การแปลง E-R เป็น Table.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Datadictionary Prakan Sringam.
Advertisements

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
HO Session 14: Database Design Principles
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
Functional Programming
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
Security and Integrity
Entity-Relationship Model
Normalization.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ฐานข้อมูลและการออกแบบฐานข้อมูล
ส่วนที่ 4 System Design การออกแบบระบบ.
Databases Design Methodology
Enhanced Entity-Relationship Model
– Web Programming and Web Database
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
ทบทวน การออกแบบฐานข้อมูล
Chapter 3 แบบจำลองข้อมูล : Data Models
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความรู้พื้นฐานในการออกแบบ ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
อ.อารียา ศรีประเสริฐ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ระบบฐานข้อมูลทางการพยาบาล และ Microsoft Access 2003
ข้อสังเกตและข้อผิดพลาด ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
ระบบสารสนเทศเพื่อการขายสินค้า ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
Creating Database With Structure Query Language (SA&D-8)
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
Entity Relationship Model
The Relational Data Model
Data Modeling Chapter 6.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
ความสัมพันธ์ (Relationship)
โมเดลจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล (ER-Diagram)
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
Entity-Relationship Model
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
งานกลุ่ม กลุ่มที่ 3 เรื่อง ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ส่วนประกอบของแบบจำลองอีอาร์
E-R to Relational Mapping Algorithm
Data Modeling Using the Entity-Relationship Model
BC305 การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ
แบบจำลองข้อมูล (Data Model)
การออกแบบฐานข้อมูล ด้วย E-R Model
Entity-Relationship Model
บทที่ 4 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database
บทที่ 11 การเขียนแผนผังข้อมูลแบบสัมพัทธ์.
การเปลี่ยนจาก E-R Diagram เป็นโมเดลเชิงสัมพันธ์ (ตารางข้อมูล)
Chapter 6 : แบบจำลอง E-R (Entity-Relationship Model)
บทที่ 5 การควบคุมความถูกต้องให้กับข้อมูล (Data Integrity)
โดย อ.พัฒนพงษ์ โพธิปัสสา
7 Entity-Relationship Modeling แผนภาพความสัมพันธ์ ORACLE MS SQL SERVER
Database design E-R Diagram
E-R Diagram (Entity Relationship Diagram)
การออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลด้วย E-R Model และการแปลงเป็นรีเลชัน
โครงสร้างข้อมูล( Data Structure)
กฎการ Normalization 1. จะต้องไม่มีเซลล์ใดในตารางที่มีค่าเกิน 1 ค่า ดังนั้นเราสามารถทำให้ตารางผ่านกฎข้อที่ 1 ได้ด้วยการแยกเซลล์ที่มีค่าเกินหนึ่งออกเป็นเรคคอร์ดใหม่
สรุปขั้นตอนการสร้าง E-R Diagram
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database
ตัวแบบข้อมูล (Data Modeling)
[ บทที่ 5 ] การออกแบบฐานข้อมูล
Chapter 7 : ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ( ER-to-Relational Mapping Algorithm ) อ.คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแปลง E-R เป็น Table

คุณสมบัติของแผนภาพ E-R ที่ดี ต้องสามารถอธิบายโครงสร้างของข้อมูลได้ครบถ้วน ต้องมีรูปแบบที่ง่ายต่อการเข้าใจ รายละเอียดแต่ละส่วนที่ปรากฏในแผนภาพต้องมีความชัดเจนไม่สามารถตีความเป็นอย่างอื่นได้ รายละเอียดของข้อมูลแต่ละส่วนที่ปรากฏในแผนภาพต้องไม่ซ้ำซ้อนและมีรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน

Person Enroll Course Advised_by Enroll Student Course Advised_by Professor

ใช้คำทั้ง Professor และ Teacher Enroll Student Course Advised_by Taught_by Professor Teacher ใช้คำทั้ง Professor และ Teacher

เปลี่ยนมาเป็นใช้คำใดคำหนึ่ง (Professor) Enroll Student Course Advised_by Professor Taught_by เปลี่ยนมาเป็นใช้คำใดคำหนึ่ง (Professor)

Regular Entities ให้สร้างเป็น 1 Relation Simple attributes: จะกลายเป็น attributes ของ Table Composite attributes: เอา ส่วนประกอบย่อยของ Composite attribute มาเป็น attributes ของ Table Multi-valued Attribute: สร้าง Relationขึ้นมาใหม่ประกอบด้วย Attribute ที่เป็น Multivalues และใช้ Primary Key จาก Entity หลักร่วมกับ attributes ใน Relationนั้น

ตัวอย่าง การ Mapping Regular Entities

ตัวอย่าง การ Mapping Composite Attribute

สำหรับ Weak Entities สำหรับ Weak Entities ให้สร้างเป็น 1 Relation ให้สร้าง Relation ขึ้นมาใหม่ โดย Attribute ของ Relation คือ Attribute ของ Weak Entities และ Primary Key คือ Primary Key ของ Strong Entity ร่วมกับ Partial Key ของ Weak Entity

ตัวอย่าง การ Mapping Weak Entities

ตัวอย่างการ Mapping multivalued attribute

สำหรับความสัมพันธ์ แบบ Binary Relationships One-to-One เอา Primary key ของ Entity ที่มีความสัมพันธ์ แบบ mandatory (บังคับให้ทุกสมาชิกใน Entity เข้าร่วมในความสัมพันธ์) มาเป็น foreign key ใน Relation ของ Entity ฝั่งที่เป็น optional One-to-Many เอา Primary key ของ Entity ฝั่ง One มาเป็น foreign key ให้ Relation ของ Entity ฝั่ง many Many-to-Many สร้าง Relationขึ้นมาใหม่ โดยเอา primary keys ของทั้งสอง Entity มาเป็น primary key ร่วมกัน

ตัวอย่าง Mapping One-to-One เอา Primary key ของ Entity ที่มีความสัมพันธ์ แบบ mandatory (บังคับให้ทุกสมาชิกใน Entity เข้าร่วมในความสัมพันธ์) มาเป็น foreign key ใน Relation ของ Entity ฝั่งที่เป็น optional

ตัวอย่าง Mapping One-to-Many เอา Primary key ของ Entity ฝั่ง One มาเป็น foreign key ให้ Relation ของ Entity ฝั่ง many

ตัวอย่าง Mapping Many-to-Many สร้าง Relation ขึ้นมาใหม่ โดยเอา primary keys ของทั้งสอง Entity มาเป็น primary key ร่วมกัน

สำหรับความสัมพันธ์ แบบ Unary Relationships One-to-Many เอา Primary Key ของ Entity ของตัวเองมาเป็น foreign key อีกครั้งหนึ่ง Many-to-Many สร้าง Relation ขึ้นมาใหม่ โดยเอา Primary ของตัวเองมาเป็น Primary Key ร่วมกับ Primary Key เดิม แต่ตั้งชื่อให้ต่างกัน

ตัวอย่าง Mapping One-to-Many

ตัวอย่าง Mapping Many-to-Many