การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
การออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ 25/03/55.
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การทดสอบก่อนการออกกำลังกาย (EXERCISE TESTING)
การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (EXERCISE FOR THE ELDERLY)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
กาบรรยายแบบปฏิสัมพันธ์บน web casting ครั้งที่ 3 เรื่อง การดูแลสุขภาพผุ้สูงอายุ วันอาทิตย์ที่ 27 มิถุนายน 2553 เวลา น ณ ห้องสตูดิโอ 3 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
โครงการ “ภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุง ”
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
โรคเอสแอลอี.
การจำแนก ประเภทความพิการ.
การออกกำลังกายในคนอ้วน
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสมรรถภาพ
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
การคำนวณพลังงาน.
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ ออกกำลังกายในสถานประกอบการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
AEROBIC DANCE แอโรบิกดานซ์ ? ผศ.สุกัญญา พานิชเจริญนาม.
การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย นนอ. ๑. ตรวจสอบ นนอ. ไม่ผ่านสถานีใด ๒
Myasthenia Gravis.
เวียง ( ป่าเป้า ) หัวใจดี Aerobic Delivery by นวลสวาท.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
การออกกำลังกาย (EXERCISE).
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
ภาวะไตวาย.
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โดย จักรวัฒน์ เครือคำอ้าย
การชักและหอบ.
เจ็บแน่นหน้าอก.
การตรวจชีพจรและวัดความดันโลหิต
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
โรคเบาหวาน ภ.
การใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
Rehabilitation In COPD
โรคหัวใจ.
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
การฝึกด้วยน้ำหนักสำหรับนักกีฬาระดับเยาวชน
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
การบริหารการหายใจ เพื่อการคลายเครียด
โรคหัวใจและหลอดเลือด. กลุ่มกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด ST Elevation MI หมายถึงกลุ่มโรคที่มีกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และตาย เฉียบพลัน ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly) นายอุบล ประมาณเมือง รหัสG5414652708

ลักษณะการออกกำลังกาย การออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของระบบต่างๆในร่างกายนั้น เป็นการออกกำลังที่เกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ๆ หลายกลุ่มในร่างกาย อวัยวะหลายระบบต้องทำงานเพิ่มขึ้นจากภาวะปกติ เช่น ปอดต้องฟอกเลือดในปริมาณที่เพิ่มขึ้น หัวใจต้องปั๊มเลือดไปยังกล้ามเนื้อที่ออกกำลังกายเพิ่มขึ้นอย่างมากถึง 4 – 5 เท่าของภาวะปกติ9 กล้ามเนื้อหดตัวหลายมัดและต้องทำงานประสานกันเป็นจังหวะที่ต่อเนื่องอย่างเหมาะสม ตัวอย่างได้แก่ การเดิน การวิ่งเหยาะๆ การถีบจักรยาน การเต้นแอโรบิค การว่ายน้ำ เป็นต้น

การทดสอบก่อนการออกกำลังกาย (EXERCISE TESTING) การวัดความสามารถในการออกกำลังกายนั้น เราวัดที่ Physical working capacity (PWC) หรืออีกนัยหนึ่งคือ Aerobic power (VO2max) ซึ่งนิยมใช้กันทั่วไปและเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ตามการทำงานของกล้ามเนื้อของผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่มีความสามารถเพียงพอที่จะทำให้ระบบหัวใจและปอดทำงานอย่างเต็มที่ ดังนั้นการทดสอบความสามารถในการออกำลังกายจึงมี 2 ระดับ

ข้อบ่งชี้ในการหยุดทดสอบการออกกำลังกาย มีอาการแน่นหน้าอก เหนื่อยมาก หรือผู้ทดสอบขอหยุดการทดสอบ วิงเวียนศีรษะ หน้าซีด จะเป็นลม ความดันซีสโตลิกลดลงในขณะเพิ่มความหนักในการออกกำลัง ความดันโลหิตเพิ่มสูงมากๆ เช่น ความดันซิสโตลิกเพิ่มมากกว่า 250 มม.ปรอท หรือ ความดันไดแอสโตลิกเพิ่มมากกว่า 120 มม.ปรอท

ข้อบ่งชี้ในการหยุดทดสอบการออกกำลังกาย (ต่อ) การเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ พบ horizontal หรือ down slopping ST segment depression หรือ elevation มากกว่า 2 มม. พบ Supraventricular Tachycardia พบ Ventricular Tachycardia พบ Second or third degree heart block