Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC
อุปกรณ์ไฟฟ้าพื้นฐาน ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ ตัวเหนี่ยวนำ
อุปกรณ์ไฟฟ้าพื้นฐาน แบตเตอรี แหล่งกำเนิดไฟฟ้า กระแสสลับ สวิทช์
วงจร RL (Raising) สับสวิทช์ S1 ณ เวลา กระแสเริ่มไหลในวงจร ค่าคงตัวเวลา ที่เวลา t = t จะมีกระแสไหล I = 0.63Io
วงจร RL (Decay) เมื่อเวลาผ่านไปนานพอสมควร เปิดสวิทช์ S1 ปิดสวิทช์ S2 ค่าคงตัวเวลา ที่เวลา t = t จะมีกระแสไหล I = 0.37Io
พลังงานที่เก็บสะสมในตัวเหนี่ยวนำ เมื่อมีกระแสไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำ พลังงานจะถูกสะสมไว้อยู่ในสนามแม่เหล็ก
วงจร LC (Oscillating) สับสวิทช์ S ไปที่ตำแหน่ง a ตัวเก็บประจุจะถูกอัดประจุจนเต็ม พลังงานที่เก็บในตัวเก็บประจุคือ เมื่อสับสวิทช์ S ไปที่ตำแหน่ง b ตัวเก็บประจุจะคายประจุผ่านตัวเหนี่ยวนำ เกิดมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร สมการฮาร์โมนิกเชิงเดียว
วงจร LC (Oscillating) ความถี่ธรรมชาติของ วงจร LC
พลังงานในวงจร LC E B พลังงานรวม พลังงานรวมคงที่ UC, UL เปลี่ยนกลับไปมา
วงจร LC vs มวลที่ปลายสปริง E B
วงจร RLC (Damped Osillation) “สมการการแกว่งกวัดแบบหน่วง” “Damping” “Oscillating” พลังงานรวมจะลดลงเรื่อยๆ เนื่องจากมีการทำงานที่ตัวต้านทาน
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ (A.C. Circuit)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ในประเทศไทย f = 50 Hz ไฟฟ้าในบ้านในประเทศไทย Vrms = 220 V
ตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ VR และ IR เปลี่ยนพร้อมกัน (เฟสตรงกัน)
ตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ VC มีเฟสตามหลัง IC อยู่ 90o
ตัวเหนี่ยวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ VL มีเฟสนำหน้า IL อยู่ 90o
ความต้านทานจินตภาพ (Reactance) ในตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำ V และ I ไม่ได้แปรผันตามกัน “Capacitive Reactance” “Inductive Reactance”
วงจร RLC กระแสสลับ (A.C. Series RLC)
วงจร RLC กระแสสลับ “Forced Oscillation” I มีเฟสต่างจาก V ของแหล่งกำเนิดอยู่เท่ากับ f
ความต้านทานเชิงซ้อน (Impedance)
เรโซแนนซ์ (Resonace) กระแสในวงจรจะไหลมากที่สุดเมื่อ XL = XC เมื่อความถี่ธรรมชาติของวงจรเท่ากับความถี่ของแหล่งกำเนิด เรียกความถี่นั้นว่า “ความถี่เรโซแนนซ์”
กำลังไฟฟ้า กำลังเฉลี่ย “Power factor”