โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
องค์ประกอบและรูปแบบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
อินเตอร์เน็ต.
TCP/IP.
Script Programming& Internet Programming
ATM NETWORK.
บทที่11 Transmission Control Protocol(TCP) Connection
Chapter 2 Switching.
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
Network Model แบบจำลอง OSI
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
ARP (Address Resolution Protocol)
Data Transferring.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Transport Layer.
File Transfer (FTP), WWW, HTTP, DHCP.
Network Layer Protocal:
COMPUTER NETWORK ชายชาญ กุศลจิตกรณ์.
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล
Data Communication Chapter 2 OSI Model.
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
OSI MODEL.
จัดทำโดย จัดทำโดย นางสาวชุติมา ก้องศิริวงศ์ รหัส นางสาวฏรินทร คงมณี รหัส
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
TCP/IP.
What’s P2P.
IRC - Internet Relay Chat
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
CSC431 Computer Network System
Week 11: Chapter 25: UDP Chapter 26: TCP
การบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network Management)
โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
เทคโนโลยีเว็บ (Web Technology)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การแก้ไขปัญหาการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย เบื้องต้น
CH 9 หมายเลขไอพี และการจัดสรร
Lab 1 – 2 Protocols Guideline.
05/04/60 Networking Devices 4 Copyrights by Ranet Co.,Ltd., All rights reserved.
05/04/60 3 Copyrights by Ranet Co.,Ltd. All rights reserved.
TCP Protocol.
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
บทที่ ๖ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเตอร์เนต ( Computer Networks and the Internet ) ๑. ๑ อินเตอร์เน็ต หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์นานาชาติ ที่มีสาย ตรงเชื่อมต่อไปยังสถาบันหรือหน่วยงาน.
การเชื่อมต่อ Internet การเชื่อมต่อไปยัง ISP การเชื่อมต่อไปยังระบบ LAN การเชื่อมต่อแบบไร้สาย การเชื่อมต่อผ่านระบบเคเบิลทีวี
เรื่อง Token Bus LAN จัดทำโดย นายปรีชา สุขมาก นายจักรกริน ย่องนุ่น เสนอ นาย จังหวัด ศรีสลับ.
ISP ในประเทศไทย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สิ่งที่สำคัญในระบบปฏิบัติการของเราในวันนี้คงหนีไม่พ้นในเรื่องของ เครือข่าย หรือ Network network คืออะไร เครือข่ายมีไว้เพื่อสื่อ สารกันระหว่างคอมพิวเตอร์
Network Security.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
Lightweight Directory Access Protocol
OSI Model Open System Interconnection. Open Systems Interconnection (OSI) จัดตั้งและกำหนดโดย องค์การกำหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ( International Standards.
แบบจำลอง OSI Model.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V.15-12-2011 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Data Communications and Networks) บทที่ 5 โปรโตคอล TCP/IP หนังสืออ้างอิง เอกสิทธิ์ วิริยจารี. (2548:62). เรียนรู้ระบบเน็ตเวิร์กจากอุปกรณ์ของ Cisco ภาคปฏิบัติ. --กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V.15-12-2011

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโปรโตคอล TCP/IP มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการ Tree Way Handshake มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหมายเลขพอร์ต (port number) สื่อสาร มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโปรโตคอล ARP (Address Resolution Protocol) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโปรโตคอล ICMP (Internet Control Message Protocol)

โปรโตคอล TCP ข้อแตกต่างระหว่าง OSI Model กับ TCP/IP คือ OSI Model จะนิยามหน้าที่ของแต่ละเลเยอร์อย่างชัดเจนและเจาะจง แต่สำหรับ TCP/IP นั้นจะนิยามแต่ละเลเยอร์อย่างกว้างๆ สามารถแบ่งแยกได้เป็น 5 เลเยอร์ เลเยอร์บนสุดจะเกี่ยวข้องกับโปรเซสและแอปพลิเคชันต่างๆ ที่ทำงานอยู่บน Network ครอบคลุมทั้ง 3 เลเยอร์ของ OSI Model มีการกำหนดให้มีโปรโตคอลในระดับ Transport Layer อยู่ 2 ประเภทเพื่อการควบคุมการสื่อสารระหว่างโฮสต์ต้นทางกับโฮสต์ปลายทาง ได้แก่ โปรโตคอล TCP (Transmission Control Protocol) และ UDP (User Datagram Protocol)

โปรโตคอล TCP (ต่อ) ส่วนเลเยอร์ต่ำลงมาถูกจัดให้เป็นเลเยอร์ของโปรโตคอล IP (Internet Protocol) ดูแลในเรื่องของรับส่งแพ็กเก็ตไปบนเน็ตเวิร์กโดยตรง เลเยอร์สุดท้าย คือ Network Interface Layer ถูกจัดให้เป็นเลเยอร์ของเน็ตเวิร์กประเภทต่างๆ ที่เข้ามารองรับโปรโตคอล TCP/IP ข้างต้นทั้งหมด

โปรโตคอล TCP (ต่อ) โปรโตคอล TCP ในเลเยร์ของ Transport มีหน้าที่หลักๆ คือ จัดแบ่งข้อมูลจากระดับแอปพลิเคชันเลเยอร์ให้มีขนาดพอเหมาะที่จะส่งไปบนเครือข่าย หน่วยของข้อมูลในระดับนี้เรียกว่า TCP Segment เริ่มต้นสร้างการเชื่อมต่อระหว่างต้นทางและปลายทางให้สำเร็จก่อน ก่อนที่ทั้งต้นทางและปลายทางจะมีการรับส่งข้อมูลกันจริงๆ การรับส่งข้อมูลโดยมีการสร้างการเชื่อมต่อก่อนการส่งนี้เรียกว่า การสื่อสารแบบ Connection-Oriented และกระบวนการที่ใช้ในการสร้างการเชื่อมต่อ คือ Three Way Handshake มีการใส่หมายเลข Sequence Number (SEQ) ลงไปใน TCP Segment ที่ส่งไปเพื่อจัดลำดับการส่งข้อมูล เมื่อปลายทางได้รับ TCP Segment นั้นๆ แล้วจะต้องมีการส่งการยืนยัน (Acknowledgement: ACK) กลับมาให้เครื่องต้นทางทราบว่าได้รับ TCP Segment นั้นๆ แล้ว

โปรโตคอล TCP (ต่อ) นอกจากนั้นเครื่องต้นทางยังมีการตรวจสอบว่า แพ็กเก็ตถูกส่งไปถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางหรือไม่ โดยการตรวจสอบว่าได้รับ ACK กลับมาหรือยัง กรณีที่ไม่ได้รับ ACK ยืนยันกลับมาภายในเวลารอคอยที่เหมาะสมค่าหนึ่ง จะเข้าใจว่า TCP Segment นั้นส่งไปไม่ถึงยังเครื่องปลายทาง ในกรณีนี้เครื่องต้นทางจะมีการส่งใหม่ (retransmission) อีกครั้ง และเพื่มเวลารอคอยออกไปอีกระยะหนึ่งจนกว่าจะได้รับ ACK กลับมา กลไกนี้ เรียกว่า Error Recovery ซึ่งทำให้โปรโตคอล TCP มีความน่าเชื่อถือในการรับส่งข้อมูล (Reliability) ในการส่ง ACK เพื่อยืนยันว่าได้รับข้อมูลครบถ้วนนั้น เครื่องปลายทางไม่จำเป็นต้องส่ง ACK กลับทุกๆ TCP Segment ที่ได้รับ แต่สามารถ ACK เมื่อได้รับข้อมูลหลายๆ TCP Segment ตามที่ตกลงกันไว้ก่อนได้ โดยเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทางมีการตกลงกันแต่แรกว่าจะให้ผู้ที่ได้รับ TCP Segment ตอบยืนยัน (ACK) กลับมาเมื่อได้รับ TCP Segment ไปแล้วเป็นจำนวนเท่าไหร่

โปรโตคอล TCP (ต่อ) ขนาดของ TCP Segment ที่ผู้ส่งสามารถส่งได้ในครั้งหนึ่งๆ โดยไม่ต้องรอคอยให้มีการตอบรับนี้เรียกว่า Window Size หมายความว่า ผู้รับสามารถรอรับข้อมูลจนครบตามขนาด Window Size ก่อนแล้วจึงค่อยส่ง ACK ไปทีเดียว ควบคุมลำดับขั้นตอนของการส่งแพ็กเก็ตของโปรโตคอล IP ให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย จัดสรรขนาดบัฟเฟอร์ข้อมูลที่เหมาะสมไว้ทั้งในขณะรับและขณะส่งข้อมูล ช่วยประกอบรวมแพ็กเก็ต IP ที่ได้รับเข้ามาให้เป็นข้อมูลผืนเดียวกัน สำหรับส่งต่อขึ้นไปยังแอปพลิเคชันในระดับบน

กระบวนการ Three Way Handshake

กระบวนการ Three Way Handshake (ต่อ) เป็นกระบวนการในการสร้างการเชื่อมต่อระหว่างต้นทางกับปลายทาง โฮสต์ต้นทางจะเริ่มต้นของสร้างการเชื่อมต่อด้วยการส่งแพ็กเก็ต TCP ที่มีการเซตฟิลด์ SYN (Synchronize) และรอให้ปลายทางส่งแพ็กเก็ต TCP ที่มีฟิลด์ SYN และ ACK กับมาก่อน จากนั้นต้นทางจึงตอบยืนยันว่าต้องการรับส่งข้อมูลด้วยอีกครั้ง เป็นอันจบสิ้น หลังจากผ่านกระบวนการข้างต้นนี้แล้ว โฮสต์ต้นทางและโฮสต์ปลายทางก็จะพร้อมที่จะเริ่มรับส่งข้อมูลกัน โดยระหว่างกระบวนการนี้ โฮสต์ต้นทางและปลายทางจะมีการตกลงกันว่าจะใช้ขนาดของ Window Size ขนาดเท่าไหร่ และหมายเลข Sequence Number (Seq) ของโฮสต์และฝั่ง จะมีค่าเริ่มต้นเท่ากับเท่าไหร่

Q/A