องค์กรแห่งการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

Knowledge Management (KM)
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
Learning Organization PSU.
การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)
1. นางสาวฉันทนา คงแก้ว เลขที่ 9
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
LEARNING ORGANIZATION
“โรงเรียนกับแนวคิดการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้”
Learning Organization
การจัดการความรู้ KM คืออะไร?
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
สร้างพลังเครือข่าย R2R
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
บันทึกจากการฟังการบรรยายเรื่อง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
(Knowledge Management : KM)
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
องค์กรแห่งการเรียนรู้. ความหมาย องค์กรที่มีพนักงานทุกคนทุกระดับ พัฒนาขีด ความสามารถในการสร้างผลงานที่ดีให้กับ องค์กรด้วยใจรัก ( วรภัทร์ ภู่เจริญ, หน้า.
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
Communities of Practice (CoP)
โครงการประชุมสัมมนาฝึกสอน/ฝึกงานกึ่งภาคเรียน (มัชฌิมนิเทศ)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
Participation : Road to Success
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์กรแห่งการเรียนรู้ รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย

องค์กรของท่านมีปัญหาเช่นนี้หรือไม่ เวลามีปัญหาในการทำงานไม่ทราบว่าจะถามใคร ใช้เวลานานในการหาข้อมูล - ข้อมูลไม่ทันสมัย - ข้อมูลไม่สมบรูณ์ - ข้อมูลไม่ตรง - ไม่พบข้อมูล คนในองค์กรมีผู้มีความรู้ความสามารถจำนวนมาก แต่ไม่มีการแบ่งปันความรู้ ความรู้ในองค์กรไม่ได้นำมาแลกเปลี่ยนและต่อยอดความรู้ใหม่

KM/ LO คืออะไร

KM คืออะไร การจัดการความรู้ ( Knowledge Management ) คือเครื่องมือเพื่อใช้บรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 3 ประการ การจัดการความรู้เป็นการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ   งาน องค์กร คน

การจัดการความรู้คืออะไร ... เครื่องมือ ผ่อนแรงในการเรียนรู้และพัฒนางาน ... เครื่องมือ สร้างพลังทวีคูณ (Synergy) จากการ รวมหมู่พลังที่แตกต่าง หลากหลาย ... เครื่องมือ สร้างความสัมพันธ์ในกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน ... เครื่องมือ ใช้ความรู้ของทั้งในและนอกหน่วยงาน ... เครื่องมือ ดึงศักยภาพของคน & ทีมออกมาใช้ ... เครื่องมือ ที่สร้างความเป็นไปได้ (Possibility) ... เครื่องมือ ที่จะนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ดีขึ้น จากประสบการณ์จริง

การจัดการความรู้ 3 มุมมอง ความรู้ในกระดาษ Knowledge Body of ความรู้ในคน of Knowing Process ความรู้ในเครือข่าย Community Learning BoK KM ที่สมบูรณ์ ควรมีทั้ง 3 ส่วน C o P P o K

Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud ส่วนที่ 1 เน้นการจัดระบบ Body Of Knowledge ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ Learn2gether

Process of Knowing เหตุผล ส่วนที่ 2 เน้นการจัดกระบวนการ เหตุปัจจัย Discussion Dialogue Problem-solving Storytelling ฝึกการใช้สมอง ทั้งสองฝั่ง วิเคราะห์ สังเคราะห์ จินตนาการ ความรู้สึก

ส่วนที่ 3 เน้นการสร้าง CoPs Community of Practices คือที่ๆ คนหลายๆ คนมารวมตัวกันเป็นชุมชน CoPs จะเกิดได้ต้องอาศัย 3 องค์ประกอบหลัก มีความสนใจใน เรื่องเดียวกัน มีปัญหาร่วมกัน แสวงหาบางอย่างร่วมกัน มีเรื่องที่จะแบ่งปัน ประสบการณ์ ประเด็นความสำเร็จ เทคนิคการแก้ปัญหา มีความสัมพันธ์ที่ดี สนิทสนม คุ้นเคย ไว้เนื้อเชื่อใจ รู้สึกปลอดภัย

LO คืออะไร องค์กรแห่งการเรียนรู้(Learning Organization: LO) กระบวนการของการปรับปรุงการกระทำด้วยความรู้ ความเข้าใจที่ดีกว่า Peter M. Senge ให้นิยามไว้ว่า - ที่ๆบุคลากรได้ขยายความสามารถอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างผลลัพธ์ที่ปรารถนา - ที่ซึ่งใส่ใจและให้ความสำคัญกับแบบแผนความคิดใหม่ๆและการพัฒนาต่อยอดความคิด - ที่ซึ่งแรงบันดาลใจเป็นอิสระ - ที่ซึ่งบุคลากรมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและรู้ที่จะเรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง

Peter M. Senge ได้กล่าวว่า “องค์การเรียนรู้ผ่านกลุ่มบุคคลที่เรียนรู้ การเรียนรู้ของแต่ละคนไม่ได้เป็นหลักประกันว่า เกิดการเรียนรู้ในองค์การขึ้น แต่การเรียนรู้ขององค์การจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อบุคคลมีการเรียนรู้เท่านั้น"

องค์กรใดจะเป็น LO ? LO (learning Organization) องค์กรของการเรียนรู้ พิจารณาจากองค์ประกอบ 4 ส่วน LO (learning Organization) องค์กรของการเรียนรู้ OL (Organizational Learning) กระบวนการเรียนรู้ในระดับองค์กร OK (Organizational Knowledge) องค์ความรู้หรือความรู้ที่สำคัญและจำเป็น KM (Knowledge Management) การจัดการความรู้

ทำไมต้องเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) - เพราะมีความได้เปรียบเหนือคู่แข่งอย่างถาวร - เป็นองค์กรอมตะ เจริญเติบโต และยั่งยืน - บุคลากรสนุกสนาน มีความสุขอยากมาทำงาน แบบเดิมๆ น่าเบื่อ อกุศลจิต อกุศลจิต องค์กรแห่งการเรียนรู้และบริหารความรู้ ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ (พิมพ์ครั้งที่ 1 มกราคม 2549)

การติดตั้ง LO ในองค์กร ความรู้ ความรู้ ความรู้ LO เสมือนการปลูกต้นไม้

การเรียนรู้ของทีมงาน การเรียนรู้ของบุคคล วินัยการเรียนรู้ของ Peter Senge การเรียนรู้ของทีมงาน การคิดอย่างเป็นระบบ (Systems Thinking) ระบบการคิด (Mental Model) มีวิสัยทัศน์ร่วม (Shared Value) ความเชี่ยวชาญเฉพาะบุคคล (Personal Mastery) มีการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning) การเรียนรู้ของบุคคล

วินัยการเรียนรู้ของ Peter Senge ความเชี่ยวชาญเฉพาะบุคคล(Personal Mastery) - คนในองค์กรให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ ฝึกฝน ปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง 2. ระบบการคิด (Mental Model) -ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ วุฒิภาวะที่ได้จากการสั่งสมประสบการณ์กลายเป็นกรอบความคิดที่ทำให้บุคคลนั้นๆ มีความสามารถในการทำความเข้าใจ วินิจฉัย ตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

วินัยการเรียนรู้ของ Peter Senge 3. การมีวิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) ของคนในองค์กร ให้สามารถ มองเห็นภาพและมีความต้องการที่จะมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน 4. การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning) ของ สมาชิกในลักษณะ กลุ่มหรือทีมงานเป็นเป้าหมายสำคัญที่จะต้องทำให้เกิดขึ้นเพื่อให้มีการ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์กันอย่างสม่ำเสมอ 5. การคิดอย่างเป็นระบบ (Systematic Thinking) ของคน ในองค์กร มี กันเป็นระบบโดยรวม(Total System) ได้ อย่างเข้าใจ แล้วสามารถ มองเห็นระบบย่อย(Subsystem)ที่จะนำไปวางแผน และดำเนินการทำ ส่วนย่อยนั้นให้เสร็จทีละส่วน

องค์กรที่ดำเนินการจัดการความรู้อย่างถูกต้อง ถูกแนวทาง เกิดการสนธิพลัง(synergy)ระหว่างองค์ประกอบ ของการจัดการความรู้ องค์กรอัจฉริยะ องค์กรอัจฉริยะ คน กระบวน การ เนื้อหาความรู้ เทคโน โลยี

วิถีสู่องค์กรอัจฉริยะ ศ. นพ.วิจารณ์ พานิช ได้กล่าวถึงวิถีสู่องค์กรอัจฉริยะ 1. มีความมุ่งหมาย มุ่งมั่น ที่ชัดเจน มั่นคง ไม่คลอนแคลน วิสัยทัศน์ร่วม(shared vision) ทำให้เกิดความร่วมใจ พร้อมใจ เป็นเสมือนตัวประสานทำให้เกิดพลังสร้างสรรค 2. ตั้งอยู่ในความไม่ประมาท - การประเมินผลงานโดยภาพร่วม มีการจัดการเปลี่ยนแปลงเชิงบวก(positive change management) - การจัดการความรู้(KM) คือหัวใจของการจัดการเปลี่ยนแปลง

วิถีสู่องค์กรอัจฉริยะ 3. มีการพัฒนาแผนยุทธ์ศาสตร์การจัดการความรู้ ที่กลมกลืนกับแผนยุทธ์ศาสตร์ขององค์กร - KM Roadmap มีทีมแกนนำ( เป็นแผนใช้KM ไม่ใช่แผนทำKM) 4. ใช่ภาวะผู้นำ และทีมแกนนำจัดการความรู้ - ผู้นำระดับสูงมุ่งมั่นสร้างกระแสการเปลี่ยนแปลง(พัฒนา)องค์กรอยู่ตลอดเวลา(continuous quality improvement :CQI) - เปลี่ยนบุคลากรทุกคนเป็น “ผู้นำการเปลี่ยนแปลง” ได้รับการยกย่อง ชื่นชม

วิถีสู่องค์กรอัจฉริยะ 5. มีการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างคน (human relationship management) - การจัดการความสัมพันธ์เชิงบวกและสร้างสรรค์ 6. มีการพัฒนาทักษะพื้นฐานของพนักงาน เช่น - knowledge sharing literacy - storytelling - deep listening - dialogue - appreciative inquiry - ทักษะในการเรียนรู้ภายในตน/กลุ่ม - ทักษะรวมหมู่ (collective skill) - ความเข้าใจ mental model ของตนเองและผู้อื่น

วิถีสู่องค์กรอัจฉริยะ 7. มีการพัฒนาทักษะในการใช้ “ตัวช่วย”(enabler) ต่อการจัดการความรู้ - AAR(after action review) - BAR( before action review) - storytelling - deep listening - dialogue - mentoring coaching - เทคโนโลยีเพื่อการจัดการคลังความรู้ 8. เป็นองค์กรที่ “ไร้กำแพง” - ระบบการทำงานแบบ “ ทีมข้ามสายงาน” (cross function team)

วิถีสู่องค์กรอัจฉริยะ 9. มีบรรยากาศแห่งอิสรภาพ และบรรยากาศเชิงบวก - สามารถทำปัญหาหรือวิกฤตกลายเป็นโอกาส - ทำความแตกต่างหลากหลายกลายเป็นพลัง - ทำกระบวนทัศน์ที่แตกต่าง เกิดการ เสริมพลัง กัน - ทำให้ผู้อาวุโสไม่ใช่ dead wood แต่เป็นผู้มีประสบการณ์ - คนรุ่นหลัง ใช้ความไม่รู้ตั้งคำถามแบบหลุดโลก ไปสู่การทดลองใหม่ๆ 10. มีการจัดการคนเก่ง จัดการขุมทรัพย์ทางปํญญา - ความสามารถในการทำให้งานประจำกลายเป็นเครื่องมือของการเรียนรู้

วิถีสู่องค์กรอัจฉริยะ 11. มีและใช้ระบบบันทึก “ขุมความรู้” และ “คลังความรู้” - มีการจดบันทึก ขุมความรู้( knowledge assets)ที่เกิดจากประสบการณ์การทำงาน อย่างเป็นระบบและจัดหมวดหมู่ และจัดเก็บให้ค้นหาง่าย 12. มีและใช้ระบบเทคโนโลยีสื่อสารและสารสนเทศ - มีระบบจดบันทึกและแลกเปลี่ยน ความรู้ฝังลึก - มีความสามรถในการใช้พลังของระบบข้อมูลสารอิเล็กทรอนิกส์

การสร้างความรู้ 2 แนวทาง วิจัย จค. ปัญหา ความรู้ ความ สำเร็จ

ความเกี่ยวข้องของ KM กับ LO KM = KV + KS + KA CoPs KF LO = SV + TL + LP ที่มา ดร. ประพันธ์ ผาสุขยืด

คนและองค์กรเก่งขึ้นเติบโตขึ้นอย่างยั่งยืน มีประสิทธิภาพ/ ประสิทธิผล เป้าหมายของการประยุกต์ KM ในองค์กร คนและองค์กรเก่งขึ้นเติบโตขึ้นอย่างยั่งยืน องค์กร บรรลุเป้าหมาย มีประสิทธิภาพ/ ประสิทธิผล (บรรลุเป้าหมาย) การทำงาน คน คิดเป็น ทำเป็น

องค์กรที่จะเป็น LO Learn Care Share Shine

การดำเนินการ KM ในองค์กร การบริหารเพื่อให้คนที่ต้องการใช้ความรู้ได้รับความรู้ที่ต้องการใช้ในเวลาที่ต้องการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการทำงาน

ประเภทของความรู้ ความรู้มี 2 ประเภท คือ           1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาติญาณ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์           2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ

ความรู้ที่อยู่ในตัวคน ความรู้ที่อยู่ในตำรา Tacit knowledge ความรู้ที่อยู่ในตัวคน ความรู้ Explicit knowledge ความรู้ที่อยู่ในตำรา Tacit : Explicit = 80 : 20

The SECI Model – Modes of Knowledge Transfer

การจัดการความรู้ (Knowledge Management) ในองค์กร การจัดการความรู้ (Knowledge  Management : KM) 1. หาความรู้ที่จำเป็น (Knowledge) วิเคราะห์จากวิสัยทัศน์ เรื่องสำคัญเร่งด่วน ปัญหาขององค์กร 2. จัดการความรู้ (Management ) 3. ทำให้เกิดวงจรเรียนรู้ (Learning Cycle ) ผลักดันให้นำความรู้ไปใช้ นำความรู้ไปใช้ นำความรู้ที่ได้(รวมปัญหาและอุปสรรค) เก็บเข้าคลังความรู้

การทำให้เกิดวงจรเรียนรู้ (Learning Cycle) 1 ผลักดันให้นำความรู้ไปใช้ นำความรู้ไปใช้ นำความรู้ที่ได้(รวมปัญหาและอุปสรรค) เก็บเข้าคลังความรู้ ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เช่น บทความหนังสือ เทปเสียง วิดีโอ ฯลฯ ความรู้ที่อยู่ในคน (Tacit Knowledge) เช่น ทะเบียนผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ 4 คลังความรู้ 2 ก่อนทำงาน ขณะทำงาน หลังจบการทำงาน 3

ทำความเข้าใจขั้นตอนปฏิบัติงานและพิจารณาประยุกต์กับ KM ใช้หลักการ PDCA ทำความเข้าใจ และพิจารณาประยุกต์กับ KM ความรู้ที่จำเป็นตามเป้าหมาย นำความรู้ที่ได้ ไปจัดการตามระบบ หรือกลับไปวางแผนเพื่อให้ได้ความรู้ ที่ต้องการ ใช้ความรู้ในการลงมือปฏิบัติ ให้บรรลุตามเป้าหมาย ตรวจสอบว่าปฏิบัติบรรลุตามเป้าหมาย

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share & Learn) ถ่ายทอดและ แลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อสอน/ พัฒนาคนอื่น ถ่ายทอดและ แลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อสกัดความรู้ออกมา ดึงความรู้ที่มีอยู่เดิมออกมา นำความรู้เดิมไปใช้เพื่อสร้างความรู้ใหม่ให้เพิ่มขึ้น

เครื่องมือ/วิธีการเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การบันทึกความรู้บทเรียนและความสาเร็จ (Lesson Learned) การบันทึกภาพและเสียง(Pictures & Movies) อื่นๆ (Other) การสัมนาเรื่องความรู้ต่างๆ (Knowledge Forum) อื่นๆ (Other) นำเสนอผลงาน บันทึก เครื่องมือ/วิธีการเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การใช้ที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยง (Mentoring System) อื่นๆ (Other) ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) การเล่าเรื่อง (Story Telling) การเสวนา (Dialogue) อื่นๆ (Other) ปรึกษา/ขอความช่วยเหลือจากผู้รู้ เล่า/พูดคุย

ปัจจัยหลักของการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป้าหมายชัดเจน ผู้นำเป็นแบบอย่าง สร้างเครือข่าย ผู้ปฏิบัติ วัฒนธรรมองค์กรเหมาะสม ความรู้ที่ใช้ในงานประจำวันได้ สร้างแรงจูงใจเหมาะสม 6 ปัจจัยหลักของการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

องค์ประกอบหลักของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) คน (People) คนที่มีประสบการณ์มาเล่าและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ สถานที่ (Process) สิ่งอำนวยความสะดวก (Infrastructure) มีสถานที่และบรรยากาศที่ดี และเหมาะสมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีสิ่งอานวยความสะดวกที่ช่วย ให้การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

การพัฒนา KM เพื่อการปรับปรุงองค์กร KM ต้องเชื่อมโยงกับ Vision/Mission หรือ Organizational goals มี KM Process ที่ครบวงจรและหมุนตลอดเวลา KM process ต้องเป็น Systematic approach (Definable, Repeatable, Measurable and Predictable) KM ต้องฝังเข้าไป(Embedded)ในsystems/processes มี Infrastructure และ Culture ที่สนับสนุน บุคลากรในองค์กรต้อง “เห็นประโยชน์” และ “อยากทำ”

วงจรการจัดการความรู้ (KM) ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน ทำความเข้าใจภารกิจขององค์กร ระบุสิ่งที่องค์กรเก่ง (Key Org. Knowledge) พัฒนาความเก่งให้เป็นจุดแข็งขององค์กร พัฒนาองค์กรให้เป็นเลิศ และปรับตัวได้ทุกสถานการณ์ KM

ขอบคุณ