Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
Department of Electrical Engineering
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
8. ไฟฟ้า.
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ EG 3 กันยายน 2551.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
หม้อแปลง.
การแปรผันตรง (Direct variation)
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
หน่วยที่ 4 วงจรกรองความถี่
หน่วยที่ 6 วงจร TUNE.
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
Electronics for Analytical Instrument
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
กฤษ เฉยไสย ธวัตชัย สิ้นภัย ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5 ชิ้น สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
Ch 9 Second-Order Circuits
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้า LC ค่า RMS หมายความว่าอย่างไร
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
Ch 8 Simple RC and RL Circuits
Ch 12 AC Steady-State Power
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC

อุปกรณ์ไฟฟ้าพื้นฐาน ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ ตัวเหนี่ยวนำ

อุปกรณ์ไฟฟ้าพื้นฐาน แบตเตอรี แหล่งกำเนิดไฟฟ้า กระแสสลับ สวิทช์

วงจร RL (Raising) สับสวิทช์ S1 ณ เวลา กระแสเริ่มไหลในวงจร ค่าคงตัวเวลา ที่เวลา t = t จะมีกระแสไหล I = 0.63Io

วงจร RL (Decay) เมื่อเวลาผ่านไปนานพอสมควร เปิดสวิทช์ S1 ปิดสวิทช์ S2 ค่าคงตัวเวลา ที่เวลา t = t จะมีกระแสไหล I = 0.37Io

พลังงานที่เก็บสะสมในตัวเหนี่ยวนำ เมื่อมีกระแสไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำ พลังงานจะถูกสะสมไว้อยู่ในสนามแม่เหล็ก

วงจร LC (Oscillating) สับสวิทช์ S ไปที่ตำแหน่ง a ตัวเก็บประจุจะถูกอัดประจุจนเต็ม พลังงานที่เก็บในตัวเก็บประจุคือ เมื่อสับสวิทช์ S ไปที่ตำแหน่ง b ตัวเก็บประจุจะคายประจุผ่านตัวเหนี่ยวนำ เกิดมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร สมการฮาร์โมนิกเชิงเดียว

วงจร LC (Oscillating) ความถี่ธรรมชาติของ วงจร LC

พลังงานในวงจร LC E B พลังงานรวม พลังงานรวมคงที่ UC, UL เปลี่ยนกลับไปมา

วงจร LC vs มวลที่ปลายสปริง E B

วงจร RLC (Damped Osillation) “สมการการแกว่งกวัดแบบหน่วง” “Damping” “Oscillating” พลังงานรวมจะลดลงเรื่อยๆ เนื่องจากมีการทำงานที่ตัวต้านทาน

วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ (A.C. Circuit)

แหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ในประเทศไทย f = 50 Hz ไฟฟ้าในบ้านในประเทศไทย Vrms = 220 V

ตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ VR และ IR เปลี่ยนพร้อมกัน (เฟสตรงกัน)

ตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ VC มีเฟสตามหลัง IC อยู่ 90o

ตัวเหนี่ยวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ VL มีเฟสนำหน้า IL อยู่ 90o

ความต้านทานจินตภาพ (Reactance) ในตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำ V และ I ไม่ได้แปรผันตามกัน “Capacitive Reactance” “Inductive Reactance”

วงจร RLC กระแสสลับ (A.C. Series RLC)

วงจร RLC กระแสสลับ “Forced Oscillation” I มีเฟสต่างจาก V ของแหล่งกำเนิดอยู่เท่ากับ f

ความต้านทานเชิงซ้อน (Impedance)

เรโซแนนซ์ (Resonace) กระแสในวงจรจะไหลมากที่สุดเมื่อ XL = XC เมื่อความถี่ธรรมชาติของวงจรเท่ากับความถี่ของแหล่งกำเนิด เรียกความถี่นั้นว่า “ความถี่เรโซแนนซ์”

กำลังไฟฟ้า กำลังเฉลี่ย “Power factor”