รังสีรักษาในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม Radiation therapy for breast cancer

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี
Advertisements

ตรวจเต้านม ด้วยตนเอง วิชาการกายภาพบำบัด
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
PINKLAO MOBILE EXCERCISE 2010
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
วิธีทำความสะอาดรอยเปื้อนต่าง
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การปฏิบัติตนหลังผ่าตัดเปลี่ยน
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
Basic Technigue in Radiation Therapy Cop Radio Therapy.
การเตรียมผู้ป่วย ก่อนรับการรักษาด้วยรังสี
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
เตาไมโครเวฟ.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
L O G O ชุดทดสอบ กรดเรติโน อิก ใน เครื่องสำอา ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข.
นวัตกรรม ถุงประคบมือถือ
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
เปลือกกล้วย….
การเป็นลมและช็อก.
Cancer.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
ห่วงลูกหลาน รักในหลวง เด็กไทย ห่างไกลยาเสพติด ร่วมกันต้าน ยาเสพติด.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
การตรวจ มะเร็งเต้านมด้วยตนเอง.
Tonsillits Pharynngitis
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
วิชา งานสีรถยนต์.
ทางนำไปสู่การมีสุขภาพดี
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
ศัลยกรรมเสริม หน้าอก. สารบัญ  ลักษณะของถุงเต้านมเทียม  รูปทรงของถุงเต้านม  ขั้นตอนการผ่าตัดเสริมหน้าอก  การดูแลหลังการผ่าตัดเสริมหน้าอก.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รังสีรักษาในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม Radiation therapy for breast cancer พ.ญ. อรวรรณ คำเจริญคุณ

ช่วงเวลาของการรักษาด้วยรังสีรักษา การผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา

รังสีรักษาในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม รังสีพลังงานสูงเพื่อกำจัดเซลล์มะเร็งหรือป้องกันเซลล์มะเร็งเติบโตมี 2วิธี การฉายแสงภายนอก (Teletherapy)  เป็นการใช้เครื่องฉายรังสีพลังงาน สูงส่งรังสีไปยังบริเวณก้อนเนื้องอก ผนังหน้าอก หรือต่อมน้ำเหลือง การฝังแร่ (Brachytherapy) เป็นการใช้สารกัมมันตรังสีติดกับอุปกรณ์บาง ชนิด เช่น เข็ม, ลวด จากนั้นนำไปวางไว้ในบริเวณที่เป็นเนื้องอกหรือบริเวณ ข้างเคียง

ข้อบ่งชี้ของการใช้รังสีรักษาในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม หลังการผ่าตัดแบบสงวนเต้านม (breast conservative surgery) ทุกราย หลังการผ่าตัด MRM ในรายต่อไปนี้ ขนาดก้อนมะเร็ง >5 ซม ลุกลามเข้าผิวหนังหรือผนังหน้าอก (invade skin or chest wall) ผ่าตัดเอาก้อนมะเร็งออกไม่หมด (close or positive margin) กระจายเข้าต่อมน้ำเหลือง≥4 ต่อม (LN involve≥4,adequate LN dissecsion ≥10 nodes) กระจายออกนอกต่อมน้ำเหลือง (perinodal extension)

การฉายรังสีในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม เริ่มฉายหลังได้รับการผ่าตัดและตามหลังการให้เคมีบำบัดประมาณ3-4 สัปดาห์ ฉายรังสีวันละ 1ครั้ง สัปดาห์ละ 5 วัน เป็นระยะเวลาประมาณ 5-6 สัปดาห์ ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนราบ ศีรษะและไหล่อยู่บนกระดานสามเหลี่ยมรูปลิ่ม ฉายครอบคลุมบริเวณเต้านมและต่อมน้ำเหลืองบริเวณลำคอในบางราย

ห้องจำลองการฉายรังสี

เครื่องฉายรังสี

ขอบเขตของการฉายรังสีในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม

ขอบเขตของการฉายรังสีในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม

การฉายรังสีในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ภาพจาก Dr. Pittaya Dankulchai, Siriraj hospital, Mahidol University

การปฏิบัติตัวระหว่างฉายรังสี ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ เนื้อผ้าอ่อนนุ่ม ควรเป็นเสื้อผ่าหน้า หลีกเลี่ยงการใส่ เสื้อชั้นในที่รัดหรือคับเกินไป เสื้อยกทรงควรงดโดยเด็ดขาด ห้ามลบเส้นบริเวณที่ฉายรังสีที่แพทย์ขีดไว้ และห้ามขีดเส้นที่เลือนใหม่ด้วย ตัวเอง ผิวหนังอาจมีสีแดง แห้งตึง เกิดอาการคัน ดำคล้ำ และตกสะเก็ด หรือแตก เป็นแผล ห้ามถู แกะ เกา ควรตัดเล็บ ให้สั้นเพื่อป้องกันการแกะเกา อาบน้ำได้ บริเวณที่ฉายรังสี ให้น้ำผ่านได้ ห้ามถูสบู่ และควรใช้ผ้าเช็ดตัวที่ อ่อนนุ่มซับให้แห้งทุกครั้ง หลีกเลี่ยงการขัดถู หลีกเลี่ยงการถูกแสงแดดจัด หรือการสัมผัสบริเวณที่ฉายรังสีโดยตรงกับ ความร้อนหรือความเย็น ห้ามใช้กระเป๋าน้ำร้อนหรือน้ำแข็งประคบ

การปฏิบัติตัวระหว่างฉายรังสี ห้ามทาแป้งฝุ่น เพราะแป้งฝุ่นอาจมีส่วนผสมของโลหะหนัก ทำให้ระคาย เคือง ผิวดำคล้ำมากขึ้น บริเวณรักแร้ควรหลีกเลี่ยงการเสียดสี เวลาเดินควรเดินกางแขนหรือเดินเท้า เอว พยายามเปิดรักแร้ อย่าให้อับชื้น ควรเปิดให้ลมโกรกหรือใช้พัดลมเป่า ห้ามทายา และครีมทุกชนิดในบริเวณที่ฉายรังสียกเว้นแพทย์สั่ง ถ้าได้รับการดูแลเป็นอย่างดี หากมีแผลจะแห้งและหายเป็นปกติได้ภายใน 1 สัปดาห์

การปฏิบัติตัวทั่วไประหว่างการฉายรังสี ควรทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ โดยเฉพาะอาหารจำพวกเนื้อสัตว์ นม และไข่ เพราะระหว่างการรักษาร่างกายต้องการโปรตีนสูง ควรดื่มน้ำมากๆ อย่างน้อยวันละ 2 ลิตร (8-10แก้ว) ควรงดดื่ม น้ำชา กาแฟ เหล้า เบียร์ งดสูบบุหรี่ ควรบริหารเพื่อป้องกันข้อไหล่ยึดติดและแขนบวม ต้องปฏิบัติสม่ำเสมอ ต่อเนื่องไปตลอดชีวิตแต่ห้ามหักโหมเพราะอาจทำให้กล้ามเนื้อฉีกขาดได้

การผ่าตัดแบบสงวนเต้านม

การผ่าตัดแบบMRM

ภาวะแทรกซ้อนระหว่างฉายรังสี สีผิวเข้มขึ้น แห้งเป็นขุยหรืออาจเป็นแผล อาจมีอาการคัน ปวดแสบปวดร้อน อาจมีอาการเจ็บคอในผู้ป่วยที่ได้รับการฉายรังสีที่บริเวณต่อมน้ำเหลือง อ่อนเพลีย

Erythematous changes

Dry desquamation

Dry desquamation

Moist desquamation

ภาวะแทรกซ้อนหลังการฉายรังสี แขนบวม (arm lymphedema) Skin telangiectasia Subcutaneous fibrosis Lung pneumonitis/fibrosis Cardiac toxicity Brachail plexus injury Shoulder stiffness Fracture rib Secondary malignancy (<0.03%)

Telangiectasia

Arm lymphedema

ขอบคุณค่ะ