัวหารทั้งหมดของ 100 ดังนั้นได้ A = {-100,-50,-25,-20,-10,-5,-2, -1,1,2,4,5,10,20,25,50,100}

บทนิยาม ให้ x เป็นจำนวนจริงใดๆ ฟังก์ชันจำนวนเต็ม มากที่สุดของ x เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ [x] หมายถึงจำนวนเต็มที่มากที่สุดซึ่งน้อยกว่าหรือ เท่ากับ x

ตัวอย่างที่ 3 [50.9] = 50 [-1.2] = -2 [10] = 10 [100/6] = [16.67] = 16

ตัวอย่างที่ 4 ให้ U = {1,2,3,…,100} A = {x∈U | 2 หาร x ลงตัว} B = {x∈U | 6 หาร x ลงตัว} C = {x∈U | 7 หาร x ลงตัว} จงหา n(A), n(B) และ n(C)

วิธีทำ n(A) = [100/2] = 50 n(B) = [100/6] = [16.67] = 16 n(C) = [100/7] = [14.28] = 14

ข้อสังเกต จำนวนที่มีค่าไม่เกิน n ที่หารด้วยจำนวนเต็ม บวก d ลงตัวมี [n/d] จำนวน เพราะฉะนั้น n(A) = [n/d]

ทฤษฎีบท 4.1 สำหรับจำนวนเต็ม a,b และ c ใดๆ (1) ถ้า a|b และ b|c แล้ว a|c (2) ถ้า a|b และ a|bc (3) ถ้า a|b และ b ≠ 0 แล้ว |a| ≤ |b| (4) ถ้า a|b และ a|c แล้ว a|(b+c) (5) ถ้า a|(b+c) และ a|b แล้ว a|c

ตัวอย่างที่ 5 พิจารณาสมบัติของการหารลงตัว (1) เนื่องจาก -3|42 และ 42|378 ดังนั้น -3|378 (2) เนื่องจาก 13|65 ดังนั้น 13|65(15) นั่นคือ 13|975 (3) เนื่องจาก -7|-35 และ -35 ≠ 0 ดังนั้น 8|(168+24) นั่นคือ 8|192 (4) เนื่องจาก 8|168 และ 8|24 ดังนั้น 8|(168+24) นั่นคือ 8 | 192 (5) เนื่องจาก 11|(33+143) และ 11|33 ดังนั้น 11|143