การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
ซอฟต์แวร์.
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Graphical Methods for Describing Data
Management Information Systems
โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
(Sensitivity Analysis)
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
SCC : Suthida Chaichomchuen
Dr. Tipsuda Janjamlha 30 AUG. 08
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
โปรแกรม Microsoft Access
การวัดประสิทธิภาพ.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
Minitab for Product Quality
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
การวิเคราะห์ Competency
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
System Development Lift Cycle
การวิเคราะห์ข้อมูล.
การแจกแจงปกติ.
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ความหมายของวิทยาศาสตร์
หลักการแก้ปัญหา.
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
Basic Statistical Tools
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การวิจัยนิเทศศาตร์FCA2101
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล อ. วีระ ปิยธีรวงศ์

Overview (I) โปรแกรมขนาดใหญ่ SPSS (Statistical Package for the Social Science) SAS (Statistical Analysis System) โปรแกรมขนาดเล็ก (งานวิเคราะห์ที่ไม่ซับซ้อนมาก) Excel, Statistix, Minitab, Design Expert, etc.

การเลือกใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สามารถใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไปได้ (เช่น PC หรือ notebook) สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ไม่น้อยกว่า 100 ชุด และแต่ละชุดไม่ควรต่ำกว่า 50 ตัวแปร สามารถอ่านข้อมูลที่บันทึกอยู่บนสื่อได้หลายประเภท รวมทั้งสามารถป้อนข้อมูลได้แป้นพิมพ์ สามารถอ่านข้อมูลจากข้อมูลแบบมาตรฐาน ที่เรียกว่า ASCII ได้

การเลือกใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สามารถสร้างแฟ้มข้อมูล (data file) หรือไฟล์ข้อมูลเองได้ และสามารถสร้างเป็นรหัสมาตรฐานได้ เพื่อให้สามารถนำกลับไปใช้กับโปรแกรมอื่นได้ สามารถจัดเก็บข้อมูลในลักษณะต่างๆ ได้ เช่น การเปลี่ยนรูปข้อมูล, การจัดค่าใหม่ หรือการจัดกลุ่มตัวแปรใหม่, การคัดเลือกข้อมูลบางส่วนมาทำการวิเคราะห์ได้

การเลือกใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติได้หลายระดับ การคำนวนค่าสถิติพื้นฐาน เช่น ค่าเฉลี่ย, ค่าฐานนิยม, ความแปรปรวน เป็นต้น การสร้างตารางแจกแจงความถึ่แบบทางเดียว และหลายทาง การเขียนกราฟในลักษณะต่าง ๆ การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร การวิเคราะห์การถดถอย และความแปรปรวน

การวิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรม SPSS โปรแกรม SPSS เป็น software ที่ผลิตโดยบริษัท SPSS Inc. เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติอีกโปรแกรมหนึ่ง (ปัจจุบัน SPSS v. 16) ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows XP ขึ้นไป หน่วยประมวลผลกลาง Intel หรือ AMD ความเร็วตั้งแต่ 1 GHz โดยมีหน่วยความจำตั้งแต่ 512 MB

การเริ่มต้นเข้าสู่โปรแกรม การเริ่มต้นเข้าสู่โปรแกรม เมื่อคลิกที่โปรแกรม SPSS จะเข้าสู่โปรแกรมดังรูป ซึ่งถ้าหากมีแฟ้มข้อมูลเดิม จะสามารถเลือกได้จากหน้าต่างนี้ หากต้องการเริ่มต้นใหม่ให้คลิก Cancel เพื่อเข้าสู่ส่วนตารางการทำงาน หรือเรียกว่า Data Editor ดังรูป

การเริ่มต้นเข้าสู่โปรแกรม

ข้อกำหนดทั่วไปของโปรแกรม Data View เป็นส่วนสำหรับใส่ข้อมูล ซึ่งจะแสดงชื่อตัวแปร Var ทุกคอลัมน์เมื่อทำการป้อนข้อมูล จะเปลี่ยนเป็น Var 00001 Var 00002 … หากต้องการกำหนดค่าตัวแปรเป็นอย่างอื่น ให้เลือกที่ Variable View จาก Sheet Tab ซึ่งเป็นส่วนที่กำหนดลักษณะเฉพาะต่าง ๆ ของตัวแปร ได้แก่ ชื่อตัวแปร จำนวนทศนิยม ความกว้างของ column etc.

การนำข้อมูลเข้าสู่ data editor เปิดจากไฟล์ของ database ประเภทต่าง ๆ ได้แก่ Excel, Lotus, Dbase หรือ SAS etc. ป้อนข้อมูลโดยตรง หรือสามารถ copy & paste จาก spread sheet ในการวิเคราะห์ผลจะใช้เมนู Analyze โดยจะมีเมนูย่อยที่ใช้ในการวิเคราะห์ เช่น descriptive statistics, compare means, general linear model etc.

การวิเคราะห์ผลทางสถิติ การวิเคราะห์ผลแบบ t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) การทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ (CRD) การทดลองแบบสุ่มบล็อคสมบูรณ์ (RCBD) การทดลองแบบ factorial

การวิเคราะห์ผลแบบ t-test One sample t-test ต้องการทราบ ตัวอย่างเย็นของอาหารแข็งชนิดหนึ่ง ระบุในฉลากว่ามีพลังงาน 200 cal จริงหรือไม่? โดยทำการส่มตัวอย่างอาหารชนิดนี้ นำมาวัดพลังงานได้ดังนี้ 198, 203, 223, 196, 202, 189, 208, 215, 218, 207 cal นำผลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติ

One sample t-test ป้อนข้อมูลใน data editor และป้อนชื่อตัวแปรใน variable sheet วิเคราะห์ผลโดยเลือกเมนู Analyze\ Compare means\ One sample t-test เลือกตัวแปรที่ต้องการ และค่าที่ต้องการทดสอบ (null hypothesis)

One sample t-test

One sample t-test

One sample t-test ในการทดสอบอาหารคบเคี้ยวชนิดหนึ่ง ผู้ทดลองต้องการทราบว่า ตัวอย่างอาหารมีรสหวาน และความกรอบแตกต่างจากค่าสัดส่วนในอุดมคติ = 1 หรือไม่ โดยนำตัวอย่างไปทดสอบทางประสาทสัมผัสได้ค่าคะแนนสัดส่วนในอุดมคติของรสหวาน และความกรอบดังนี้ 0.86, 1.16, 1.07, 0.95, 0.99, 1.04, 1.11, 1.13, 1.07, 0.95, 0.92, 1.18 และ 1.12, 0.95, 1.08, 1.09, 1.16, 0.89, 0.96, 1.14, 0.98, 1.06, 1.06, 1.22 ตามลำดับ

Pair sample t-test ในการศึกษาผลการเตรียมไวรัส 2 วิธีต่อปริมาณการเกิดแผลในใบยาสูบ ในการทดลองโดยสุ่มใบยาสูบจำนวน 8 ใบ แต่ละใบแบ่งเป็นสองส่วนตามจำนวนวิธีเตรียม ผลการเกิดแผลบนใบยาสูบดังนี้ ใบที่ 1: 31, 18; ใบที่ 2: 20, 17; ใบที่ 3: 18, 14; ใบที่ 4: 17, 11; ใบที่ 5: 9, 10; ใบที่ 6: 8, 7; ใบที่ 7: 10, 5; ใบที่ 8: 7, 6 วิเคราะห์ผลโดยเลือกเมนู Analyze\ Compare means\ Pair sample t-test

Pair sample t-test

Pair sample t-test

Pair sample t-test การทดสอบผลิตภัณฑ์อาหาร 2 ชนิด เกี่ยวกับความชอบของผู้ทดสอบชิมจำนวน 10 คน โดยให้แต่ละคนทำการทดสอบผลิตภัณฑ์อาหาร 2 ชนิด (ทีละชนิด) ได้คะแนนความชอบ ดั้งนี้คะแนนความชอบเรียงจากคนที่ 1 ถึง 10 ตามลำดับ โดยอาหารชนิดที่ 1 มีคะแนน 5, 6, 5, 7, 6, 4, 6, 5, 6, 6 ส่วนชนิดที่ 2 มีคะแนน 4, 6, 6, 6, 5, 5, 6, 4, 5, 6

Two sample t-test ในการศึกษาเปรียบเทียบวิธีการหาความเข้มข้นของสารชนิดหนึ่ง โดยวิธีแรกเป็นวิธีมาตรฐาน แต่ใช้เวลาการวิเคราะห์นาน ส่วนอีกวิธีหนึ่ง จะใช้สารเคมีช่วยวิเคราะห์ จึงใช้เวลาสั้นกว่า ซึ่งอาจมีความแม่นยำน้อยกว่า อยากทราบว่า วิธีการทั้งสองมีความแตกต่างในการวิเคราะห์หาความเข้มข้น หรือไม่

Two sample t-test

Two sample t-test

การวิเคราะห์ความแปรปรวน การทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ (CRD) การศึกษาผลการบ่ม โดยฉีดเอนไซม์เพื่อช่วยให้เนื้อวัวนุ่ม โดยใช้สิ่งทดลอง 4 สิ่งทดลอง 5 ซ้ำ แล้ววัดความนุ่มโดยใช้เครื่องวัดแบบ Warner-Bratzler เพื่อวัดความนุ่มในรูปของแรงเฉือน (psi) วิเคราะห์ผลโดยเลือกเมนู Analyze\ General linear\ Univariate

การทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ (CRD)

การทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ (CRD)

การทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ (CRD)

การทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ (CRD) ค่าเฉลี่ย สิ่งทดลอง 1 สิ่งทดลอง 2 สิ่งทดลอง 3 สิ่งทดลอง 4

การทดลองแบบสุ่มบล็อคสมบูรณ์ (RCBD) หากหน่วยทดลองไม่สม่ำเสมอ เช่นจากการทดลองที่แล้ว ชิ้นเนื้อมีขนาดไม่เท่ากัน ซึ่งอาจใช้แผนการทดลองแบบสุ่มบล็อค เพื่อช่วยแก้ปัญหาดังกล่าว จัดให้ทุกสิ่งทดลองมีโอกาสได้รับหน่วยทดลองที่เหมือนกันในแต่ละบล็อค การวิเคราะห์เช่นเดียวกับ CRD โดยเพิ่มการวิเคราะห์ตัวแปร Rep ด้วย

การทดลองแบบสุ่มบล็อคสมบูรณ์ (RCBD)

การทดลองแบบสุ่มบล็อคสมบูรณ์ (RCBD)

การทดลองแบบ factorial การศึกษาผลของแหล่งที่มาของเนื้อ และชนิดของสารเจือปนต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์ของบริษัทหนึ่ง โดยปัจจัย A เป็นสารเจือปนมีสองชนิด (a1, a2) และปัจจัย B แหล่งของเนื้อสองแหล่ง (b1, b2) ทำการทดลองสองซ้ำแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) วิเคราะห์ผลโดยเลือกเมนู Analyze\ General linear\ Univariate

การทดลองแบบ factorial

การทดลองแบบ factorial

การทดลองแบบ factorial

การทดลองแบบ factorial การหาค่าเฉลี่ยของแต่ละปัจจัยในแต่ละระดับ โดยเลือก Analyze\ Compare mean\ Means

การทดลองแบบ factorial

การทดลองแบบ factorial RCBD

การทดลองแบบ factorial

การทดลองแบบ split-plot การทดลองประเมินคุณภาพเบียรจำนวน 5 สูตร ที่ผลิตโดยบริษัทแห่งหนึ่ง โดยผันแปรปริมาณ hop ในสูตรต่าง ๆ (3 ซ้ำ) ให้ผู้ทดสอบชิมจำนวน 20 คน ประเมินรสชาดของ hop โดยให้คะแนน 0 – 9 จากรสชาดที่เข้มข้นน้อยถึงเข้มข้นมาก ซึ่งใช้แผนการทดลองแบบ RCBD